SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  230
การเงินธุรกิจ
    BUSINESS FINANCE




     อาจารย์ วัชรี ทรัพย์กระจ่าง
     คณะบริหารธุรกิจ สาขาการ
สัปดาห์ที่ 1


บทบาทหน้าที่ของผู้จัดการ
     ทางการเงิน
วัตถุประสงค์
•   หน้าที่ของผูจัดการทางการเงิน
                ้
•   เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ
•   โครงสร้างองค์กรทางการเงิน
ประเภทของ
 องค์กรธุรกิจ
   มี 3 ประเภทได้แก่
• กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole
  Proprietorships)
• ห้างหุ้นส่วน (Partnerships :
  general and limited)
• บริษัทจำากัด (Corporations)
กิจการเจ้าของคนเดียว
• เป็นธุรกิจที่มเจ้าของเพียงคน
                ี
  เดียว
• มีภาระความรับผิดชอบไม่
  จำากัดจำานวน
• เงินลงทุนน้อย
• มีความเป็นอิสระ มีอำานาจใน
  การตัดสินใจ
ห้างหุ้นส่วน
• ธุรกิจที่มีเจ้าของตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
  ร่วมลงทุนประกอบธุรกิจ เพื่อ
  แสวงหากำาไรด้วยกัน
• ประเภทของห้างหุ้นส่วน แบ่งเป็น
  2 ประเภทคือ
   – ห้างหุ้นส่วนสามัญ ผู้เป็นหุ้นส่วน
     ทุกคน ต้องรับผิดชอบร่วมกันเพื่อ
     หนีทั้งปวง โดยไม่จำากัดจำานวน
        ้
   – ห้างหุ้นส่วนจำากัด ผู้เป็นหุ้นส่วน
     ประเภทจำากัดความรับผิดชอบ จะ
     รับผิดชอบในหนีสินของห้างไม่เกิน
                      ้
บริษัทจำากัด
  • มีสถานภาพตามกฎหมาย
                 เป็นนิตบุคคล
                        ิ
      • มีผถือหุ้น 7 คนขึ้นไป
            ู้
• ธุรกิจทีกำาหนดโดยกฎหมาย
               ่
  ให้มีอำานาจเสมือนบุคคลผู้ถือ
   หุ้นเป็นเจ้าของทีแท้จริงของ
                          ่
   บริษทรับผิดชอบจำากัดตาม
         ั
         มูลค่าหุ้นที่ลงทุนไป
       •
กิจกรรมที่สำาคัญของผูจัดการทางการ
                     ้
                เงิน
กิจกรรมที่สำาคัญจะมีความสัมพันธ์กับงบดุลของ
                     กิจการ
        วิเคราะห์และวางแผนทางการเงิน
                    งบดุล


ตัดสินใจ นทรัพย์หมุนเวียน ้สินหมุนเวียน ตัดสินใจ
       สิ               หนี
ลงทุน สินทรัพย์ถาวร เงินทุนระยะยาว จัดหา
                                        แหล่งเงิน
                                        ทุน
ผูบริหารของธุรกิจจะต้อง
  ้
    มีความรับผิดชอบต่อ
       •เจ้าของกิจการ
       •ลูกจ้างพนักงาน
       •เจ้าหนี้
       •รัฐบาล
       •ชุมชนในสังคม
หน้าทีพื้นฐานโดยทัวไปของ
       ่            ่
  ผูบริหารการเงินมี
    ้                       3
  ประการคือ
1. การตัดสินใจหาเงินทุน
  (Financing Decision)
• กิจการควรจัดหาเงินจาก
  แหล่งใด
• สัดส่วนของแหล่งเงินทุนที่
  เหมาะสม
ปัจจัยที่จะกำาหนดเกี่ยว
กับการจัดหาเงินทุน
1. ต้นทุนของเงินทุน (Cost
   of Capital)
2. ความเสี่ยงทางการเงิน
   (Financial Risk)
2. การตัดสินใจจัดสรรเงินทุน
  (Investment Decision)
• ขนาดของกิจการทีเหมาะสม
                     ่
• กิจการควรลงทุนในสินทรัพย์แต่ละ
  ประเภทเท่าใด
• สินทรัพย์ใดบ้างที่กจการควรลด
                       ิ
  จำานวนลง
3. การตัดสินใจใน
นโยบายเงินปันผล
(Dividend Decision)
         การจ่ายเงินปันผล
สมำ่าเสมอ ย่อมสร้างความ
เชื่อมั่นแก่ผลงทุน ทำาให้
             ู้
ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูง
ขึ้น เมื่อขายหุ้นออกไปก็จะ
ได้กำาไรจากการขายหุ้นอีก
เป้าหมายของการบริหารการ
  เงิน (Financial Goal)
• การสร้างความมั่งคั่งสูงสุดของผูถือ  ้
  หุน (Wealth maximization) โดย
    ้
  การแสวงหากำาไรต่อหุ้นสูงทีสด    ่ ุ
  (Maximize Earning per Share)
      กำาไรต่อหุ้น (Earning per Share)
  = กำาไรสุทธิหลังหักภาษี
                       จำานวนหุ้น
ปัจจัยทีมีผลต่อความเสี่ยงและ
        ่
   กำาไรของธุรกิจ
 1. ประเภทของธุรกิจ
 2. ขนาดของธุรกิจ
 3. ชนิดเครืองจักรทีใช้
            ่       ่
 4. การใช้ประโยชน์จากหนี้
 5. สภาพคล่อง
สัปดาห์ที่ 2

การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการ
            เงิน
วัตถุประสงค์

• ความหมายของอัตราส่วน
  ทางการเงิน
• การวิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วน
  ทางการเงิน
• การวิเคราะห์โดยใช้วิธีแนวนอน
• การวิเคราะห์โดยใช้วิธีแนวตั้ง
ความหมายของอัตราส่วนทางการ
          เงิน

   คือ การนำาข้อมูลทางการเงิน (Financial
Information) 2 ข้อมูลจากงบการเงินมาเทียบ
สัดส่วน แล้วนำาไปเปรียบเทียบกับสัดส่วนชนิด
  เดียวกันในเวลาต่าง ๆ หรือเปรียบเทียบกับ
  กิจการอื่น ๆ เพื่ออธิบายความหมายที่สนใจ
 อยากทราบ เพือประโยชน์ในการปรับปรุงการ
                ่
             บริหารการเงินให้ดีขึ้น
วิธีการใช้อัตราส่วนทางการเงิน
      เปรียบเทียบได้ 2 วิธีคอ
                            ื

• Time Series Analysis คือการ
 เปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงิน
  ชนิดเดียวกันของกิจการเดียวกัน
 แต่เวลาต่างกัน (เป็นการเทียบกับ
   อดีต) เพื่อเปรียบเทียบผลการ
  ปฏิบัติในอดีต ปัจจุบัน หรือคาด
• Cross Section Analysis คือ
 การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการ
เงินชนิดเดียวกัน เวลาเดียวกัน แต่
 ต่างกิจการกัน (เป็นการเทียบกับ
อุตสาหกรรม) โดยกิจการที่นำามา
เปรียบเทียบควรอยู่ในอุตสาหกรรม
เดียวกัน มีขนาดใกล้เคียงกัน ใช้วิธี
ทางบัญชีเหมือนกัน หรืออาจนำาไป
  เปรียบเทียบกับตัวเลขเฉลี่ยของ
ผู้ทต้องการใช้ประโยชน์จาก
    ี่
       อัตราส่วนทางการเงิน
2.ผู้ลงทุนหรือเจ้าของกิจการ
     3.เจ้าหนี้ระยะสัน
                     ้
     4.เจ้าหนี้ระยะยาว
        5.ผู้บริหาร
ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน
       แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้

• อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity
                Ratios)
• อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratios)
• อัตราส่วนวัดความสามารถในการ
  มีกำาไร   (Profitability Ratios)
อัตราส่วนสองประเภทแรกคำานวณ
จากงบดุล ส่วนอีกสองประเภทหลัง
คำานวณจากงบกำาไรขาดทุน และบาง
 ครั้งคำานวณจากงบดุลและงบกำาไร
             ขาดทุน
 เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ขอยกตัวอย่าง
ประกอบการอธิบายอัตราส่วนทางการ
 เงินซึ่งมีงบดุล และงบกำาไรขาดทุน
     ตามตารางที่ 1 และตารางที่ 2
อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios)
  เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถใน
        การชำาระหนี้ระยะสัน มีดังต่อไปนี้
                          ้
  2. Current Ratio (อัตราส่วนทุนหมุนเวียน)
     คือ อัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน
        กับหนี้สนหมุนเวียนอัตราส่วนนี้บอกให้
                ิ
     ทราบว่ามีสินทรัพย์หมุนเวียนซึงคาดว่าจะ
                                       ่
      สามารถเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ทันที
     เพือใช้สำาหรับจ่ายชำาระหนี้ที่จะถึงกำาหนด
         ่
    นั้นได้เป็นกี่เท่า ถ้าอัตราส่วนนี้สงก็แสดงว่า
                                         ู
สำาหรับบริษัท เทใจรัก จำากัด อัตราส่วนในปี
                2548 เป็นดังนี้
 Current Ratio =         สินทรัพย์หมุนเวียน
                           หนี้สนหมุนเวียน
                                ิ
               =        2,241           =
                   2.72 เท่า
                                 824
 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม       2.1 เท่า
แสดงว่าบริษัทมีสนทรัพย์หมุนเวียนที่จะชำาระหนี้
                 ิ
  หมุนเวียนเป็น 2.72 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับ
อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรมจะเห็นว่าสูงกว่า
2. Quick Ratio หรือ Acid Test Ratio (
       อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว)
 คือ อัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนที่มี
สภาพคล่องสูง ๆ(ซึ่งได้แก่ สินทรัพย์หมุนเวียน
หักด้วยสินค้าคงเหลือและรายจ่ายล่วงหน้า) กับ
หนี้สนหมุนเวียน อัตราส่วนนีบอกให้ทราบว่ามี
     ิ                         ้
สินทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้
ง่าย ๆ เพื่อใช้สำาหรับชำาระหนี้ที่ถึงกำาหนดแล้ว
                   เป็นกี่เท่า
  อัตราส่วนนีเหมือน Current Ratio แต่จะเน้น
             ้
 สินทรัพย์หมุนเวียนที่สามารถเปลี่ยนสภาพเป็น
Quick Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้าคง
           เหลือ-รายจ่ายล่วงหน้า
                           หนี้สนหมุนเวียน
                                ิ
         = 2,241-1,329-21-35       =   1.04
                  เท่า
                                824
 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม      1.10 เท่า
 แสดงว่าบริษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียนที่สามารถ
เปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ทันทีงาย ๆ เพื่อชำาระ
                                ่
     หนีหมุนเวียนเป็น 1.04 เท่า และสูงกว่า
        ้
• Liquidity of Receivable (การวัดคุณภาพ
                  ของลูกหนี้)

**อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account
      Receivable Turnover Ratio)
 คืออัตราส่วนระหว่างยอดขายเชือกับลูกหนีเฉลี่ย
                                    ่           ้
 จะบอกให้ทราบว่าใน1งวดบัญชีขายเชือได้กี่ครั้ง
                                          ่
   หรือลูกหนีชำาระหนี้กี่ครั้ง ถ้าอัตราส่วนนีสูง ๆ
                ้                             ้
 แสดงว่าในงวดนันบริษัทมีการหมุนเวียนของลูก
                   ้
 หนี้ดี นั่นคือ สามารถขายสินค้าและเรียกเก็บหนี้
  โดยเฉลี่ยแล้วได้สูงนันแสดงว่า ลูกหนี้มสภาพ
                       ่                    ี
อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ =      ขายเชือ
                                         ่
                            ลูกหนีเฉลี่ย
                                  ้
                 = 3,992             =         5.63
                    ครั้ง
                               709.50
ลูกหนี้เฉลี่ย             = ลูกหนีต้นงวด +
                                  ้
                ลูกหนี้ปลายงวด
                                           2
อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม         8.10 เท่า
**ระยะเวลาเก็บหนี้โดยเฉลี่ยต่อครัง
                                   ้
  (Average Collection Period Ratio)
คือ อัตราส่วนนี้จะบอกให้ทราบว่า การหมุนเวียนของลูก
  หนี้1 ครั้ง เริ่มตั้งแต่ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อจนกระทั่ง
ระยะเวลาเก็บยกเก็บหนี้ได้นั้นใช้เวลาเท่าใด านวนวันใน
             เรี หนี้โดยเฉลี่ยต่อครั้ง =        จำ
                            หนึ่งปี
                           อัตราการหมุนเวียนของลูก
                          หนี้
                        =      365         = 65 วัน
                                          5.63
      อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม        45 เท่า
แสดงว่าบริษัทนั้นขายสินค้าเป็นเงินเชื่อและเก็บหนี้ใช้
2. Liquidity of Inventory (การวัดคุณภาพ
                  ของสินค้า)
 จะบอกให้ทราบว่าบริษัทเก็บสินค้าคงคลังไว้มาก
   เกินความจำาเป็นหรือไม่ เงินทุนที่ได้ลงทุนใน
   สินค้านันกว่าจะเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ใช้
           ้
  เวลาหมุนเวียนกี่วน ถ้าอัตราส่วนนีสูง นันแสดง
                    ั               ้    ่
  ว่า สินค้าสามารถขายได้คล่อง สินค้าก็มีสภาพ
 คล่องสูง และถ้าอัตราส่วนนี้ตำ่า ก็แสดงว่ากว่าจะ
    เปลี่ยนสินค้าเป็นเงินสดได้ต้องใช้เวลานาน
 สภาพคล่องของสินค้าก็ตำ่า เงินทุนก็จมในสินค้า
                      นานนันเอง
                           ่
 อัตราการหมุนเวียนของสินค้า =        ต้นทุนขาย
= 2.09 ครั้ง
    อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม         3.33 ครั้ง

ระยะเวลาในการขายสินค้าโดยเฉลี่ย =    จำานวน
   วันในหนึ่งปี
                   อัตราการหมุนเวียนของ
   สินค้า
                  =   365          = 175 วัน
                            2.09
  อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม          110 วัน
 แสดงว่าบริษัทขายสินค้าคงคลังออกไปจนกระทั่ง
  เรียกเก็บเงินค่าสินค้านั้นได้ใช้เวลา 175 วัน หรือ
อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratios)
 เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถใน
 การชำาระหนี้ระยะยาว หรือความเสียงในการ
                                   ่
ชำาระหนี้ระยะยาว ถ้าอัตราส่วนนี้สง ความเสี่ยง
                                 ู
          ทางการเงินก็ย่อมจะสูงด้วย
1. อัตราส่วนหนี้สนต่อส่วนของผู้ถอหุ้น
                 ิ              ื         (Debt to
                  Net Worth Ratio)

   อัตราส่วนนี้จะบอกให้ทราบว่าเงินทุนที่บริษัทใช้
 ในการดำาเนินงานของบริษัทนั้น ได้มาจากแหล่ง
ภายนอก คือ เจ้าหนี้ เป็นอัตราส่วนเท่าไรกับเงินทุน
  ที่ได้จากแหล่งภายใน คือ ส่วนของผู้ถือหุ้น ถ้า
อัตราส่วนนีสูง แสดงว่าบริษัทมีความเสียงทางการ
           ้                          ่
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น =    หนีสิน
                                             ้
                        รวม
                      ส่วนของผู้ถือหุ้น
                  = 1,455            = 0.81 เท่า
                        1,796
 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม         0.80 เท่า
แสดงว่าบริษัทใช้เงินทุนจากเจ้าหนี้ในอัตราส่วน
  0.81 เท่าของเงินทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อ
  เปรียบเทียบกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรม
 เดียวกัน อัตราส่วนนีใกล้เคียงกัน แสดงว่าสภาพ
                     ้
  หนีสินของบริษัทขณะนี้ใกล้เคียงกับธุรกิจทั่ว ๆ
     ้
                       ไป
• อัตราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Capitalization
                       Ratio)
    อัตราส่วนนีจะบอกให้ทราบว่าเงินทุนระยะยาว
               ้
   ทั้งหมดของบริษัทซึ่งประกอบด้วยหนีสินระยะ
                                          ้
   ยาว กับส่วนของผู้ถือหุ้นนั้น เป็นเงินทุนเฉพาะ
   ส่วนที่ได้มาจากแหล่งภายนอกของบริษัท คือ
  เจ้าหนี้ระยะยาวในอัตราส่วนเท่าไร ถ้าอัตราส่วน
  อัตราส่วนโครงสร้างเงินทุน = มาจากแหล่งเจ้นระยะ
   นี้สง แสดงว่าเงินทุนส่วนใหญ่
        ู                                   หนี้สิ า
  หนีระยะยาว ชี้ให้เห็นว่าบริษัทมีฐานะความมั่นคง ้
      ้ ยาว                                          หนี
              สินระยะยาว ไม่คอนของผู้ถือหุ้น
              ทางการเงิน + ส่่ว ยดีนัก
                 =    631
                     631 +1,796
                   =       0.26
แสดงว่าบริษัทได้ใช้เงินทุนจากหนี้สนระยะยาว
                                      ิ
    มากกว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรมเดียวกัน
    ความสามารถในการก่อหนีระยะยาวของบริษัท
                             ้
    เมือเปรียบเทียบกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปจะมีน้อยกว่า
       ่
    เล็กน้อย เพราะอัตราส่วนค่พนข้วม (Debtงกัน
• อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรั    อ ย์ร างใกล้เคีย to
    ไม่แตกต่างกันมากนัก
                      Asset)
     อัตราส่วนนีจะบอกให้ทราบว่าเงินที่ลงทุนใน
                 ้
   สินทรัพย์ทั้งหมดนั้นได้มาจากแหล่งของหนี้สน ิ
   เป็นอัตราส่วนเท่าใด ถ้าอัตราส่วนนี้สง แสดงว่า
                                       ู
   ได้ใช้เงินทุนจากแหล่งของหนีสินมากกว่าแหล่ง
                                 ้
   ของผู้ถือหุ้นมาก ความเสี่ยงทางการเงินก็จะสูง
       โอกาสที่จะก่อหนีเพิ่มขึ้นก็จะลดน้อยลง
                        ้
= 1,455           = 0.45
                       3,251
อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม      0.40
 แสดงว่าบริษัทได้ใช้เงินทุนจากหนีสินมาลงทุน
                                  ้
ในสินทรัพย์มากกว่าธุรกิจทั่วไปในอุตสาหกรรม
เดียวกัน ขณะนีธุรกิจมีภาระหนีสินมาก โอกาสที่
               ้             ้
จะก่อหนี้เพิมอีกก็จะลดน้อยลง เนื่องจากบริษัท
            ่
มีความเสี่ยงทางการเงินสูงกว่าธุรกิจทั่ว ๆไป ใน
          อุตสาหกรรมเดียวกันนั่นเอง
ตราส่วนวัดความสามารถในการมีกำาไร (Profitability Ratio
   เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถในการทำา
  กำาไรหรือการหารายได้ของกิจการ ทั้งที่เกิดจากการ
  ลงทุนในสินทรัพย์และส่วนของผู้ถือหุ้น แบ่งออกเป็น
  1. การวัดกำาไรเทียบกับยอดขาย       (Profitability in Relation
                         to Sales)

        คือ การวัดความสามารถในการหากำาไรจาก
     อัตราส่วนที่เกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบดูความ
  สัมพันธ์ของกำาไรต่าง ๆ กับยอดขาย เป็นอัตราส่วนที่
         คำานวณจากรายการในงบกำาไรขาดทุน
      2. การวัดกำาไรเทียบกับการลงทุน(Profitability in
                    Relation on Assets)
ไรเทียบกับยอดขาย (Profitability in Relation to Sales)

ไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = กำาไรขั้นต้น x 100
                           ขายสุทธิ
                        = 1,312 x 100
                                                 3,992
                  = 32.9 %
นเฉลี่ยของอุตสาหกรรม         23.8 %
บริษัทมีการบริหารงานด้านราคาและการจัดซื้อสินค้ามาขาย
ห้อัตราส่วนนี้สงกว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรมเดียวกัน
               ู
ไรสุทธิ (Net Profit Margin)
ห้ทราบว่าบริษัทบริหารงานมีประสิทธิภาพเพียงใด และบริษัทส
ห้บรรลุเป้าหมายของบริษัทได้เพียงใด อัตราส่วนนี้สูงแสดงว่า
ะเพิ่มความมั่นคงให้กับบริษัทด้วย
ส่วนกำาไรสุทธิ   = กำาไรหลังหักภาษี x 100
                  ขายสุทธิ
            = 150 x 100
                                   3,992
            = 3.76 %
นเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 2.70 %
ริษัทมีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุเป้าหมายได้ดีกว่าธุร
กรรมเดียวกัน จึงได้อัตรากำาไรสุทธิสงกว่า
                                   ู
าไรเทียบกับการลงทุน    (Profitability in Relation to Investment)

ตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์ (Rate of Return on
    ROA =      กำาไรสุทธิหลังหักภาษี x 100
              สินทรัพย์ที่มีตัวตนทั้งสิน
                                       ้
          =     150 x 100
                                          3,046
          = 4.92 %
ผลตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์นน อาจจะเป็นการวัดท
                               ั้
เท่านัน นันคือ ถ้าหาก ROA ของสองบริษัทเท่ากันก็จะหมายค
      ้   ่
             สองบริษัทมีความสามารถเท่ากัน
าหากเป็นการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการหากำาไร
 ROA เพียงอย่างเดียว แต่ควรจะวิเคราะห์อตราการหมุนเวียนข
                                       ั
                  กับอัตราส่วนกำาไรสุทธิ

ตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ        (Rate of Return on Comm

    ROE =     กำาไรส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ x 100
                   ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ
ตุ
วนของผู้ถือหุ้นสามัญ =    กำาไรสุทธิหลังหักภาษี- เงินปันผ
ถือหุ้นสามัญ = ทุนหุนสามัญ + ส่วนเกินมูลค่าหุนสามัญ + กำาไรส
                    ้                        ้
อัตราส่วนวัดความสามารถการชำาระหนี้
        (Coverage Ratios)
เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถในการจ่าย
ชำาระค่าใช้จ่ายประจำาทางการเงิน เช่น ดอกเบียจ่าย
                                             ้
เงินปันผล เงินกองทุนจม เป็นต้น ว่ามีความสามารถ
มากน้อยเพียงใด เพื่อแสดงถึงการให้ความคุ้มครอง
แก่เจ้าหนีในอันที่จะได้รับชำาระค่าดอกเบียโดยยังไม่
           ้                             ้
 คำานึงถึงเงินต้น โดยทั่วไปบริษัทจะต้องดำาเนินงาน
 ให้คุ้มกับการจ่ายตามภาระผูกพันและรายจ่ายต่าง ๆ
  และจะจ่ายจากกำาไรสุทธิที่บริษัทสามารถหามาได้
คือ บริษัทจะต้องพยายามหากำาไรให้มากพอเพือจ่าย  ่
   รายจ่ายต่าง ๆ รวมทั้งจ่ายชำาระค่าใช้จ่ายประจำา
ทางการเงินด้วย ยิ่งมีกำาไรมากก็มีความสามารถจ่าย
** Interest Coverage Ratio =       กำาไรก่อนหัก
   ดอกเบียและภาษี
         ้
                      ดอกเบี้ยจ่าย
                  =        EBIT
                      I
                  =               399
                      85
               = 4.69
    อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม        5
แสดงว่าบริษัทสามารถทำากำาไรได้เป็น 4.69 เท่า
ของภาระดอกเบียจ่ายบุคคลภายนอกที่ให้บริษัทใช้
                  ้
  เงินทุนก็พอใจ เพราะจะได้รับผลตอบแทนคือ
ดอกเบี้ยจ่ายเต็มที่ และอาจจะพอใจที่จะให้เงินทุน
ใช้เพิ่มขึ้นอีกก็ได้ แต่การบริหารงานของบริษัทใน
  ด้านการใช้เงินทุนจากภายนอกเพื่อทำากำาไรก็มี
ประสิทธิภาพตำ่ากว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไป ในอุตสาหกรรม
                      เดียวกัน
Common Size Balance Sheets:
    หารรายการต่างๆในด้านสินทรัพย์ด้วย
             สินทรัพย์รวม
สินทรัพย์       2001     2002     Ind.
เงินสด            0.3%     0.4%      0.3%
หลักทรัพย์        0.0%     2.0%      0.3%
ระยะสั้ ้น
ลูกหนี           22.1%    25.1%    22.4%
สินค้าคงคลัง     44.9%    49.1%    41.2%
รวมส/ท           67.2%    76.6%    64.1%
หมุทรัพย์ถาวร
สิน นเวียน       32.8%    23.4%    35.9%
สินทรัพย์รวม    100.0%   100.0%   100.0%
หารรายการต่างๆทางด้านขวาของ
    งบดุลด้วยหนี้สินและส่วนของ
             เจ้าของ
                       2001     2002      Ind.
เจ้าหนี้              18.3%    12.5%    11.9%
ตัวเงินจ่าย
  ๋                   25.1%    17.2%     2.4%
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย    17.1%    11.7%     9.5%
รวมหนี้สิน            60.5%    41.3%    23.7%
หมุนินระยะยาว
หนี้สเวียน            34.9%    14.3%    26.3%
รวมส่วนของ             4.6%    44.4%    50.0%
เจ้าของ ินและส่วน
รวมหนี้ส             100.0%   100.0%   100.0%
ของเจ้าของ
การวิเคราะห์ Common Size ของ
             งบดุล
• บริษัทมีส่วนของสินค้าคงคลัง
  (49.1%) สูงกว่าภาค
  อุตสาหกรรม(41.2%)
• บริษัทมีส่วนของผูถือหุ้นค่อนข้าง
                    ้
  ตำ่ากว่าอุตสาหกรรม (แสดงว่า
  บริษัทมีหนี้สินมากกว่าค่าเฉลี่ย
  อุตสาหกรรม)
Common Size ของงบกำาไร
          ขาดทุน:
  หารรายการต่างๆด้วยยอดขาย
                  2001     2002      Ind.
ยอดขาย          100.0%   100.0%   100.0%
ต้นทุนขาย        98.2%    86.7%    84.5%
ค่าใช้จายอื่น
        ่        11.7%     4.4%     4.4%
ค่าเสื่อมราคา     2.0%     1.7%     4.0%
กำาไรก่อน       -11.8%    7.1%      7.1%
ดอกเบี้ยและ
ภาษี
ดอกเบี้ยจ่าย      3.0%    1.1%      1.1%
กำาไรก่อนภาษี   -14.9%    6.0%      5.9%
ภาษี             -5.9%    2.4%      2.4%
กำาไรสุทธิ       -8.9%    3.6%      3.6%
การวิเคราะห์ Common Size ของงบ
          กำาไรขาดทุน
• บริษัทมีตนทุนขาย (86.7) สูงกว่า
           ้
  ภาคอุตสาหกรรม (84.5) แต่มีคา ่
  เสือมราคาตำ่ากว่าภาค
     ่
  อุตสาหกรรม ซึงทำาให้บริษัทมี
                 ่
  สัดส่วนของกำาไรก่อนดอกเบีย ้
  และภาษี (7.1) เท่ากับภาค
  อุตสาหกรรม
การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ
 เปลี่ยนแปลง : หา % ของการ
 เปลี่ยนแปลงจากปีที่ 1 (2000)
งบกำาไรขาดทุน    2000      2001     2002
ขาย              0.0%     70.0%   105.0%
ต้นทุนขาย        0.0%    100.0%   113.0%
ค่าใช้จายอื่น
        ่        0.0%    100.0%    -8.0%
ค่าเสื่อมราคา    0.0%    518.8%   534.9%
กำาไรก่อน        0.0%   -430.3%   140.4%
ดอกเบี้ยและ
          จ่าย   0.0%    181.6%    28.0%
ภาษี อนภาษี
กำาไรก่          0.0%   -691.1%   188.3%
ภาษี             0.0%   -691.1%   188.3%
กำาไรสุทธิ       0.0%   -691.1%   188.3%
การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ
      เปลี่ยนแปลงงบกำาไรขาดทุน
• ยอดขายในปี 2002 สูงขึนกว่าใน
                            ้
  ปี 2000 ถึง 105% และกำาไรสุทธิ
  สูงขึนกว่าปี 2000 188%
        ้
• บริษัทมีผลกำาไรมากขึน   ้
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงใน
              งบดุล
สินทรัพย์       2000      2001    2002E
เงินสด          0.0%    -19.1%    55.6%
หลักทรัพย์      0.0%   -100.0%    47.4%
ระยะสั้ ้น
ลูกหนี          0.0%     80.0%   150.0%
สินค้าคงคลัง    0.0%     80.0%   140.0%
รวมสินทรัพย์
                0.0%    71.4%    138.4%
หมุนเวียน
สินทรัพย์ถาวร   0.0%   172.6%    137.0%
สินทรัพย์รวม    0.0%    95.2%    138.1%
หนี้สิน+ทุน      2000     2001    2002E
เจ้าหนี้การค้า   0.0%   260.0%   200.0%
ตั๋วเงินจ่าย     0.0%   260.0%   200.0%
ค่าใช้จ่ายค้าง   0.0%   260.0%   200.0%
จ่าย ิน
หนี้ส            0.0%   260.0%   200.0%
หมุนินระยะ
หนี้สเวียน       0.0%   209.2%    54.6%
ยาว
ส่วนของผู้ถือ    0.0%   -80.0%   133.9%
หุ้น
รวมหนี้สินและ    0.0%    95.2%   138.1%
ทุน
การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ
     เปลี่ยนแปลงในงบดุล
• สินทรัพย์รวมโตขึนในอัตรา
                  ้
  138% ในขณะที่ยอดขายโตขึนใน ้
  อัตราแค่ 105% แสดงว่าบริษัท
  อาจมีปัญหาในการบริหาร
  สินทรัพย์
สัปดาห์ที่ 4

  การวางแผนทางการเงิน

• ความหมายของการวางแผน
  ทางการเงิน
• การจัดทำางบประมาณเงินสด
งบประมาณเงินสด (Cash
           Budget)
   หมายถึง งบที่จัดทำาขึนโดยการพยากรณ์
                        ้
   กระแสเงินสดในอนาคต ในช่วงระยะสั้น ๆ
(ภายใน 1 ปี) ว่ามีกระแสเงินสดรับเข้ามาจาก
 ทางใดบ้างและจ่ายออกไปทางใดบ้าง โดย
ทำาการพยากรณ์ทุกเดือนในช่วงระยะเวลานั้น
 ทำาให้ทราบว่าในแต่ละเดือนจะมีเงินสดเพียง
พอกับการใช้จ่ายหรือไม่ ถ้าเดือนใดที่มีเงินสด
  น้อยเกินไป ผู้บริหารการเงินจะได้วางแผน
จัดหาเงินเพิ่ม และในกรณีที่มีเงินส่วนเกินมาก
ขั้นตอนการจัดทำางบประมาณ
            เงินสด
       การจัดทำางบประมาณเงินสดมี        4 ขั้น
                 ตอน ดังนี้
        1. การกำาหนดปัจจัยหลักในการดำาเนิน
 ธุรกิจ (Key Factor) และการพยากรณ์ นั่นคือ
  การพยากรณ์ยอดขายสินค้าและบริการ เช่น
        **การพยากรณ์โดยใช้วธีทางสถิติ
                           ิ
    **การพยากรณ์โดยใช้พนักงานขายเป็นผู้
พยากรณ์ เนื่องจากเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับลูกค้าเป็น
**การพยากรณ์โดยใช้เครื่องมือของนัก
เศรษฐศาสตร์เป็นผู้กำาหนดนโยบาย
   2. การจัดทำางบประมาณเงินสดรับ
            เข้า
2.1 เงินสดรับจากการดำาเนินงานหรือจาก
        การขายสินค้า ได้แก่
     - เงินสดรับจากการขายสินค้าเป็น
       เงินสดในแต่ละเดือน
   - เงินสดรับในเดือนนี้ที่เกิดจากการขาย
      เชือในเดือนที่ผ่าน ๆ มา
         ่
แบบฟอร์มการคำานวณเงินสดรับ
                                    เดือ   เดือ   เดือ
เงินสดรับจากการดำาเนินงาน :         น...   น...   น...

- จากการขายสินค้าเป็นเงินสด
- รับชำาระหนีจากลูกหนี้ที่เกิดจาก
             ้                      xxx    xxx    xxx
การขายเชือในเดือนก่อน
           ่
เงินสดรับจากแหล่งอื่น :             xxx    xxx    xxx

               เงินสดรับทั้งสิน
                              ้     xxx xxx xxx
                                    xxx xxx xxx
3. การจัดทำางบประมาณเงินสดจ่าย
3.1 เงินสดจ่ายซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบและค่า
   ใช้จ่ายในการผลิตสินค้า ได้แก่
      - จ่ายซือสินค้าเป็นเงินสดในแต่ละ
              ้
                เดือน
     - จ่ายชำาระหนี้ที่เกิดจากการซือสินค้า
                                   ้
         ในเดือนที่ผ่าน ๆ มา
     - จ่ายค่าแรงงานและค่าใช้จ่ายในการ
                ผลิต
    3.2 เงินสดจ่ายไปในแหล่งอื่น ได้แก่
แบบฟอร์มการคำานวณเงินสดจ่าย
                                   เดือ   เดือ   เดือ
เงินสดจ่ายจากการการซื้อ :          น...   น...   น...

- จ่ายจากการสินค้าเป็นเงินสด
- จ่ายชำาระหนีเจ้าหนี้ที่เกิดจากการ xxx
              ้                           xxx    xxx
ซื้อเชื่อ                           xxx   xxx    xxx
เงินสดจ่ายไปในแหล่งอื่น :           xxx   xxx xxx
            เงินสดจ่ายทั้งสิน ้     xxx   xxx xxx
4. การจัดทำางบประมาณเงินสด
                     โดย
        4.1 นำาเงินสดรับเข้าหักเงินสดจ่าย เป็น
                   เงินสดสุทธิ
      4.2 นำาเงินสดสุทธิบวกด้วยเงินสดต้นงวด
         เป็นเงินสดปลายงวดคงเหลือ
        4.3 เปรียบเทียบเงินสดคงเหลือกับเงินสด
ขั้นตำ่าที่ต้องดำารงไว้ เพือตัดสินใจทำาการกู้ยืมเพิ่ม
                           ่
หรือนำาเงินสดส่วนเกินไปชำาระหนี้ เนื่องจากว่าใน
 แต่ละเดือนจะต้องมีเงินไม่น้อยกว่าเงินขั้นตำ่าที่
** ถ้าเงินสดคงเหลือ สูงกว่า เงินสดขั้นตำ่า
ควรเตรียมหาทางลดต้นทุน เช่น จ่ายชำาระหนี้
หรือหารายได้ระยะสั้น ๆ โดยการลงทุนระยะสัน  ้
                 ๆ เป็นต้น
แบบฟอร์มการจัดทำางบประมาณเงินสด
                  บริษัท AAA จำากัด
                   งบประมาณเงินสด
               สำาหรับงวด...เดือน...25xx
                                     เดือน เดือน เดือน
ยอดขาย                                 ...   ...   ...
                                       xxx   xxx   xxx
เงินสดรับ
                                       xxx   xxx   xxx
หัก เงินสดจ่าย
                                       xxx   xxx   xxx
เงินสดสุทธิ
                                       xxx   xxx   xxx
บวก เงินสดต้นงวด
                                       xxx   xxx   xxx
เงินสดคงเหลือ
                                       xxx   xxx   xxx
กู้ยืม (ชำาระหนี)
                ้
                                       xxx   xxx   xxx
เงินสดปลายงวด (ยกไปเป็นเงินสดต้น
ตัวอย่าง
         ให้จดทำางบประมาณเงินสดสำาหรับงวด 3 เดือน
             ั
ตั้งแต่กรกฎาคม ถึงกันยายน 2549 ของบริษัท นำ้าทิพย์
                  จำากัด จากข้อมูลต่อไปนี้
             มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
ยอดขาย       300,000 400,000 350,000 300,000
ยอดซื้อ      300,000 350,000 310,000 320,000

      - การขายเป็นการขายเงินสด 10% ขายเชื่อ 90 %
        - ได้รับชำาระหนีจากการขายเชื่อในเดือนถัดไป
                        ้
                          ทั้งหมด
        - จ่ายชำาระค่าซื้อสินค้าในเดือนถัดไปทังหมด
                                              ้
- ต้องการเงินสดขันตำ่าเดือนละ 60,000 บาท
                          ้
   - จ่ายเงินสดซื้อสินทรัพย์ 50,000 บาท ในเดือนสิงหาค
 - ธนาคารให้กู้ยืมเงินตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป อัตราดอก
                     ร้อยละ 12 ต่อปี
   - มีการกูยืมเงินจากธนาคารในวันต้นเดือนกรกฎาคม แล
            ้
              สิงหาคมเดือนละ 10,000 บาท
- ชำาระหนี้เงินกูยืมธนาคารพร้อมดอกเบี้ยในวันสิ้นเดือนกัน
                 ้
วิธีทำา           บริษัท นำ้าทิพย์ จำากัด
                      งบประมาณเงินสด
     สำาหรับงวด 3 เดือน ตังแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน
                          ้
                             2549
                                  กรกฎา สิงหา กันยา
ยอดขาย                             คม    คม    ยน
เงินสดรับ:                        400,0 350, 300,0
-จากการขายสด10%                     00   000   00
-เก็บเงินจากการขายเชื่อในเดือน
ก่อน 90%                           40,00 35,0 30,00
                                     0    00    0
                       เงินสดรับ
                                   270,0 360, 315,0
เงินสดจ่าย :                        00   000   00
-จ่ายชำาระค่าซื้อสินค้าในเดือนก่อน 310,0 395, 345,0
เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์             00   000   00
กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
เงินสดสุทธิ                 10,000 (5,000) 35,000
บวก เงินสดต้นงวด            40,000 60,000 65,000
เงินสดคงเหลือ               50,000 55,000 100,00
บวก เงินกู้ (จ่ายชำาระเงิน 10,000  10,000     0
กู)
  ้                         60,000 65,000 (20,500
เงินสดคงเหลือปลาย                              )
งวด                                        79,500
กรณีศึกษา
          บริษัท พระจันทร์ จำากัด ขายสินค้าทังเงินสดและ
                                             ้
 เงินเชื่อ มีนโยบายขายเป็นเงินสด 20% ของยอดขายทั้ง
 สิ้น ยอดขายเชื่อ 80% ของยอดขายทั้งสิ้น ยอดขายเชื่อ
 คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้ได้ครึงหนึ่งในหนึงเดือนที่ถัดไปจาก
                               ่        ่
  วันขาย ส่วนอีกครึ่งหนึงที่เหลือเก็บได้อก 2 เดือนถัดไป
                          ่               ี
 สำาหรับนโยบายการซื้อบริษัทจะซื้อสินค้าเป็นเงินสด 10%
 ส่วนที่เหลืออีก 90% เป็นเงินเชื่อ การชำาระหนี้สำาหรับการ
                                             หน่วย : บาท
  ซื้อเชื่อนัน ยอดซื้อทั้งสิ้น 40% จะชำาระให้หนึ่งเดือนถัด
             ้
  ไปนับจากวันทีซื้อพ.ย. ่เหลืออีม.ค. ก.พ. มี.ค. ้อทัง
                   ่  ส่วนที ธ.ค. ก 50% ของยอดซื เม.ย.   ้
ยอดขาย          สิ้นจะชำาระอีกสองเดือนถัด160 180 200
                      130 150 150 ไป
ยอดซื้อ               80       80   90 100 110 130
สำาหรับรายรับอืน ๆ เช่น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล เดือนละ
               ่
                     5,000 บาท
    สำาหรับรายจ่ายอื่น ๆ มีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
      - จ่ายเงินเดือนและค่าแรงเดือนละ 20,000 บาท
          บวก 10% ของยอดขายเดือนก่อน
             - จ่ายค่าเช่าเดือนละ 16,000 บาท
      - จ่ายเงินสดปันผล 8,000 บาทในเดือนมกราคม
                    และเมษายน
     - จ่ายชำาระภาษีการค้าเดือนมกราคม และเมษายน
                เดือนละ 15,000 บาท
     - จ่ายชำาระเงินต้น 30,000 บาทและดอกเบี้ยเงินกู้
สัปดาห์ที่ 5


การบริหารลูกหนี้
วัตถุประสงค์
• มาตรฐานสินเชือ
               ่
• เงือนไขการให้สินเชือ
     ่               ่
• นโยบายการเก็บเงิน
ประเภทของนโยบายการขาย

• นโยบายการขายสด
• นโยบายการขาย
  เชื่อ
• นโยบายการขายทั้ง
  เงินสด และขาย
  เชื่อ
การจัดการลูกหนี้
• เนื่องจากสภาพการแข่งขันสูง จึงขาย
  สดอย่างเดียวไม่ได้ จึงต้องมีการขาย
  เชือ หรือให้เครดิตลูกค้า
      ่
• การขายเชือก่อให้เกิดลูกหนี้
             ่
• การขายเชือมากๆ ทำาให้บริษัทขาด
               ่
  เงินสดหมุนเวียน จึงจำาเป็นต้องหา
  แหล่งเงินทุนทางอื่น เช่นการกู้ยืม จึง
  ถือว่าการขายเชือทำาให้เกิดต้นทุนหรื
                  ่
  ค่าใช้จ่ายทางการเงินกับบริษท เรียก
                               ั
  ว่า “ต้นทุนเงินลงทุนบัญชีลูกหนี้”
นโยบายสินเชื่อ
•   มาตรฐานสินเชื่อในการคัดเลือกลูกหนี้
•   ระยะเวลาชำาระหนี้
•   นโยบายการทวงเก็บหนี้
•   ส่วนลดเงินสด ในการจูงใจให้จ่ายหนี้
    เร็วขึน
          ้
การกำาหนดมาตรฐานการให้สินเชื่อ
           ลูกค้า
 •   พิจารณาจาก 5C’s
     – Characteristic: ลักษณะนิสัย
     – Capacity: ความสามารถในการ
       ชำาระหนี้
     – Capital: เงินทุน
     – Collateral: หลักประกัน
     – Condition: เงือนไข
                     ่
ลูกหนี้ (Account Receivable) = ?
• ปริมาณของลูกหนี้ขนอยู่กับ
                    ึ้
  – ปริมาณการขายเชือ   ่
  – ความถีในการเก็บหนี้ (ระยะเวลาเก็บหนี้
           ่
    โดยเฉลี่ย or DSO)
• สูตรการคำานวณปริมาณของลูกหนี้
  DSO = ลูกหนี้ / ยอดขายเชือต่อวัน
                              ่
  ดังนั้น
  ลูกหนี้ = ยอดขายเชือต่อวัน * DSO
                         ่
นโยบายการขายเชื่อ
• ข้อดี:
  – กำาไรส่วนเกินเพิมขึ้น
                    ่
  กำาไรส่วนเกินต่อหน่วย (บาท)
   = ราคาขายต่อหน่วย (บาท)– ต้นทุนผันแป
    ต่อหน่วย (บาท)
  กำาไรส่วนเกินทั้งหมด (บาท)
   = กำาไรส่วนเกินต่อหน่วย * จำานวนหน่วยท
    ขายได้

• ข้อเสีย:
ค่าใช้จ่ายในการขายเชื่อ
• หนี้เสีย
• ค่าใช้จ่ายในการเก็บหนี้
• ส่วนลดการค้า
• ต้นทุนเงินทุนบัญชีลูกหนี้
ส่วนลดการค้า

• ตัวอย่าง: 2/15 net 60
• ส่วนลดการค้า =
อัตราส่วนลด * ยอดขายเชื่อ * จำานวน
  % ลูกค้าที่ใช้ส่วนลด
ตัวอย่าง
      กิจการขายสินค้า หน่วยละ 20 บาท
   มีตนทุนผันแปรหน่วยละ 16 บาท ขาย
       ้
    สินค้าปีละ 3,000,000 บาท กำาหนดให้
   ลูกค้าชำาระหนี้ 45 วัน โดยไม่มสวนลด
                                 ี ่
   ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลีย 60 วัน ถ้า
                             ่
   กิจการต้องการให้ลกหนี้ชำาระหนี้เร็ว
                         ู
  ขึ้นโดยเสนอเงื่อนไขการชำาระเงินเป็น
  2/10, n/45 คาดว่าลูกหนี้ประมาณ 50%
    จะชำาระหนี้ภายใน 10 วัน ทำาให้ระยะ
ลูกหนี้   = ยอดขายเชื่อต่อวัน * DS
               = 3,000,000 x 30
                   36
                  = 250,000
                    0
รคำานวณผลประโยชน์ทได้รบและค่าใช้จ่ายทีเก
                  ี่  ั                ่
ผลตอบแทนจากการนำาเงินที่ได้จากลูกหนี้ไปลง
       = 250,000 x 20%
       = 50,000 บาท
วนลดการค้า
= อัตราส่วนลด x ยอดขายเชือ x จำานวน%ลูกค้าท
                         ่
= 2% x 3,000,000 x 50%
= 30,000 บาท
ให้ส่วนลดการค้าทำาให้กำาไรเพิ่มขึ้น 20,000 บา
น กิจการควรนำานโยบายใหม่มาใช้
ต้นทุนของเงินทุนบัญชีลูกหนี้
ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท)
                     ู
= ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน
  เงินทุน (%)

  ต้นทุนผันแปร % = ต้นทุนผันแปร
    (บาท) / ราคาขาย (บาท)
  ต้นทุนเงินทุน % = ต้นทุนการกู้ยืมเงิน
ตัวอย่าง
      กิจการขายสินค้า หน่วยละ 20 บาท
   มีตนทุนผันแปรหน่วยละ 16 บาท ขาย
       ้
   สินค้าปีละ 2,400,000 บาท เงือนไขการ
                                ่
         ชำาระเงินเป็น n/30 อัตราการ
      หมุนเวียนของลูกหนี้ 12 ครัง ถ้า
                                  ้
   กิจการลดมาตรฐานการให้สินเชือลง   ่
      คาดว่าจะทำาให้ยอดขายเพิ่มเป็น
     3,000,000 บาท แต่ทำาให้อัตราการ
  หมุนเวียนของลูกหนี้ลดลงเหลือ 6 ครั้ง
รคำานวณผลประโยชน์ทได้รับและค่าใช้จายที่เก
                      ี่          ่
ยบายเดิม
ลูกหนี(2,400,000)
      ้                    =     200,00
              12
ยอดขาย               = 2,400,000
กำาไรส่วนเกิน(2,400,000x4) =     480,00
                       20
       ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท)
                            ู
       = ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน
         เงินทุน (%)
       = 200,0002016x100 x 18%
                  x
รคำานวณผลประโยชน์ทได้รับและค่าใช้จายที่เก
                      ี่          ่
ยบายใหม่
ลูกหนี(3,000,000)
      ้                    =     500,00
               6
ยอดขาย               = 3,000,000
กำาไรส่วนเกิน(3,000,000x4) =     600,00
                       20
       ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท)
                            ู
       = ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน
         เงินทุน (%)
       = 500,0002016x100 x 18%
                  x
รลดมาตรฐานสินเชือทำาให้
                    ่
กำาไรเพิ่มขึ้น(600,000 – 480,000) =   120
ต้นทุนเพิ่มขึน(72,000 – 28,800) =
              ้                         42
กำาไรเพิ่มขึ้น > ต้นทุนเพิ่มขึ้น =  76,800

นั้น กิจการควรนำานโยบายใหม่มาใช้
การพิจารณาเปลี่ยนนโยบายสิน
  •ควรเปลี่ยนในกรณีที่:
                เชื่อ
    •ผลดี > ผลเสีย
    หรือ
    •กำาไรส่วนเกินทีเพิ่มขึ้น
                      ่
    (Marginal Benefit) > ค่าใช้
    จ่ายที่เพิ่มขึ้น (Marginal
    Cost)
สัปดาห์ที่ 6


การบริหารสินค้า
วัตถุประสงค์
• ความสำาคัญและวัตถุประสงค์
  ของการบริหารสินค้า
• ประเภทของสินค้าคงเหลือ
• ค่าใช้จ่ายทีเกียวข้องกับสินค้า
              ่ ่
• เทคนิคทีใช้ในการบริหารสินค้า
            ่
  คงเหลือ
ความหมายของสินค้าคงเหลือ
• Inventory หมายถึง วัตถุดิบที่
  เก็บไว้เพื่อการใช้ในการผลิต
  และในการจำาหน่าย หรือสินค้า
  สำาเร็จรูปทีมีไว้เพื่อจำาหน่าย
              ่
  ตลอดจนวัตถุดิบที่อยู่ในระหว่าง
  การผลิต แต่ยงผลิตไม่เสร็จเป็น
                   ั
  สินค้าสำาเร็จรูป
วัตถุประสงค์การบริหารสินค้าคง
            เหลือ
• ทำาให้ธุรกิจมีสภาพคล่อง สินค้าคงเหลือ
  เป็นสินทรัพย์หมุนเวียน ซึ่งธุรกิจสามารถ
  เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่าย หากธุรกิจมีวธีิ
  การบริหารสินค้าคงเหลืออย่างมี
  ประสิทธิภาพ
• เพื่อทำาให้ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการมีสินค้า
  คงคลังตำ่าสุด เนื่องจากการมีสินค้าคงคลัง
  จะเกิดต้นทุนในตัวสินค้า ต้นทุนการสั่งซื้อ
  และต้นทุนการเก็บรักษา ดังนั้นการสั่งซื้อ
  แต่ละครั้งต้องกำาหนดปริมาณการสั่งซื้อ
  ให้เหมาะสมเพื่อให้ต้นทุนรวมทั้งหมดตำ่า
  ที่สุด
ประเภทของสินค้าคงเหลือ
• วัตถุดบ (Raw Material) หมายถึง วัตถุดบ
          ิ                              ิ
  ที่ซื้อมาเพื่อนำามาใช้ในการผลิตเป็นสินค้า
  สำาเร็จรูปและนำาออกจำาหน่าย เช่น วัตถุดบ  ิ
  ธรรมชาติ เช่น ผ้า ไม้ หรืออาจเป็นสินค้า
  สำาเร็จรูป เช่น ชินส่วนอิเล็กทรอนิกส์
                    ้
  เป็นต้น
• วัสดุคงเหลือ (Supplies) หมายถึง ธุรกิจที่
  ผลิตสินค้าจะมีเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต
  ดังนั้นชินส่วนอะไหล่สำาหรับการซ่อมบำารุง
            ้
  เครืองจักรจะมีเหลืออยู่คอวัสดุคงเหลือ
        ่                   ื
• งานระหว่างทำา (Work in Process) หมายถึง
ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน
                 สินค้าคงเหลือ
        • ยอดขาย และความต้องการของลูกค้า
                         ลูกค้ามีความต้องการในสินค้า
                                      สูง
                        ระดับสินค้าคงเหลือจะสูงตามไป
                                     ด้วย
กษณะของผลิตภัณฑ์ของสินค้า มีความคงทนมากน้อยแค่ไหน


                   สินค้าทีมีความคงทนตำ่า การ
                           ่
                             เก็บรักษา
                 ดูแลยาก การลงทุนในสินค้าคง
                         เหลือจะตำ่า เช่น
                 วัตถุดิบทางการเกษตร เป็นต้น
ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน
                สินค้าคงเหลือ
        • ต้นทุนของการมีสินค้าคงเหลือ
                           ถ้ากิจการต้องแบก
                           รับภาระต้นทุน
                           ในการเก็บรักษาเป็น
                           จำานวนเงินสูง
                           ไม่ควรมีสินค้าคง
                           เหลือมากเกินไป
ะยะเวลาในการสั่งซื้อ หรือระยะเวลาในการผลิต
             ถ้าการสั่งซื้อสินค้ามีระยะเวลาใน
             การสั่งซื้อ (Lead Time)
             ยาวนาน ควรมีสินค้าคงเหลือใน
             ปริมาณมาก
ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน
               สินค้าคงเหลือ
       • อายุของสินค้า


สินค้าที่มอายุการใช้งานนาน ความต้องการของลูกค้า
          ี
จะตำ่าไม่ควรลงทุนในสินค้าคงเหลือในปริมาณมาก

       ฤดูกาลสำาหรับสินค้ากาลควรลงทุนในปริมาณมา
  สินค้าเกษตร เมืออยู่นอกฤดู
                 ่
                             เกษตรกรรม
  จากเป็นสินค้าที่หายาก แต่เมืออยู่ในฤดูกาลไม่จำาเป็นต้อ
                              ่
  สูงเนื่องจากหาได้ง่าย
การควบคุมสินค้าคงเหลือ
• ปริมาณการสังซือสินค้า
                   ่ ้
  ทีประหยัดทีสุดต่อครั้ง
    ่            ่
• ต้นทุนรวมในการสั่งซือที่ ้
  ประหยัดทีสด่ ุ
• ระยะเวลาในการสังซือ  ่ ้
• จุดสังซื้อใหม่
       ่
• สินค้าคงเหลือเพื่อความ
  ปลอดภัย
• การควบคุมสินค้าคงคลัง
ปริมาณการสังซื้อทีประหยัดทีสุดต่อครัง
           ่      ่        ่        ้
 (Economic order Quantity : EOQ)
     หมายถึง จำานวนสินค้าคงเหลือที่
        กิจการจะทำาการสั่งซื้อในแต่ละ
        ครั้งแล้วทำาให้เกิดต้นทุนรวมตำ่า
        ที่สุด
     ต้นทุนรวมของการมีสินค้าคงเหลือ
     • ต้นทุนการสั่งซื้อ(Ordering
        Cost) : ค่าใช้จ่ายในการจัด
        เตรียมเอกสาร ค่าขนส่ง
        เป็นต้น
        O = O x S
ดังนั้น   TC    = O x S+ C x
   Q
                    Q           2
   Q = ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้ง
   S = จำานวนสินค้าทีคาดว่าจะขาย
                     ่
   ได้ตลอดช่วงเวลาหนึ่ง
   C = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา
   สินค้าต่อหน่วยต่อช่วงเวลาหนึ่ง
   O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อครั้ง
ตัวอย่าง บริษทแห่งหนึ่งคาดว่าจะขาย
              ั
สินค้าได้12,500 ชิ้น ต่อปี ค่าใช้จ่ายใน
         12,500
การเก็บรักษาชิ้นละ 20 บาทต่อปี ค่า
ใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ 50 บาท
   - ถ้าบริษัทสั่งซื้อสินค้าครั้งละ 100
ชิ้น
   - ถ้าบริษัทสั่งซื้อสินค้าครั้งละ 500
ชิ้น
วิธีทำา
Q = 100; TC = O x S + C x
Q
                                     Q
Q = 500; TC       = O x S+ C x
Q
                                  Q
2
             =    50x12,500 +
20x500
                500      2
            = 1,250 + 5,000
            = 6,250 บาท
จากตัวอย่างจะเห็นว่า     ถ้าสั่งซื้อครั้ง
          ละน้อย ๆ (Q น้อย)
ค่าเก็บรักษาจะถูก แต่ค่าสั่งซื้อจะแพง
Economic order Quantity :
             EOQ
ต้นทุนรวมในการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
  คือ
ต้นทุนรวมในการเก็บรักษา = ต้นทุน
  รวมในการสั่งซื้อ
ดังนั้นจากคำากล่าวข้างต้นสามารถ
  คำานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่
  ประหยัดได้ดังนี้
      C x Q = O x S
            2             Q
      CQ2 =     2 (O x S)
        Q2     =     2(O x S)
ตัวอย่างข้อ 7 บริษัท มารวย จำากัด
D = 160,000 x 0.5 = 80,000 หลา/ปี
O = 400 บาทต่อครั้ง
C = 4 บาทต่อปี
EOQ        = √2(O x D)
        C
EOQ    = √2(400 x 80,000)
          4
EOQ    = 4,000 หลาต่อครัง
                        ้
ต้นทุนรวมที่ประหยัด
ต้นทุนรวม    = ต้นทุนการเก็บรักษา
  + ต้นทุนการสั่งซื้อ
 TC(EOQ)     = CxQ + O x
  D
                  2          Q
          = 4 x 4,000 + 400 x
  80000
             2        4,000
          = 8,000 + 8,000
ให้นักศึกษาคำานวณหาปริมาณการสังซื้อ ่
     หมวกที่ประหยัดต่อครั้ง (ข้อ 5)
   D = 1,000,000 / 200 = 5,000
    ใบ ต่อ ปี
   O = 500 บาท
   C = 10 บาท / 6 เดือน นั่นคือ 20
    บาทต่อปี
   Q        = √2(O x D)
            C
       = √ 2 (500 x 5,000)
              20
ให้นักศึกษาคำานวณหา ต้นทุนรวมใน
        การสังซื้อทีประหยัด ข้อ 5
             ่      ่
TC(EOQ)   = CxQ       + O x D
               2               Q
          = 20 x 500       +   500 x
 5,000
              2                  500
          = 5,000 + 5,000
          = 10,000 บาท

ถ้ากิจการซื้อสินค้า ณ ระดับที่ประหยัดจะเกิด
ระยะเวลาในการสั่งซือ
                      ้
ระยะห่างของจำานวนวันในการสั่งซื้อ
   แต่ละครั้ง ข้อ 7 บริษัท มารวย
2. คำานวณหาจำานวนครั้งในการสั่งซื้อ
     = 80,000 / 4,000 = 20 ครั้ง
   ต่อปี
4. คำานวณหาระยะเวลาในการสั่งซื้อ
     = 360 = 18 วัน
         20
  ให้นักศึกษาคำานวณหาระยะเวลาใน
     การสั่งซื้อหมวก (ข้อ 5)
ระยะเวลาการสั่งซื้อกรณีมีระยะเวลา
        ในการรอสินค้า
   Lead Time หมายถึง ระยะเวลาใน
     การรอคอยสินค้า
   จากตัวอย่างข้อ 7 ถ้าการสั่งซื้อ
     หนังแท้แต่ละครังมีระยะเวลาใน
                      ้
     การรอคอยสินค้านาน 3 วัน จง
     คำานวณหาระยะเวลาสั่งซื้อ
   ระยะเวลาการสั่งซื้อ = 18 - 3
     = 15 วัน
   กิจการควรสั่งซื้อสินค้าหลังจากสั่ง
     ซื้อครั้งทีแล้ว 15 วัน
                ่
จุดสั่งซือใหม่ (Reorder Point)
         ้
การคำานวณหาระดับสินค้าคงเหลือที่เหลือ
   ตำ่าสุดที่กจการจะต้องทำาการสั่งซื้อ
              ิ
   ครังต่อไปตัวอย่างข้อ 7
       ้
2. คำานวณหาปริมาณการใช้สินค้าเฉลี่ย
   ต่อวัน
       80,000 / 360 = 222 หลาต่อ
   วัน หรือ
           4000/18       = 222 หลา
   ต่อวัน
5 ถ้ามี Lead time 3 วัน ต้องซื้อหนัง
   ล่วงหน้าก่อนหมด 3 วัน ดังนัน้
ปริมาณการสั่งซือสินค้าที่มส่วนลด
               ้          ี
  แนวคิด ธุรกิจต้องเปรียบเทียบผลได้
   และผลเสีย
  ผลได้    ได้รบส่วนลดจากการสั่งซื้อ
                ั
   ณ ระดับที่ผู้ขายกำาหนด
  ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น
  การตัดสินใจ
   ผลได้ มากกว่า ผลเสีย ซื้อใน
   ปริมาณที่ผู้ขายกำาหนดเงื่อนไข
   ผลได้    น้อยกว่า ผลเสีย ปฏิเสธข้อ
ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ)
  การให้ส่วนลดมี 2 แบบ
  2. ให้ส่วนลดต่อหน่วยของสินค้า
  3. ให้ส่วนลดเป็นครั้งของการสั่งซื้อ
  ตัวอย่างข้อ 7.3
  5. คำานวณผลได้
     จำานวนครั้งในการสั่งซื้อ = 80,000
     / 10,000 = 8 ครั้ง
     ส่วนลดที่ได้ เท่ากับ 100 x 8 =
     800 บาท
  2. คำานวณผลเสีย
ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ)
       = 20,000 + 3,200
       = 23,200
  ต้นทุนรวมสูงขึ้น = 23,200
     - 16,000 = 7,200
  เปรียบเทียบผลได้ ผลเสีย
    ผลได้ ได้รับส่วนลด 800
    บาท
    ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น
    7,200 บาท
ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ)
  ตัวอย่างข้อ 7.4
  คำานวณผลได้
    ได้รับส่วนลด 80,000 x 2 =
    160,000 บาท
  คำานวณผลเสีย
    TC(10,000)   = 4 x 10,000
    + 400 x 80,000
                    2
         10,000
             = 20,000 + 3,200
ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ)
  เปรียบเทียบผลได้ ผลเสีย
    ผลได้ ได้รับส่วนลด
    160,000 บาท
    ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น
    7,200 บาท

  ตัดสินใจ บริษทควรสังซื้อ
                ั     ่
    สินค้าในปริมาณครั้งละ
    10,000 หลาตามทีผู้ขาย
                    ่
สินค้าคงเหลือเพือความปลอดภัย
                 ่
         (Safety Stock)
ระดับสินค้าคงเหลือทีกจการต้องสำารองไว้
                    ่ ิ
   เกินกว่า
ระดับ EOQ ซึ่งต้องเป็นปริมาณทีทำาให้
                                  ่
   กิจการมี
ต้นทุนรวมตำ่าทีสด
               ่ ุ
ต้นทุนรวมของการมีสินค้าคงเหลือเพื่อ
   ความปลอดภัย
5. ต้นทุนค่าเสียโอกาส
6. ต้นทุนการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ้น
สัปดาห์ที่ 7


โครงสร้างเงินทุน
วัตถุประสงค์
• ทฤษฎีโครงสร้างเงินทุน
• ปัจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจ
          ่
โครงสร้างเงินทุน
•   แสดงให้เห็นถึงการจัดหาเงินทุนระยะยาว
    จากหลายวิธีการ โดยสามารถจัดหาได้จาก
    การก่อหนี้ และ ส่วนของเจ้าของ

•  ตัวอย่าง – ต้องการจัดหาเงินทุน 500,000
   บาท จากทางเลือก 2 ทาง
4. - กู้ยืมระยะยาว 3,000,000 บาท @ i=9.5% ต่อ
   ปี
   - ออกหุ้นสามัญ ราคา PAR 100 บาทจำานวน
   20,000 หุ้น @ อัตราจ่ายเงินปันผล 8% ต่อปี
โครงสร้างเงินทุน

1. - กู้ยืมระยะยาว 3,000,000
   บาท @ i=9.5% ต่อปี
   - ออกหุ้นสามัญ ราคา PAR
   100 บาทจำานวน 20,000 หุ้น @
   อัตราจ่ายเงินปันผล 8% ต่อปี
ทฤษฎีโครงสร้างเงินทุน
• มีโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับ
  แต่ละกิจการ
• ต้องคำานวณหา EPS ของแต่ละทางเลือก
  ที่สงที่สด
      ู    ุ
• ดอกเบี้ยจ่ายช่วยทำาให้เสียภาษีน้อยลง


 ค่าของทุนจากการก่อหนี้ = ค่าของทุนจาก
 การก่อหนี้ก่อนภาษี (1- อัตราภาษี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ

• กำาไรต่อหุ้น (EPS)
     EPS =       กำาไรส่วนของผู้ถือหุน
                                     ้
  สามัญ
                  จำานวนหุนสามัญ
                          ้

• เปรียบเทียบต้นทุนถัวเฉลีย
                          ่

• พิจารณาอัตราผลตอบแทนทีตองจ่ายให้
                        ่ ้
ตัวอย่างการคำานวณ

• ตัวอย่าง น.371
• โครงสร้างเงินทุนในปัจจุบันดังนี้


เงินกู้ธนาคาร(9%)              10 ล้านบาท
หุ้นบุริมสิทธิ(6%)
              (6%)              5 ล้านบาท
หุ้นสามัญ (Par@10บาท)          15 ล้านบาท
ส่วนเกินทุนหุ้นสามัญ                 10 ล้าน
   บาท
ตัวอย่างการคำานวณ

•    ต้องการหาเงินทุนระยะยาว 20 ล้านบาท มีทางเลือกดังนี้
2.   ออกจำาหน่ายหุ้นกู้ (8%) 6 ล้านบาท , หุ้นบุริมสิทธิ (5%) 8
     ล้านบาท และส่วนที่เหลือออกหุ้นสามัญ (ราคาหุ้นละ 20
     บาท)

4.   ออกจำาหน่ายหุ้นกู้ (8%) 50% และส่วนที่เหลือออกหุ้นสามัญ
     (ราคาหุ้นละ 20 บาท)

     บริษัทคาดว่า หลังจากเพิ่มทุน จะทำาให้มกำาไรจากการ
                                           ี
     ดำาเนินงาน 12 ล้านบาท ที่อัตราภาษี 30% ต่อปี
ตัวอย่างการคำานวณ

•    ภาระผูกพันเดิม

3.   ดอกเบี้ยจ่าย (900,000)
4.   เงินปันผลจ่ายหุ้นบุริมสิทธิ (300ม000)
5.   จำานวนหุ้นสามัญ 1500,000
ตัวอย่างการคำานวณ

• ภาระผูกพันของแต่ละทางเลือก
• ทางเลือกที่ 1

ออกหุ้นกู(8%) ดอกเบียจ่าย = 6,000,000 x 8% = 480,000
         ้ (8%)     ้

ออกหุ้นบุริมสิทธิ(5%)เงินปันผลจ่าย = 8,000,000x5% =400,000

ออกหุ้นสามัญ = 6,000,000/20 = 300,000
ตัวอย่างการคำานวณ

• ทางเลือกที่ 2

ออกหุ้นกู(8%) ดอกเบียจ่าย(50%) = 10,000,000 x 8% = 800,000
         ้ (8%)     ้

ออกหุ้นสามัญ = 10,000,000/20 = 500,000
ตัวอย่างการคำานวณ

• คำานวณภาระผูกพันรวม
• ทางเลือกที1
            ่

ดอกเบี้ยจ่ายรวม = 900,000 + 480,000 = 1,380,000

เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ = 300,000 + 400,000 = 700,000

จำานวนหุ้นสามัญ = 1,500,000 + 300,000 = 1,800,000 หุ้น
ตัวอย่างการคำานวณ

• ทางเลือกที่ 2


ดอกเบี้ยจ่ายรวม = 900,000 + 800,000 = 1,700,000

เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ = 300,000 + 0 = 300,000

จำานวนหุ้นสามัญ = 1,500,000 + 500,000 =2,000,000 หุ้น
ตัวอย่างการคำานวณ

• หา EPS
• ทางเลือกที่ 1
   (1,200,000 – 1,380,000 – 3,186,000 – 700,000)
                         1,800,000
 = 3.74

• ทางเลือกที่ 2
   (1,200,000 – 1,700,000 – 3,090,000 – 300,000)
                         2,000,000
 = 3.46
ตัวอย่างการคำานวณ

• โครงสร้างของทุนใหม่
เงินกู้ธนาคาร (9%)              10 ล้านบาท
หุ้นกู้ใหม่ (8%)                 6 ล้านบาท
หุ้นบุริมสิทธิ (6%)              5 ล้านบาท
หุ้นบุริมสิทธิใหม่ (5%)          8 ล้านบาท
หุ้นสามัญ (Par @ 10 บาท) 15 ล้านบาท
หุ้นสามัญใหม่ (Par @ 20 บาท)     6 ล้านบาท
ส่วนเกินหุ้นสามัญ               10 ล้านบาท
รวม                             60 ล้านบาท
สัปดาห์ที่ 8


การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
วัตถุประสงค์

•   การคำานวณหาจุดคุ้มทุน
•   ข้อจำากัดของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
•   ผลกระทบต่อจุดคุ้มทุนจากปัจจัยต่างๆ
    ทีเปลี่ยนแปลงไป
      ่
การวิเคราะห์จุดคุมทุน
                         ้

•    จุดคุมทุนคือจุดทีปริมาณขายหรือได้ที่ทำาให้
          ้           ่
     ธุรกิจไม่ขาดทุนและไม่มีกำาไร

•    มีวิธีการคำานวณ 3 วิธี
4.   สมการเส้นตรง
5.   แผนภาพ
6.   กำาไรแปรผันขั้นต้น
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ

Contenu connexe

Tendances

มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนtumetr1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 

Tendances (20)

มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 

Similaire à การเงินธุรกิจ

Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handoutCharin Sansuk
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Managementtltutortutor
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนtumetr1
 

Similaire à การเงินธุรกิจ (20)

อัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงินอัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน
 
2015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 12015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 1
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Management
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 

การเงินธุรกิจ

  • 1. การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE อาจารย์ วัชรี ทรัพย์กระจ่าง คณะบริหารธุรกิจ สาขาการ
  • 3. วัตถุประสงค์ • หน้าที่ของผูจัดการทางการเงิน ้ • เป้าหมายในการประกอบธุรกิจ • โครงสร้างองค์กรทางการเงิน
  • 4. ประเภทของ องค์กรธุรกิจ มี 3 ประเภทได้แก่ • กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorships) • ห้างหุ้นส่วน (Partnerships : general and limited) • บริษัทจำากัด (Corporations)
  • 5. กิจการเจ้าของคนเดียว • เป็นธุรกิจที่มเจ้าของเพียงคน ี เดียว • มีภาระความรับผิดชอบไม่ จำากัดจำานวน • เงินลงทุนน้อย • มีความเป็นอิสระ มีอำานาจใน การตัดสินใจ
  • 6. ห้างหุ้นส่วน • ธุรกิจที่มีเจ้าของตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมลงทุนประกอบธุรกิจ เพื่อ แสวงหากำาไรด้วยกัน • ประเภทของห้างหุ้นส่วน แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ – ห้างหุ้นส่วนสามัญ ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุกคน ต้องรับผิดชอบร่วมกันเพื่อ หนีทั้งปวง โดยไม่จำากัดจำานวน ้ – ห้างหุ้นส่วนจำากัด ผู้เป็นหุ้นส่วน ประเภทจำากัดความรับผิดชอบ จะ รับผิดชอบในหนีสินของห้างไม่เกิน ้
  • 7. บริษัทจำากัด • มีสถานภาพตามกฎหมาย เป็นนิตบุคคล ิ • มีผถือหุ้น 7 คนขึ้นไป ู้ • ธุรกิจทีกำาหนดโดยกฎหมาย ่ ให้มีอำานาจเสมือนบุคคลผู้ถือ หุ้นเป็นเจ้าของทีแท้จริงของ ่ บริษทรับผิดชอบจำากัดตาม ั มูลค่าหุ้นที่ลงทุนไป •
  • 8. กิจกรรมที่สำาคัญของผูจัดการทางการ ้ เงิน กิจกรรมที่สำาคัญจะมีความสัมพันธ์กับงบดุลของ กิจการ วิเคราะห์และวางแผนทางการเงิน งบดุล ตัดสินใจ นทรัพย์หมุนเวียน ้สินหมุนเวียน ตัดสินใจ สิ หนี ลงทุน สินทรัพย์ถาวร เงินทุนระยะยาว จัดหา แหล่งเงิน ทุน
  • 9. ผูบริหารของธุรกิจจะต้อง ้ มีความรับผิดชอบต่อ •เจ้าของกิจการ •ลูกจ้างพนักงาน •เจ้าหนี้ •รัฐบาล •ชุมชนในสังคม
  • 10. หน้าทีพื้นฐานโดยทัวไปของ ่ ่ ผูบริหารการเงินมี ้ 3 ประการคือ 1. การตัดสินใจหาเงินทุน (Financing Decision) • กิจการควรจัดหาเงินจาก แหล่งใด • สัดส่วนของแหล่งเงินทุนที่ เหมาะสม
  • 12. 2. การตัดสินใจจัดสรรเงินทุน (Investment Decision) • ขนาดของกิจการทีเหมาะสม ่ • กิจการควรลงทุนในสินทรัพย์แต่ละ ประเภทเท่าใด • สินทรัพย์ใดบ้างที่กจการควรลด ิ จำานวนลง
  • 13. 3. การตัดสินใจใน นโยบายเงินปันผล (Dividend Decision) การจ่ายเงินปันผล สมำ่าเสมอ ย่อมสร้างความ เชื่อมั่นแก่ผลงทุน ทำาให้ ู้ ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูง ขึ้น เมื่อขายหุ้นออกไปก็จะ ได้กำาไรจากการขายหุ้นอีก
  • 14. เป้าหมายของการบริหารการ เงิน (Financial Goal) • การสร้างความมั่งคั่งสูงสุดของผูถือ ้ หุน (Wealth maximization) โดย ้ การแสวงหากำาไรต่อหุ้นสูงทีสด ่ ุ (Maximize Earning per Share) กำาไรต่อหุ้น (Earning per Share) = กำาไรสุทธิหลังหักภาษี จำานวนหุ้น
  • 15. ปัจจัยทีมีผลต่อความเสี่ยงและ ่ กำาไรของธุรกิจ 1. ประเภทของธุรกิจ 2. ขนาดของธุรกิจ 3. ชนิดเครืองจักรทีใช้ ่ ่ 4. การใช้ประโยชน์จากหนี้ 5. สภาพคล่อง
  • 17. วัตถุประสงค์ • ความหมายของอัตราส่วน ทางการเงิน • การวิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วน ทางการเงิน • การวิเคราะห์โดยใช้วิธีแนวนอน • การวิเคราะห์โดยใช้วิธีแนวตั้ง
  • 18. ความหมายของอัตราส่วนทางการ เงิน คือ การนำาข้อมูลทางการเงิน (Financial Information) 2 ข้อมูลจากงบการเงินมาเทียบ สัดส่วน แล้วนำาไปเปรียบเทียบกับสัดส่วนชนิด เดียวกันในเวลาต่าง ๆ หรือเปรียบเทียบกับ กิจการอื่น ๆ เพื่ออธิบายความหมายที่สนใจ อยากทราบ เพือประโยชน์ในการปรับปรุงการ ่ บริหารการเงินให้ดีขึ้น
  • 19. วิธีการใช้อัตราส่วนทางการเงิน เปรียบเทียบได้ 2 วิธีคอ ื • Time Series Analysis คือการ เปรียบเทียบอัตราส่วนทางการเงิน ชนิดเดียวกันของกิจการเดียวกัน แต่เวลาต่างกัน (เป็นการเทียบกับ อดีต) เพื่อเปรียบเทียบผลการ ปฏิบัติในอดีต ปัจจุบัน หรือคาด
  • 20. • Cross Section Analysis คือ การเปรียบเทียบอัตราส่วนทางการ เงินชนิดเดียวกัน เวลาเดียวกัน แต่ ต่างกิจการกัน (เป็นการเทียบกับ อุตสาหกรรม) โดยกิจการที่นำามา เปรียบเทียบควรอยู่ในอุตสาหกรรม เดียวกัน มีขนาดใกล้เคียงกัน ใช้วิธี ทางบัญชีเหมือนกัน หรืออาจนำาไป เปรียบเทียบกับตัวเลขเฉลี่ยของ
  • 21. ผู้ทต้องการใช้ประโยชน์จาก ี่ อัตราส่วนทางการเงิน 2.ผู้ลงทุนหรือเจ้าของกิจการ 3.เจ้าหนี้ระยะสัน ้ 4.เจ้าหนี้ระยะยาว 5.ผู้บริหาร
  • 22. ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ • อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) • อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratios) • อัตราส่วนวัดความสามารถในการ มีกำาไร (Profitability Ratios)
  • 23. อัตราส่วนสองประเภทแรกคำานวณ จากงบดุล ส่วนอีกสองประเภทหลัง คำานวณจากงบกำาไรขาดทุน และบาง ครั้งคำานวณจากงบดุลและงบกำาไร ขาดทุน เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ขอยกตัวอย่าง ประกอบการอธิบายอัตราส่วนทางการ เงินซึ่งมีงบดุล และงบกำาไรขาดทุน ตามตารางที่ 1 และตารางที่ 2
  • 24. อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถใน การชำาระหนี้ระยะสัน มีดังต่อไปนี้ ้ 2. Current Ratio (อัตราส่วนทุนหมุนเวียน) คือ อัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน กับหนี้สนหมุนเวียนอัตราส่วนนี้บอกให้ ิ ทราบว่ามีสินทรัพย์หมุนเวียนซึงคาดว่าจะ ่ สามารถเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ทันที เพือใช้สำาหรับจ่ายชำาระหนี้ที่จะถึงกำาหนด ่ นั้นได้เป็นกี่เท่า ถ้าอัตราส่วนนี้สงก็แสดงว่า ู
  • 25. สำาหรับบริษัท เทใจรัก จำากัด อัตราส่วนในปี 2548 เป็นดังนี้ Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สนหมุนเวียน ิ = 2,241 = 2.72 เท่า 824 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 2.1 เท่า แสดงว่าบริษัทมีสนทรัพย์หมุนเวียนที่จะชำาระหนี้ ิ หมุนเวียนเป็น 2.72 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับ อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรมจะเห็นว่าสูงกว่า
  • 26. 2. Quick Ratio หรือ Acid Test Ratio ( อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว) คือ อัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนที่มี สภาพคล่องสูง ๆ(ซึ่งได้แก่ สินทรัพย์หมุนเวียน หักด้วยสินค้าคงเหลือและรายจ่ายล่วงหน้า) กับ หนี้สนหมุนเวียน อัตราส่วนนีบอกให้ทราบว่ามี ิ ้ สินทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ ง่าย ๆ เพื่อใช้สำาหรับชำาระหนี้ที่ถึงกำาหนดแล้ว เป็นกี่เท่า อัตราส่วนนีเหมือน Current Ratio แต่จะเน้น ้ สินทรัพย์หมุนเวียนที่สามารถเปลี่ยนสภาพเป็น
  • 27. Quick Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้าคง เหลือ-รายจ่ายล่วงหน้า หนี้สนหมุนเวียน ิ = 2,241-1,329-21-35 = 1.04 เท่า 824 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 1.10 เท่า แสดงว่าบริษัทมีสินทรัพย์หมุนเวียนที่สามารถ เปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ทันทีงาย ๆ เพื่อชำาระ ่ หนีหมุนเวียนเป็น 1.04 เท่า และสูงกว่า ้
  • 28. • Liquidity of Receivable (การวัดคุณภาพ ของลูกหนี้) **อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover Ratio) คืออัตราส่วนระหว่างยอดขายเชือกับลูกหนีเฉลี่ย ่ ้ จะบอกให้ทราบว่าใน1งวดบัญชีขายเชือได้กี่ครั้ง ่ หรือลูกหนีชำาระหนี้กี่ครั้ง ถ้าอัตราส่วนนีสูง ๆ ้ ้ แสดงว่าในงวดนันบริษัทมีการหมุนเวียนของลูก ้ หนี้ดี นั่นคือ สามารถขายสินค้าและเรียกเก็บหนี้ โดยเฉลี่ยแล้วได้สูงนันแสดงว่า ลูกหนี้มสภาพ ่ ี
  • 29. อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ = ขายเชือ ่ ลูกหนีเฉลี่ย ้ = 3,992 = 5.63 ครั้ง 709.50 ลูกหนี้เฉลี่ย = ลูกหนีต้นงวด + ้ ลูกหนี้ปลายงวด 2 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 8.10 เท่า
  • 30. **ระยะเวลาเก็บหนี้โดยเฉลี่ยต่อครัง ้ (Average Collection Period Ratio) คือ อัตราส่วนนี้จะบอกให้ทราบว่า การหมุนเวียนของลูก หนี้1 ครั้ง เริ่มตั้งแต่ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อจนกระทั่ง ระยะเวลาเก็บยกเก็บหนี้ได้นั้นใช้เวลาเท่าใด านวนวันใน เรี หนี้โดยเฉลี่ยต่อครั้ง = จำ หนึ่งปี อัตราการหมุนเวียนของลูก หนี้ = 365 = 65 วัน 5.63 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 45 เท่า แสดงว่าบริษัทนั้นขายสินค้าเป็นเงินเชื่อและเก็บหนี้ใช้
  • 31. 2. Liquidity of Inventory (การวัดคุณภาพ ของสินค้า) จะบอกให้ทราบว่าบริษัทเก็บสินค้าคงคลังไว้มาก เกินความจำาเป็นหรือไม่ เงินทุนที่ได้ลงทุนใน สินค้านันกว่าจะเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ใช้ ้ เวลาหมุนเวียนกี่วน ถ้าอัตราส่วนนีสูง นันแสดง ั ้ ่ ว่า สินค้าสามารถขายได้คล่อง สินค้าก็มีสภาพ คล่องสูง และถ้าอัตราส่วนนี้ตำ่า ก็แสดงว่ากว่าจะ เปลี่ยนสินค้าเป็นเงินสดได้ต้องใช้เวลานาน สภาพคล่องของสินค้าก็ตำ่า เงินทุนก็จมในสินค้า นานนันเอง ่ อัตราการหมุนเวียนของสินค้า = ต้นทุนขาย
  • 32. = 2.09 ครั้ง อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 3.33 ครั้ง ระยะเวลาในการขายสินค้าโดยเฉลี่ย = จำานวน วันในหนึ่งปี อัตราการหมุนเวียนของ สินค้า = 365 = 175 วัน 2.09 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 110 วัน แสดงว่าบริษัทขายสินค้าคงคลังออกไปจนกระทั่ง เรียกเก็บเงินค่าสินค้านั้นได้ใช้เวลา 175 วัน หรือ
  • 33. อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratios) เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถใน การชำาระหนี้ระยะยาว หรือความเสียงในการ ่ ชำาระหนี้ระยะยาว ถ้าอัตราส่วนนี้สง ความเสี่ยง ู ทางการเงินก็ย่อมจะสูงด้วย 1. อัตราส่วนหนี้สนต่อส่วนของผู้ถอหุ้น ิ ื (Debt to Net Worth Ratio) อัตราส่วนนี้จะบอกให้ทราบว่าเงินทุนที่บริษัทใช้ ในการดำาเนินงานของบริษัทนั้น ได้มาจากแหล่ง ภายนอก คือ เจ้าหนี้ เป็นอัตราส่วนเท่าไรกับเงินทุน ที่ได้จากแหล่งภายใน คือ ส่วนของผู้ถือหุ้น ถ้า อัตราส่วนนีสูง แสดงว่าบริษัทมีความเสียงทางการ ้ ่
  • 34. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนีสิน ้ รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น = 1,455 = 0.81 เท่า 1,796 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 0.80 เท่า แสดงว่าบริษัทใช้เงินทุนจากเจ้าหนี้ในอัตราส่วน 0.81 เท่าของเงินทุนจากส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อ เปรียบเทียบกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรม เดียวกัน อัตราส่วนนีใกล้เคียงกัน แสดงว่าสภาพ ้ หนีสินของบริษัทขณะนี้ใกล้เคียงกับธุรกิจทั่ว ๆ ้ ไป
  • 35. • อัตราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Capitalization Ratio) อัตราส่วนนีจะบอกให้ทราบว่าเงินทุนระยะยาว ้ ทั้งหมดของบริษัทซึ่งประกอบด้วยหนีสินระยะ ้ ยาว กับส่วนของผู้ถือหุ้นนั้น เป็นเงินทุนเฉพาะ ส่วนที่ได้มาจากแหล่งภายนอกของบริษัท คือ เจ้าหนี้ระยะยาวในอัตราส่วนเท่าไร ถ้าอัตราส่วน อัตราส่วนโครงสร้างเงินทุน = มาจากแหล่งเจ้นระยะ นี้สง แสดงว่าเงินทุนส่วนใหญ่ ู หนี้สิ า หนีระยะยาว ชี้ให้เห็นว่าบริษัทมีฐานะความมั่นคง ้ ้ ยาว หนี สินระยะยาว ไม่คอนของผู้ถือหุ้น ทางการเงิน + ส่่ว ยดีนัก = 631 631 +1,796 = 0.26
  • 36. แสดงว่าบริษัทได้ใช้เงินทุนจากหนี้สนระยะยาว ิ มากกว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรมเดียวกัน ความสามารถในการก่อหนีระยะยาวของบริษัท ้ เมือเปรียบเทียบกับธุรกิจทั่ว ๆ ไปจะมีน้อยกว่า ่ เล็กน้อย เพราะอัตราส่วนค่พนข้วม (Debtงกัน • อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรั อ ย์ร างใกล้เคีย to ไม่แตกต่างกันมากนัก Asset) อัตราส่วนนีจะบอกให้ทราบว่าเงินที่ลงทุนใน ้ สินทรัพย์ทั้งหมดนั้นได้มาจากแหล่งของหนี้สน ิ เป็นอัตราส่วนเท่าใด ถ้าอัตราส่วนนี้สง แสดงว่า ู ได้ใช้เงินทุนจากแหล่งของหนีสินมากกว่าแหล่ง ้ ของผู้ถือหุ้นมาก ความเสี่ยงทางการเงินก็จะสูง โอกาสที่จะก่อหนีเพิ่มขึ้นก็จะลดน้อยลง ้
  • 37. = 1,455 = 0.45 3,251 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 0.40 แสดงว่าบริษัทได้ใช้เงินทุนจากหนีสินมาลงทุน ้ ในสินทรัพย์มากกว่าธุรกิจทั่วไปในอุตสาหกรรม เดียวกัน ขณะนีธุรกิจมีภาระหนีสินมาก โอกาสที่ ้ ้ จะก่อหนี้เพิมอีกก็จะลดน้อยลง เนื่องจากบริษัท ่ มีความเสี่ยงทางการเงินสูงกว่าธุรกิจทั่ว ๆไป ใน อุตสาหกรรมเดียวกันนั่นเอง
  • 38. ตราส่วนวัดความสามารถในการมีกำาไร (Profitability Ratio เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถในการทำา กำาไรหรือการหารายได้ของกิจการ ทั้งที่เกิดจากการ ลงทุนในสินทรัพย์และส่วนของผู้ถือหุ้น แบ่งออกเป็น 1. การวัดกำาไรเทียบกับยอดขาย (Profitability in Relation to Sales) คือ การวัดความสามารถในการหากำาไรจาก อัตราส่วนที่เกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบดูความ สัมพันธ์ของกำาไรต่าง ๆ กับยอดขาย เป็นอัตราส่วนที่ คำานวณจากรายการในงบกำาไรขาดทุน 2. การวัดกำาไรเทียบกับการลงทุน(Profitability in Relation on Assets)
  • 39. ไรเทียบกับยอดขาย (Profitability in Relation to Sales) ไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) = กำาไรขั้นต้น x 100 ขายสุทธิ = 1,312 x 100 3,992 = 32.9 % นเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 23.8 % บริษัทมีการบริหารงานด้านราคาและการจัดซื้อสินค้ามาขาย ห้อัตราส่วนนี้สงกว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไปในอุตสาหกรรมเดียวกัน ู
  • 40. ไรสุทธิ (Net Profit Margin) ห้ทราบว่าบริษัทบริหารงานมีประสิทธิภาพเพียงใด และบริษัทส ห้บรรลุเป้าหมายของบริษัทได้เพียงใด อัตราส่วนนี้สูงแสดงว่า ะเพิ่มความมั่นคงให้กับบริษัทด้วย ส่วนกำาไรสุทธิ = กำาไรหลังหักภาษี x 100 ขายสุทธิ = 150 x 100 3,992 = 3.76 % นเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 2.70 %
  • 41. ริษัทมีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุเป้าหมายได้ดีกว่าธุร กรรมเดียวกัน จึงได้อัตรากำาไรสุทธิสงกว่า ู าไรเทียบกับการลงทุน (Profitability in Relation to Investment) ตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์ (Rate of Return on ROA = กำาไรสุทธิหลังหักภาษี x 100 สินทรัพย์ที่มีตัวตนทั้งสิน ้ = 150 x 100 3,046 = 4.92 %
  • 42. ผลตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์นน อาจจะเป็นการวัดท ั้ เท่านัน นันคือ ถ้าหาก ROA ของสองบริษัทเท่ากันก็จะหมายค ้ ่ สองบริษัทมีความสามารถเท่ากัน าหากเป็นการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการหากำาไร ROA เพียงอย่างเดียว แต่ควรจะวิเคราะห์อตราการหมุนเวียนข ั กับอัตราส่วนกำาไรสุทธิ ตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ (Rate of Return on Comm ROE = กำาไรส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ x 100 ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ
  • 43. ตุ วนของผู้ถือหุ้นสามัญ = กำาไรสุทธิหลังหักภาษี- เงินปันผ ถือหุ้นสามัญ = ทุนหุนสามัญ + ส่วนเกินมูลค่าหุนสามัญ + กำาไรส ้ ้
  • 44. อัตราส่วนวัดความสามารถการชำาระหนี้ (Coverage Ratios) เป็นอัตราส่วนที่ใช้ในการวัดความสามารถในการจ่าย ชำาระค่าใช้จ่ายประจำาทางการเงิน เช่น ดอกเบียจ่าย ้ เงินปันผล เงินกองทุนจม เป็นต้น ว่ามีความสามารถ มากน้อยเพียงใด เพื่อแสดงถึงการให้ความคุ้มครอง แก่เจ้าหนีในอันที่จะได้รับชำาระค่าดอกเบียโดยยังไม่ ้ ้ คำานึงถึงเงินต้น โดยทั่วไปบริษัทจะต้องดำาเนินงาน ให้คุ้มกับการจ่ายตามภาระผูกพันและรายจ่ายต่าง ๆ และจะจ่ายจากกำาไรสุทธิที่บริษัทสามารถหามาได้ คือ บริษัทจะต้องพยายามหากำาไรให้มากพอเพือจ่าย ่ รายจ่ายต่าง ๆ รวมทั้งจ่ายชำาระค่าใช้จ่ายประจำา ทางการเงินด้วย ยิ่งมีกำาไรมากก็มีความสามารถจ่าย
  • 45. ** Interest Coverage Ratio = กำาไรก่อนหัก ดอกเบียและภาษี ้ ดอกเบี้ยจ่าย = EBIT I = 399 85 = 4.69 อัตราส่วนเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 5
  • 46. แสดงว่าบริษัทสามารถทำากำาไรได้เป็น 4.69 เท่า ของภาระดอกเบียจ่ายบุคคลภายนอกที่ให้บริษัทใช้ ้ เงินทุนก็พอใจ เพราะจะได้รับผลตอบแทนคือ ดอกเบี้ยจ่ายเต็มที่ และอาจจะพอใจที่จะให้เงินทุน ใช้เพิ่มขึ้นอีกก็ได้ แต่การบริหารงานของบริษัทใน ด้านการใช้เงินทุนจากภายนอกเพื่อทำากำาไรก็มี ประสิทธิภาพตำ่ากว่าธุรกิจทั่ว ๆ ไป ในอุตสาหกรรม เดียวกัน
  • 47. Common Size Balance Sheets: หารรายการต่างๆในด้านสินทรัพย์ด้วย สินทรัพย์รวม สินทรัพย์ 2001 2002 Ind. เงินสด 0.3% 0.4% 0.3% หลักทรัพย์ 0.0% 2.0% 0.3% ระยะสั้ ้น ลูกหนี 22.1% 25.1% 22.4% สินค้าคงคลัง 44.9% 49.1% 41.2% รวมส/ท 67.2% 76.6% 64.1% หมุทรัพย์ถาวร สิน นเวียน 32.8% 23.4% 35.9% สินทรัพย์รวม 100.0% 100.0% 100.0%
  • 48. หารรายการต่างๆทางด้านขวาของ งบดุลด้วยหนี้สินและส่วนของ เจ้าของ 2001 2002 Ind. เจ้าหนี้ 18.3% 12.5% 11.9% ตัวเงินจ่าย ๋ 25.1% 17.2% 2.4% ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 17.1% 11.7% 9.5% รวมหนี้สิน 60.5% 41.3% 23.7% หมุนินระยะยาว หนี้สเวียน 34.9% 14.3% 26.3% รวมส่วนของ 4.6% 44.4% 50.0% เจ้าของ ินและส่วน รวมหนี้ส 100.0% 100.0% 100.0% ของเจ้าของ
  • 49. การวิเคราะห์ Common Size ของ งบดุล • บริษัทมีส่วนของสินค้าคงคลัง (49.1%) สูงกว่าภาค อุตสาหกรรม(41.2%) • บริษัทมีส่วนของผูถือหุ้นค่อนข้าง ้ ตำ่ากว่าอุตสาหกรรม (แสดงว่า บริษัทมีหนี้สินมากกว่าค่าเฉลี่ย อุตสาหกรรม)
  • 50. Common Size ของงบกำาไร ขาดทุน: หารรายการต่างๆด้วยยอดขาย 2001 2002 Ind. ยอดขาย 100.0% 100.0% 100.0% ต้นทุนขาย 98.2% 86.7% 84.5% ค่าใช้จายอื่น ่ 11.7% 4.4% 4.4% ค่าเสื่อมราคา 2.0% 1.7% 4.0% กำาไรก่อน -11.8% 7.1% 7.1% ดอกเบี้ยและ ภาษี ดอกเบี้ยจ่าย 3.0% 1.1% 1.1% กำาไรก่อนภาษี -14.9% 6.0% 5.9% ภาษี -5.9% 2.4% 2.4% กำาไรสุทธิ -8.9% 3.6% 3.6%
  • 51. การวิเคราะห์ Common Size ของงบ กำาไรขาดทุน • บริษัทมีตนทุนขาย (86.7) สูงกว่า ้ ภาคอุตสาหกรรม (84.5) แต่มีคา ่ เสือมราคาตำ่ากว่าภาค ่ อุตสาหกรรม ซึงทำาให้บริษัทมี ่ สัดส่วนของกำาไรก่อนดอกเบีย ้ และภาษี (7.1) เท่ากับภาค อุตสาหกรรม
  • 52. การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลง : หา % ของการ เปลี่ยนแปลงจากปีที่ 1 (2000) งบกำาไรขาดทุน 2000 2001 2002 ขาย 0.0% 70.0% 105.0% ต้นทุนขาย 0.0% 100.0% 113.0% ค่าใช้จายอื่น ่ 0.0% 100.0% -8.0% ค่าเสื่อมราคา 0.0% 518.8% 534.9% กำาไรก่อน 0.0% -430.3% 140.4% ดอกเบี้ยและ จ่าย 0.0% 181.6% 28.0% ภาษี อนภาษี กำาไรก่ 0.0% -691.1% 188.3% ภาษี 0.0% -691.1% 188.3% กำาไรสุทธิ 0.0% -691.1% 188.3%
  • 53. การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลงงบกำาไรขาดทุน • ยอดขายในปี 2002 สูงขึนกว่าใน ้ ปี 2000 ถึง 105% และกำาไรสุทธิ สูงขึนกว่าปี 2000 188% ้ • บริษัทมีผลกำาไรมากขึน ้
  • 54. เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงใน งบดุล สินทรัพย์ 2000 2001 2002E เงินสด 0.0% -19.1% 55.6% หลักทรัพย์ 0.0% -100.0% 47.4% ระยะสั้ ้น ลูกหนี 0.0% 80.0% 150.0% สินค้าคงคลัง 0.0% 80.0% 140.0% รวมสินทรัพย์ 0.0% 71.4% 138.4% หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร 0.0% 172.6% 137.0% สินทรัพย์รวม 0.0% 95.2% 138.1%
  • 55. หนี้สิน+ทุน 2000 2001 2002E เจ้าหนี้การค้า 0.0% 260.0% 200.0% ตั๋วเงินจ่าย 0.0% 260.0% 200.0% ค่าใช้จ่ายค้าง 0.0% 260.0% 200.0% จ่าย ิน หนี้ส 0.0% 260.0% 200.0% หมุนินระยะ หนี้สเวียน 0.0% 209.2% 54.6% ยาว ส่วนของผู้ถือ 0.0% -80.0% 133.9% หุ้น รวมหนี้สินและ 0.0% 95.2% 138.1% ทุน
  • 56. การวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ เปลี่ยนแปลงในงบดุล • สินทรัพย์รวมโตขึนในอัตรา ้ 138% ในขณะที่ยอดขายโตขึนใน ้ อัตราแค่ 105% แสดงว่าบริษัท อาจมีปัญหาในการบริหาร สินทรัพย์
  • 57. สัปดาห์ที่ 4 การวางแผนทางการเงิน • ความหมายของการวางแผน ทางการเงิน • การจัดทำางบประมาณเงินสด
  • 58. งบประมาณเงินสด (Cash Budget) หมายถึง งบที่จัดทำาขึนโดยการพยากรณ์ ้ กระแสเงินสดในอนาคต ในช่วงระยะสั้น ๆ (ภายใน 1 ปี) ว่ามีกระแสเงินสดรับเข้ามาจาก ทางใดบ้างและจ่ายออกไปทางใดบ้าง โดย ทำาการพยากรณ์ทุกเดือนในช่วงระยะเวลานั้น ทำาให้ทราบว่าในแต่ละเดือนจะมีเงินสดเพียง พอกับการใช้จ่ายหรือไม่ ถ้าเดือนใดที่มีเงินสด น้อยเกินไป ผู้บริหารการเงินจะได้วางแผน จัดหาเงินเพิ่ม และในกรณีที่มีเงินส่วนเกินมาก
  • 59. ขั้นตอนการจัดทำางบประมาณ เงินสด การจัดทำางบประมาณเงินสดมี 4 ขั้น ตอน ดังนี้ 1. การกำาหนดปัจจัยหลักในการดำาเนิน ธุรกิจ (Key Factor) และการพยากรณ์ นั่นคือ การพยากรณ์ยอดขายสินค้าและบริการ เช่น **การพยากรณ์โดยใช้วธีทางสถิติ ิ **การพยากรณ์โดยใช้พนักงานขายเป็นผู้ พยากรณ์ เนื่องจากเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับลูกค้าเป็น
  • 60. **การพยากรณ์โดยใช้เครื่องมือของนัก เศรษฐศาสตร์เป็นผู้กำาหนดนโยบาย 2. การจัดทำางบประมาณเงินสดรับ เข้า 2.1 เงินสดรับจากการดำาเนินงานหรือจาก การขายสินค้า ได้แก่ - เงินสดรับจากการขายสินค้าเป็น เงินสดในแต่ละเดือน - เงินสดรับในเดือนนี้ที่เกิดจากการขาย เชือในเดือนที่ผ่าน ๆ มา ่
  • 61. แบบฟอร์มการคำานวณเงินสดรับ เดือ เดือ เดือ เงินสดรับจากการดำาเนินงาน : น... น... น... - จากการขายสินค้าเป็นเงินสด - รับชำาระหนีจากลูกหนี้ที่เกิดจาก ้ xxx xxx xxx การขายเชือในเดือนก่อน ่ เงินสดรับจากแหล่งอื่น : xxx xxx xxx เงินสดรับทั้งสิน ้ xxx xxx xxx xxx xxx xxx
  • 62. 3. การจัดทำางบประมาณเงินสดจ่าย 3.1 เงินสดจ่ายซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบและค่า ใช้จ่ายในการผลิตสินค้า ได้แก่ - จ่ายซือสินค้าเป็นเงินสดในแต่ละ ้ เดือน - จ่ายชำาระหนี้ที่เกิดจากการซือสินค้า ้ ในเดือนที่ผ่าน ๆ มา - จ่ายค่าแรงงานและค่าใช้จ่ายในการ ผลิต 3.2 เงินสดจ่ายไปในแหล่งอื่น ได้แก่
  • 63. แบบฟอร์มการคำานวณเงินสดจ่าย เดือ เดือ เดือ เงินสดจ่ายจากการการซื้อ : น... น... น... - จ่ายจากการสินค้าเป็นเงินสด - จ่ายชำาระหนีเจ้าหนี้ที่เกิดจากการ xxx ้ xxx xxx ซื้อเชื่อ xxx xxx xxx เงินสดจ่ายไปในแหล่งอื่น : xxx xxx xxx เงินสดจ่ายทั้งสิน ้ xxx xxx xxx
  • 64. 4. การจัดทำางบประมาณเงินสด โดย 4.1 นำาเงินสดรับเข้าหักเงินสดจ่าย เป็น เงินสดสุทธิ 4.2 นำาเงินสดสุทธิบวกด้วยเงินสดต้นงวด เป็นเงินสดปลายงวดคงเหลือ 4.3 เปรียบเทียบเงินสดคงเหลือกับเงินสด ขั้นตำ่าที่ต้องดำารงไว้ เพือตัดสินใจทำาการกู้ยืมเพิ่ม ่ หรือนำาเงินสดส่วนเกินไปชำาระหนี้ เนื่องจากว่าใน แต่ละเดือนจะต้องมีเงินไม่น้อยกว่าเงินขั้นตำ่าที่
  • 65. ** ถ้าเงินสดคงเหลือ สูงกว่า เงินสดขั้นตำ่า ควรเตรียมหาทางลดต้นทุน เช่น จ่ายชำาระหนี้ หรือหารายได้ระยะสั้น ๆ โดยการลงทุนระยะสัน ้ ๆ เป็นต้น
  • 66. แบบฟอร์มการจัดทำางบประมาณเงินสด บริษัท AAA จำากัด งบประมาณเงินสด สำาหรับงวด...เดือน...25xx เดือน เดือน เดือน ยอดขาย ... ... ... xxx xxx xxx เงินสดรับ xxx xxx xxx หัก เงินสดจ่าย xxx xxx xxx เงินสดสุทธิ xxx xxx xxx บวก เงินสดต้นงวด xxx xxx xxx เงินสดคงเหลือ xxx xxx xxx กู้ยืม (ชำาระหนี) ้ xxx xxx xxx เงินสดปลายงวด (ยกไปเป็นเงินสดต้น
  • 67. ตัวอย่าง ให้จดทำางบประมาณเงินสดสำาหรับงวด 3 เดือน ั ตั้งแต่กรกฎาคม ถึงกันยายน 2549 ของบริษัท นำ้าทิพย์ จำากัด จากข้อมูลต่อไปนี้ มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ยอดขาย 300,000 400,000 350,000 300,000 ยอดซื้อ 300,000 350,000 310,000 320,000 - การขายเป็นการขายเงินสด 10% ขายเชื่อ 90 % - ได้รับชำาระหนีจากการขายเชื่อในเดือนถัดไป ้ ทั้งหมด - จ่ายชำาระค่าซื้อสินค้าในเดือนถัดไปทังหมด ้
  • 68. - ต้องการเงินสดขันตำ่าเดือนละ 60,000 บาท ้ - จ่ายเงินสดซื้อสินทรัพย์ 50,000 บาท ในเดือนสิงหาค - ธนาคารให้กู้ยืมเงินตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป อัตราดอก ร้อยละ 12 ต่อปี - มีการกูยืมเงินจากธนาคารในวันต้นเดือนกรกฎาคม แล ้ สิงหาคมเดือนละ 10,000 บาท - ชำาระหนี้เงินกูยืมธนาคารพร้อมดอกเบี้ยในวันสิ้นเดือนกัน ้
  • 69. วิธีทำา บริษัท นำ้าทิพย์ จำากัด งบประมาณเงินสด สำาหรับงวด 3 เดือน ตังแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน ้ 2549 กรกฎา สิงหา กันยา ยอดขาย คม คม ยน เงินสดรับ: 400,0 350, 300,0 -จากการขายสด10% 00 000 00 -เก็บเงินจากการขายเชื่อในเดือน ก่อน 90% 40,00 35,0 30,00 0 00 0 เงินสดรับ 270,0 360, 315,0 เงินสดจ่าย : 00 000 00 -จ่ายชำาระค่าซื้อสินค้าในเดือนก่อน 310,0 395, 345,0 เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ 00 000 00
  • 70. กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน เงินสดสุทธิ 10,000 (5,000) 35,000 บวก เงินสดต้นงวด 40,000 60,000 65,000 เงินสดคงเหลือ 50,000 55,000 100,00 บวก เงินกู้ (จ่ายชำาระเงิน 10,000 10,000 0 กู) ้ 60,000 65,000 (20,500 เงินสดคงเหลือปลาย ) งวด 79,500
  • 71. กรณีศึกษา บริษัท พระจันทร์ จำากัด ขายสินค้าทังเงินสดและ ้ เงินเชื่อ มีนโยบายขายเป็นเงินสด 20% ของยอดขายทั้ง สิ้น ยอดขายเชื่อ 80% ของยอดขายทั้งสิ้น ยอดขายเชื่อ คาดว่าจะเรียกเก็บหนี้ได้ครึงหนึ่งในหนึงเดือนที่ถัดไปจาก ่ ่ วันขาย ส่วนอีกครึ่งหนึงที่เหลือเก็บได้อก 2 เดือนถัดไป ่ ี สำาหรับนโยบายการซื้อบริษัทจะซื้อสินค้าเป็นเงินสด 10% ส่วนที่เหลืออีก 90% เป็นเงินเชื่อ การชำาระหนี้สำาหรับการ หน่วย : บาท ซื้อเชื่อนัน ยอดซื้อทั้งสิ้น 40% จะชำาระให้หนึ่งเดือนถัด ้ ไปนับจากวันทีซื้อพ.ย. ่เหลืออีม.ค. ก.พ. มี.ค. ้อทัง ่ ส่วนที ธ.ค. ก 50% ของยอดซื เม.ย. ้ ยอดขาย สิ้นจะชำาระอีกสองเดือนถัด160 180 200 130 150 150 ไป ยอดซื้อ 80 80 90 100 110 130
  • 72. สำาหรับรายรับอืน ๆ เช่น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล เดือนละ ่ 5,000 บาท สำาหรับรายจ่ายอื่น ๆ มีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ - จ่ายเงินเดือนและค่าแรงเดือนละ 20,000 บาท บวก 10% ของยอดขายเดือนก่อน - จ่ายค่าเช่าเดือนละ 16,000 บาท - จ่ายเงินสดปันผล 8,000 บาทในเดือนมกราคม และเมษายน - จ่ายชำาระภาษีการค้าเดือนมกราคม และเมษายน เดือนละ 15,000 บาท - จ่ายชำาระเงินต้น 30,000 บาทและดอกเบี้ยเงินกู้
  • 74. วัตถุประสงค์ • มาตรฐานสินเชือ ่ • เงือนไขการให้สินเชือ ่ ่ • นโยบายการเก็บเงิน
  • 75. ประเภทของนโยบายการขาย • นโยบายการขายสด • นโยบายการขาย เชื่อ • นโยบายการขายทั้ง เงินสด และขาย เชื่อ
  • 76. การจัดการลูกหนี้ • เนื่องจากสภาพการแข่งขันสูง จึงขาย สดอย่างเดียวไม่ได้ จึงต้องมีการขาย เชือ หรือให้เครดิตลูกค้า ่ • การขายเชือก่อให้เกิดลูกหนี้ ่ • การขายเชือมากๆ ทำาให้บริษัทขาด ่ เงินสดหมุนเวียน จึงจำาเป็นต้องหา แหล่งเงินทุนทางอื่น เช่นการกู้ยืม จึง ถือว่าการขายเชือทำาให้เกิดต้นทุนหรื ่ ค่าใช้จ่ายทางการเงินกับบริษท เรียก ั ว่า “ต้นทุนเงินลงทุนบัญชีลูกหนี้”
  • 77. นโยบายสินเชื่อ • มาตรฐานสินเชื่อในการคัดเลือกลูกหนี้ • ระยะเวลาชำาระหนี้ • นโยบายการทวงเก็บหนี้ • ส่วนลดเงินสด ในการจูงใจให้จ่ายหนี้ เร็วขึน ้
  • 78. การกำาหนดมาตรฐานการให้สินเชื่อ ลูกค้า • พิจารณาจาก 5C’s – Characteristic: ลักษณะนิสัย – Capacity: ความสามารถในการ ชำาระหนี้ – Capital: เงินทุน – Collateral: หลักประกัน – Condition: เงือนไข ่
  • 79. ลูกหนี้ (Account Receivable) = ? • ปริมาณของลูกหนี้ขนอยู่กับ ึ้ – ปริมาณการขายเชือ ่ – ความถีในการเก็บหนี้ (ระยะเวลาเก็บหนี้ ่ โดยเฉลี่ย or DSO) • สูตรการคำานวณปริมาณของลูกหนี้ DSO = ลูกหนี้ / ยอดขายเชือต่อวัน ่ ดังนั้น ลูกหนี้ = ยอดขายเชือต่อวัน * DSO ่
  • 80. นโยบายการขายเชื่อ • ข้อดี: – กำาไรส่วนเกินเพิมขึ้น ่ กำาไรส่วนเกินต่อหน่วย (บาท) = ราคาขายต่อหน่วย (บาท)– ต้นทุนผันแป ต่อหน่วย (บาท) กำาไรส่วนเกินทั้งหมด (บาท) = กำาไรส่วนเกินต่อหน่วย * จำานวนหน่วยท ขายได้ • ข้อเสีย:
  • 81. ค่าใช้จ่ายในการขายเชื่อ • หนี้เสีย • ค่าใช้จ่ายในการเก็บหนี้ • ส่วนลดการค้า • ต้นทุนเงินทุนบัญชีลูกหนี้
  • 82. ส่วนลดการค้า • ตัวอย่าง: 2/15 net 60 • ส่วนลดการค้า = อัตราส่วนลด * ยอดขายเชื่อ * จำานวน % ลูกค้าที่ใช้ส่วนลด
  • 83. ตัวอย่าง กิจการขายสินค้า หน่วยละ 20 บาท มีตนทุนผันแปรหน่วยละ 16 บาท ขาย ้ สินค้าปีละ 3,000,000 บาท กำาหนดให้ ลูกค้าชำาระหนี้ 45 วัน โดยไม่มสวนลด ี ่ ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลีย 60 วัน ถ้า ่ กิจการต้องการให้ลกหนี้ชำาระหนี้เร็ว ู ขึ้นโดยเสนอเงื่อนไขการชำาระเงินเป็น 2/10, n/45 คาดว่าลูกหนี้ประมาณ 50% จะชำาระหนี้ภายใน 10 วัน ทำาให้ระยะ
  • 84. ลูกหนี้ = ยอดขายเชื่อต่อวัน * DS = 3,000,000 x 30 36 = 250,000 0 รคำานวณผลประโยชน์ทได้รบและค่าใช้จ่ายทีเก ี่ ั ่ ผลตอบแทนจากการนำาเงินที่ได้จากลูกหนี้ไปลง = 250,000 x 20% = 50,000 บาท
  • 85. วนลดการค้า = อัตราส่วนลด x ยอดขายเชือ x จำานวน%ลูกค้าท ่ = 2% x 3,000,000 x 50% = 30,000 บาท ให้ส่วนลดการค้าทำาให้กำาไรเพิ่มขึ้น 20,000 บา น กิจการควรนำานโยบายใหม่มาใช้
  • 86. ต้นทุนของเงินทุนบัญชีลูกหนี้ ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท) ู = ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน เงินทุน (%) ต้นทุนผันแปร % = ต้นทุนผันแปร (บาท) / ราคาขาย (บาท) ต้นทุนเงินทุน % = ต้นทุนการกู้ยืมเงิน
  • 87. ตัวอย่าง กิจการขายสินค้า หน่วยละ 20 บาท มีตนทุนผันแปรหน่วยละ 16 บาท ขาย ้ สินค้าปีละ 2,400,000 บาท เงือนไขการ ่ ชำาระเงินเป็น n/30 อัตราการ หมุนเวียนของลูกหนี้ 12 ครัง ถ้า ้ กิจการลดมาตรฐานการให้สินเชือลง ่ คาดว่าจะทำาให้ยอดขายเพิ่มเป็น 3,000,000 บาท แต่ทำาให้อัตราการ หมุนเวียนของลูกหนี้ลดลงเหลือ 6 ครั้ง
  • 88. รคำานวณผลประโยชน์ทได้รับและค่าใช้จายที่เก ี่ ่ ยบายเดิม ลูกหนี(2,400,000) ้ = 200,00 12 ยอดขาย = 2,400,000 กำาไรส่วนเกิน(2,400,000x4) = 480,00 20 ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท) ู = ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน เงินทุน (%) = 200,0002016x100 x 18% x
  • 89. รคำานวณผลประโยชน์ทได้รับและค่าใช้จายที่เก ี่ ่ ยบายใหม่ ลูกหนี(3,000,000) ้ = 500,00 6 ยอดขาย = 3,000,000 กำาไรส่วนเกิน(3,000,000x4) = 600,00 20 ต้นทุนเงินทุนบัญชีลกหนี้ (บาท) ู = ลูกหนี้ * ต้นทุนผันแปร (%) * ต้นทุน เงินทุน (%) = 500,0002016x100 x 18% x
  • 90. รลดมาตรฐานสินเชือทำาให้ ่ กำาไรเพิ่มขึ้น(600,000 – 480,000) = 120 ต้นทุนเพิ่มขึน(72,000 – 28,800) = ้ 42 กำาไรเพิ่มขึ้น > ต้นทุนเพิ่มขึ้น = 76,800 นั้น กิจการควรนำานโยบายใหม่มาใช้
  • 91. การพิจารณาเปลี่ยนนโยบายสิน •ควรเปลี่ยนในกรณีที่: เชื่อ •ผลดี > ผลเสีย หรือ •กำาไรส่วนเกินทีเพิ่มขึ้น ่ (Marginal Benefit) > ค่าใช้ จ่ายที่เพิ่มขึ้น (Marginal Cost)
  • 93. วัตถุประสงค์ • ความสำาคัญและวัตถุประสงค์ ของการบริหารสินค้า • ประเภทของสินค้าคงเหลือ • ค่าใช้จ่ายทีเกียวข้องกับสินค้า ่ ่ • เทคนิคทีใช้ในการบริหารสินค้า ่ คงเหลือ
  • 94. ความหมายของสินค้าคงเหลือ • Inventory หมายถึง วัตถุดิบที่ เก็บไว้เพื่อการใช้ในการผลิต และในการจำาหน่าย หรือสินค้า สำาเร็จรูปทีมีไว้เพื่อจำาหน่าย ่ ตลอดจนวัตถุดิบที่อยู่ในระหว่าง การผลิต แต่ยงผลิตไม่เสร็จเป็น ั สินค้าสำาเร็จรูป
  • 95. วัตถุประสงค์การบริหารสินค้าคง เหลือ • ทำาให้ธุรกิจมีสภาพคล่อง สินค้าคงเหลือ เป็นสินทรัพย์หมุนเวียน ซึ่งธุรกิจสามารถ เปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่าย หากธุรกิจมีวธีิ การบริหารสินค้าคงเหลืออย่างมี ประสิทธิภาพ • เพื่อทำาให้ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการมีสินค้า คงคลังตำ่าสุด เนื่องจากการมีสินค้าคงคลัง จะเกิดต้นทุนในตัวสินค้า ต้นทุนการสั่งซื้อ และต้นทุนการเก็บรักษา ดังนั้นการสั่งซื้อ แต่ละครั้งต้องกำาหนดปริมาณการสั่งซื้อ ให้เหมาะสมเพื่อให้ต้นทุนรวมทั้งหมดตำ่า ที่สุด
  • 96. ประเภทของสินค้าคงเหลือ • วัตถุดบ (Raw Material) หมายถึง วัตถุดบ ิ ิ ที่ซื้อมาเพื่อนำามาใช้ในการผลิตเป็นสินค้า สำาเร็จรูปและนำาออกจำาหน่าย เช่น วัตถุดบ ิ ธรรมชาติ เช่น ผ้า ไม้ หรืออาจเป็นสินค้า สำาเร็จรูป เช่น ชินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ้ เป็นต้น • วัสดุคงเหลือ (Supplies) หมายถึง ธุรกิจที่ ผลิตสินค้าจะมีเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ดังนั้นชินส่วนอะไหล่สำาหรับการซ่อมบำารุง ้ เครืองจักรจะมีเหลืออยู่คอวัสดุคงเหลือ ่ ื • งานระหว่างทำา (Work in Process) หมายถึง
  • 97. ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน สินค้าคงเหลือ • ยอดขาย และความต้องการของลูกค้า ลูกค้ามีความต้องการในสินค้า สูง ระดับสินค้าคงเหลือจะสูงตามไป ด้วย กษณะของผลิตภัณฑ์ของสินค้า มีความคงทนมากน้อยแค่ไหน สินค้าทีมีความคงทนตำ่า การ ่ เก็บรักษา ดูแลยาก การลงทุนในสินค้าคง เหลือจะตำ่า เช่น วัตถุดิบทางการเกษตร เป็นต้น
  • 98. ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน สินค้าคงเหลือ • ต้นทุนของการมีสินค้าคงเหลือ ถ้ากิจการต้องแบก รับภาระต้นทุน ในการเก็บรักษาเป็น จำานวนเงินสูง ไม่ควรมีสินค้าคง เหลือมากเกินไป ะยะเวลาในการสั่งซื้อ หรือระยะเวลาในการผลิต ถ้าการสั่งซื้อสินค้ามีระยะเวลาใน การสั่งซื้อ (Lead Time) ยาวนาน ควรมีสินค้าคงเหลือใน ปริมาณมาก
  • 99. ปัจจัยที่กำาหนดระดับการลงทุนใน สินค้าคงเหลือ • อายุของสินค้า สินค้าที่มอายุการใช้งานนาน ความต้องการของลูกค้า ี จะตำ่าไม่ควรลงทุนในสินค้าคงเหลือในปริมาณมาก ฤดูกาลสำาหรับสินค้ากาลควรลงทุนในปริมาณมา สินค้าเกษตร เมืออยู่นอกฤดู ่ เกษตรกรรม จากเป็นสินค้าที่หายาก แต่เมืออยู่ในฤดูกาลไม่จำาเป็นต้อ ่ สูงเนื่องจากหาได้ง่าย
  • 100. การควบคุมสินค้าคงเหลือ • ปริมาณการสังซือสินค้า ่ ้ ทีประหยัดทีสุดต่อครั้ง ่ ่ • ต้นทุนรวมในการสั่งซือที่ ้ ประหยัดทีสด่ ุ • ระยะเวลาในการสังซือ ่ ้ • จุดสังซื้อใหม่ ่ • สินค้าคงเหลือเพื่อความ ปลอดภัย • การควบคุมสินค้าคงคลัง
  • 101. ปริมาณการสังซื้อทีประหยัดทีสุดต่อครัง ่ ่ ่ ้ (Economic order Quantity : EOQ) หมายถึง จำานวนสินค้าคงเหลือที่ กิจการจะทำาการสั่งซื้อในแต่ละ ครั้งแล้วทำาให้เกิดต้นทุนรวมตำ่า ที่สุด ต้นทุนรวมของการมีสินค้าคงเหลือ • ต้นทุนการสั่งซื้อ(Ordering Cost) : ค่าใช้จ่ายในการจัด เตรียมเอกสาร ค่าขนส่ง เป็นต้น O = O x S
  • 102. ดังนั้น TC = O x S+ C x Q Q 2 Q = ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้ง S = จำานวนสินค้าทีคาดว่าจะขาย ่ ได้ตลอดช่วงเวลาหนึ่ง C = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา สินค้าต่อหน่วยต่อช่วงเวลาหนึ่ง O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อครั้ง
  • 103. ตัวอย่าง บริษทแห่งหนึ่งคาดว่าจะขาย ั สินค้าได้12,500 ชิ้น ต่อปี ค่าใช้จ่ายใน 12,500 การเก็บรักษาชิ้นละ 20 บาทต่อปี ค่า ใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ 50 บาท - ถ้าบริษัทสั่งซื้อสินค้าครั้งละ 100 ชิ้น - ถ้าบริษัทสั่งซื้อสินค้าครั้งละ 500 ชิ้น วิธีทำา Q = 100; TC = O x S + C x Q Q
  • 104. Q = 500; TC = O x S+ C x Q Q 2 = 50x12,500 + 20x500 500 2 = 1,250 + 5,000 = 6,250 บาท จากตัวอย่างจะเห็นว่า ถ้าสั่งซื้อครั้ง ละน้อย ๆ (Q น้อย) ค่าเก็บรักษาจะถูก แต่ค่าสั่งซื้อจะแพง
  • 105. Economic order Quantity : EOQ ต้นทุนรวมในการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด คือ ต้นทุนรวมในการเก็บรักษา = ต้นทุน รวมในการสั่งซื้อ ดังนั้นจากคำากล่าวข้างต้นสามารถ คำานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ ประหยัดได้ดังนี้ C x Q = O x S 2 Q CQ2 = 2 (O x S) Q2 = 2(O x S)
  • 106. ตัวอย่างข้อ 7 บริษัท มารวย จำากัด D = 160,000 x 0.5 = 80,000 หลา/ปี O = 400 บาทต่อครั้ง C = 4 บาทต่อปี EOQ = √2(O x D) C EOQ = √2(400 x 80,000) 4 EOQ = 4,000 หลาต่อครัง ้
  • 107. ต้นทุนรวมที่ประหยัด ต้นทุนรวม = ต้นทุนการเก็บรักษา + ต้นทุนการสั่งซื้อ TC(EOQ) = CxQ + O x D 2 Q = 4 x 4,000 + 400 x 80000 2 4,000 = 8,000 + 8,000
  • 108. ให้นักศึกษาคำานวณหาปริมาณการสังซื้อ ่ หมวกที่ประหยัดต่อครั้ง (ข้อ 5) D = 1,000,000 / 200 = 5,000 ใบ ต่อ ปี O = 500 บาท C = 10 บาท / 6 เดือน นั่นคือ 20 บาทต่อปี Q = √2(O x D) C = √ 2 (500 x 5,000) 20
  • 109. ให้นักศึกษาคำานวณหา ต้นทุนรวมใน การสังซื้อทีประหยัด ข้อ 5 ่ ่ TC(EOQ) = CxQ + O x D 2 Q = 20 x 500 + 500 x 5,000 2 500 = 5,000 + 5,000 = 10,000 บาท ถ้ากิจการซื้อสินค้า ณ ระดับที่ประหยัดจะเกิด
  • 110. ระยะเวลาในการสั่งซือ ้ ระยะห่างของจำานวนวันในการสั่งซื้อ แต่ละครั้ง ข้อ 7 บริษัท มารวย 2. คำานวณหาจำานวนครั้งในการสั่งซื้อ = 80,000 / 4,000 = 20 ครั้ง ต่อปี 4. คำานวณหาระยะเวลาในการสั่งซื้อ = 360 = 18 วัน 20 ให้นักศึกษาคำานวณหาระยะเวลาใน การสั่งซื้อหมวก (ข้อ 5)
  • 111. ระยะเวลาการสั่งซื้อกรณีมีระยะเวลา ในการรอสินค้า Lead Time หมายถึง ระยะเวลาใน การรอคอยสินค้า จากตัวอย่างข้อ 7 ถ้าการสั่งซื้อ หนังแท้แต่ละครังมีระยะเวลาใน ้ การรอคอยสินค้านาน 3 วัน จง คำานวณหาระยะเวลาสั่งซื้อ ระยะเวลาการสั่งซื้อ = 18 - 3 = 15 วัน กิจการควรสั่งซื้อสินค้าหลังจากสั่ง ซื้อครั้งทีแล้ว 15 วัน ่
  • 112. จุดสั่งซือใหม่ (Reorder Point) ้ การคำานวณหาระดับสินค้าคงเหลือที่เหลือ ตำ่าสุดที่กจการจะต้องทำาการสั่งซื้อ ิ ครังต่อไปตัวอย่างข้อ 7 ้ 2. คำานวณหาปริมาณการใช้สินค้าเฉลี่ย ต่อวัน 80,000 / 360 = 222 หลาต่อ วัน หรือ 4000/18 = 222 หลา ต่อวัน 5 ถ้ามี Lead time 3 วัน ต้องซื้อหนัง ล่วงหน้าก่อนหมด 3 วัน ดังนัน้
  • 113. ปริมาณการสั่งซือสินค้าที่มส่วนลด ้ ี แนวคิด ธุรกิจต้องเปรียบเทียบผลได้ และผลเสีย ผลได้ ได้รบส่วนลดจากการสั่งซื้อ ั ณ ระดับที่ผู้ขายกำาหนด ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น การตัดสินใจ ผลได้ มากกว่า ผลเสีย ซื้อใน ปริมาณที่ผู้ขายกำาหนดเงื่อนไข ผลได้ น้อยกว่า ผลเสีย ปฏิเสธข้อ
  • 114. ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ) การให้ส่วนลดมี 2 แบบ 2. ให้ส่วนลดต่อหน่วยของสินค้า 3. ให้ส่วนลดเป็นครั้งของการสั่งซื้อ ตัวอย่างข้อ 7.3 5. คำานวณผลได้ จำานวนครั้งในการสั่งซื้อ = 80,000 / 10,000 = 8 ครั้ง ส่วนลดที่ได้ เท่ากับ 100 x 8 = 800 บาท 2. คำานวณผลเสีย
  • 115. ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ) = 20,000 + 3,200 = 23,200 ต้นทุนรวมสูงขึ้น = 23,200 - 16,000 = 7,200 เปรียบเทียบผลได้ ผลเสีย ผลได้ ได้รับส่วนลด 800 บาท ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น 7,200 บาท
  • 116. ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ) ตัวอย่างข้อ 7.4 คำานวณผลได้ ได้รับส่วนลด 80,000 x 2 = 160,000 บาท คำานวณผลเสีย TC(10,000) = 4 x 10,000 + 400 x 80,000 2 10,000 = 20,000 + 3,200
  • 117. ปริมาณการสั่งซื้อที่มีส่วนลด (ต่อ) เปรียบเทียบผลได้ ผลเสีย ผลได้ ได้รับส่วนลด 160,000 บาท ผลเสีย ต้นทุนรวมสูงขึ้น 7,200 บาท ตัดสินใจ บริษทควรสังซื้อ ั ่ สินค้าในปริมาณครั้งละ 10,000 หลาตามทีผู้ขาย ่
  • 118. สินค้าคงเหลือเพือความปลอดภัย ่ (Safety Stock) ระดับสินค้าคงเหลือทีกจการต้องสำารองไว้ ่ ิ เกินกว่า ระดับ EOQ ซึ่งต้องเป็นปริมาณทีทำาให้ ่ กิจการมี ต้นทุนรวมตำ่าทีสด ่ ุ ต้นทุนรวมของการมีสินค้าคงเหลือเพื่อ ความปลอดภัย 5. ต้นทุนค่าเสียโอกาส 6. ต้นทุนการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ้น
  • 121. โครงสร้างเงินทุน • แสดงให้เห็นถึงการจัดหาเงินทุนระยะยาว จากหลายวิธีการ โดยสามารถจัดหาได้จาก การก่อหนี้ และ ส่วนของเจ้าของ • ตัวอย่าง – ต้องการจัดหาเงินทุน 500,000 บาท จากทางเลือก 2 ทาง 4. - กู้ยืมระยะยาว 3,000,000 บาท @ i=9.5% ต่อ ปี - ออกหุ้นสามัญ ราคา PAR 100 บาทจำานวน 20,000 หุ้น @ อัตราจ่ายเงินปันผล 8% ต่อปี
  • 122. โครงสร้างเงินทุน 1. - กู้ยืมระยะยาว 3,000,000 บาท @ i=9.5% ต่อปี - ออกหุ้นสามัญ ราคา PAR 100 บาทจำานวน 20,000 หุ้น @ อัตราจ่ายเงินปันผล 8% ต่อปี
  • 123. ทฤษฎีโครงสร้างเงินทุน • มีโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับ แต่ละกิจการ • ต้องคำานวณหา EPS ของแต่ละทางเลือก ที่สงที่สด ู ุ • ดอกเบี้ยจ่ายช่วยทำาให้เสียภาษีน้อยลง ค่าของทุนจากการก่อหนี้ = ค่าของทุนจาก การก่อหนี้ก่อนภาษี (1- อัตราภาษี)
  • 124. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ • กำาไรต่อหุ้น (EPS) EPS = กำาไรส่วนของผู้ถือหุน ้ สามัญ จำานวนหุนสามัญ ้ • เปรียบเทียบต้นทุนถัวเฉลีย ่ • พิจารณาอัตราผลตอบแทนทีตองจ่ายให้ ่ ้
  • 125. ตัวอย่างการคำานวณ • ตัวอย่าง น.371 • โครงสร้างเงินทุนในปัจจุบันดังนี้ เงินกู้ธนาคาร(9%) 10 ล้านบาท หุ้นบุริมสิทธิ(6%) (6%) 5 ล้านบาท หุ้นสามัญ (Par@10บาท) 15 ล้านบาท ส่วนเกินทุนหุ้นสามัญ 10 ล้าน บาท
  • 126. ตัวอย่างการคำานวณ • ต้องการหาเงินทุนระยะยาว 20 ล้านบาท มีทางเลือกดังนี้ 2. ออกจำาหน่ายหุ้นกู้ (8%) 6 ล้านบาท , หุ้นบุริมสิทธิ (5%) 8 ล้านบาท และส่วนที่เหลือออกหุ้นสามัญ (ราคาหุ้นละ 20 บาท) 4. ออกจำาหน่ายหุ้นกู้ (8%) 50% และส่วนที่เหลือออกหุ้นสามัญ (ราคาหุ้นละ 20 บาท) บริษัทคาดว่า หลังจากเพิ่มทุน จะทำาให้มกำาไรจากการ ี ดำาเนินงาน 12 ล้านบาท ที่อัตราภาษี 30% ต่อปี
  • 127. ตัวอย่างการคำานวณ • ภาระผูกพันเดิม 3. ดอกเบี้ยจ่าย (900,000) 4. เงินปันผลจ่ายหุ้นบุริมสิทธิ (300ม000) 5. จำานวนหุ้นสามัญ 1500,000
  • 128. ตัวอย่างการคำานวณ • ภาระผูกพันของแต่ละทางเลือก • ทางเลือกที่ 1 ออกหุ้นกู(8%) ดอกเบียจ่าย = 6,000,000 x 8% = 480,000 ้ (8%) ้ ออกหุ้นบุริมสิทธิ(5%)เงินปันผลจ่าย = 8,000,000x5% =400,000 ออกหุ้นสามัญ = 6,000,000/20 = 300,000
  • 129. ตัวอย่างการคำานวณ • ทางเลือกที่ 2 ออกหุ้นกู(8%) ดอกเบียจ่าย(50%) = 10,000,000 x 8% = 800,000 ้ (8%) ้ ออกหุ้นสามัญ = 10,000,000/20 = 500,000
  • 130. ตัวอย่างการคำานวณ • คำานวณภาระผูกพันรวม • ทางเลือกที1 ่ ดอกเบี้ยจ่ายรวม = 900,000 + 480,000 = 1,380,000 เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ = 300,000 + 400,000 = 700,000 จำานวนหุ้นสามัญ = 1,500,000 + 300,000 = 1,800,000 หุ้น
  • 131. ตัวอย่างการคำานวณ • ทางเลือกที่ 2 ดอกเบี้ยจ่ายรวม = 900,000 + 800,000 = 1,700,000 เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ = 300,000 + 0 = 300,000 จำานวนหุ้นสามัญ = 1,500,000 + 500,000 =2,000,000 หุ้น
  • 132. ตัวอย่างการคำานวณ • หา EPS • ทางเลือกที่ 1 (1,200,000 – 1,380,000 – 3,186,000 – 700,000) 1,800,000 = 3.74 • ทางเลือกที่ 2 (1,200,000 – 1,700,000 – 3,090,000 – 300,000) 2,000,000 = 3.46
  • 133. ตัวอย่างการคำานวณ • โครงสร้างของทุนใหม่ เงินกู้ธนาคาร (9%) 10 ล้านบาท หุ้นกู้ใหม่ (8%) 6 ล้านบาท หุ้นบุริมสิทธิ (6%) 5 ล้านบาท หุ้นบุริมสิทธิใหม่ (5%) 8 ล้านบาท หุ้นสามัญ (Par @ 10 บาท) 15 ล้านบาท หุ้นสามัญใหม่ (Par @ 20 บาท) 6 ล้านบาท ส่วนเกินหุ้นสามัญ 10 ล้านบาท รวม 60 ล้านบาท
  • 135. วัตถุประสงค์ • การคำานวณหาจุดคุ้มทุน • ข้อจำากัดของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน • ผลกระทบต่อจุดคุ้มทุนจากปัจจัยต่างๆ ทีเปลี่ยนแปลงไป ่
  • 136. การวิเคราะห์จุดคุมทุน ้ • จุดคุมทุนคือจุดทีปริมาณขายหรือได้ที่ทำาให้ ้ ่ ธุรกิจไม่ขาดทุนและไม่มีกำาไร • มีวิธีการคำานวณ 3 วิธี 4. สมการเส้นตรง 5. แผนภาพ 6. กำาไรแปรผันขั้นต้น