SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  82
Télécharger pour lire hors ligne
นโยบาย 
สVำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
กระทรวงศึกษำธิกำร
นโยบำยสĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
พิมพ์ครั้งที่ ๑ มิถุนำยน ๒๕๕๗ 
จĞำนวนพิมพ์ ๔๐,๐๐๐ เล่ม 
จัดพิมพ์เผยแพร่ กลุ่มวิจัยและพัฒนำนโยบำย 
สĞำนักนโยบำยและแผนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
กระทรวงศึกษำธิกำร 
กรุงเทพมหำนคร ๑๐๓๐๐ 
โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๕๕๓๐ 
โทรสำร ๐ ๒๒๘๑ ๕๒๓๒ 
เอกสำรสĞำนักนโยบำยและแผนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ๗/๒๕๕๗ 
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย จĞำกัด 
๗๙ ถนนงำมวงศ์วำน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร 
กรุงเทพมหำนคร ๑๐๙๐๐ 
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสำร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ 
นำยโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณำ
คำTนำT 
สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีภารกิจในการจัด 
และส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการดĞำเนินการที่ผ่านมาพบว่า 
สĞำนักงานในส่วนกลาง สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาได้มุ่งมั่น 
ที่จะพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และยกระดับคุณภาพและการให้บริการ 
เพื่อให้เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและสาธารณชนเกิดความพึงพอใจ 
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ก็เป็นอีกวาระหนึ่งที่มีการปรับเปลี่ยนแปลง 
ภายในสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การกĞำหนดทิศทาง 
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีความจĞำเป็นอย่างยิ่งที่นโยบายของสĞำนักงาน 
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เล่มนี้ 
ได้กĞำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ผลผลิต จุดมุ่งหมาย จุดเน้น 
การดĞำเนินงาน กลยุทธ์ และปัจจัยสู่ความสĞำเร็จ เพื่อให้สĞำนักในส่วนกลาง 
สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ยึดเป็นแนวทางในการดĞำเนินงาน 
และขับเคลื่อนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไปพร้อมกันต่อไป 
สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ 
นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
ผังมโนทัศน์นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
บทที่ ๑ ความเป็นมา 
บทที่ ๒ องค์ประกอบนโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 
ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
วิสัยทัศน์ 
พันธกิจ 
เป้าประสงค์ 
ยุทธศาสตร์ 
ผลผลิต 
จุดเน้น 
บทที่ ๓ การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ 
ภาคผนวก ก 
ภาคผนวก ข 
ภาคผนวก ค 
ภาคผนวก ง 
ภาคผนวก จ 
ภาคผนวก ฉ 
ภาคผนวก ช 
ภาคผนวก ซ 
คณะทĞำงาน 
หน้า 
๑ 
๔ 
๕ 
๒๑ 
๒๓ 
๒๓ 
๒๔ 
๒๕ 
๓๒ 
๓๓ 
๓๗ 
๔๕ 
๕๔ 
๕๗ 
๖๐ 
๖๒ 
๗๐ 
๗๑ 
๗๓ 
๗๔
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
1 
นโยบาย 
สVำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
2 
นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
เพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพมาตรฐาน 
ระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพ 
สูงสุดในตน มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสม เป็นพื้นฐานสĞำคัญ 
ในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการดĞำรงชีวิตในอนาคต สĞำนักงาน 
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกĞำหนดนโยบายของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 
ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนี้ 
๑. เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง 
ระบบ และกระบวนการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ 
ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ให้สĞำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม 
๒. เร่งพัฒนาความแข็งแกร่งทางการศึกษาให้ผ้เูรียนทุกระดับทกุประเภท 
รวมถึงเด็กพิการ และด้อยโอกาส มีความรู้ และทักษะแห่งโลกยุคใหม่ควบคู่กันไป 
โดยเฉพาะทักษะการอ่าน เขียน และการคิด เพื่อให้มีความพร้อมเข้าสู่การศึกษา 
ระดับสูง และโลกของการทĞำงาน 
๓. เร่งปรับระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องไปในทิศทาง 
เดียวกัน มีการประสานสัมพันธ์กับเนื้อหา ทักษะ และกระบวนการเรียนการสอน 
ประกอบไปด้วย มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการสอน การพัฒนา 
ทางวิชาชีพ สภาพแวดล้อม การเรียนรู้ 
๔. ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา 
ให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถและทักษะที่เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรู้ 
ของผู้เรียน ผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหารจัดการ และ 
เป็นผู้นĞำทางวิชาการ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
3 
แก่ผู้เรียน สร้างความมั่นใจและไว้วางใจ ส่งเสริมให้รับผิดชอบต่อผลที่เกิดกับ 
นักเรียน ที่สอดคล้องกับวิชาชีพ 
๕. เร่งสร้างระบบให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพ 
ที่แข็งแกร่ง และมีประสิทธิภาพ มีความสามารถรับผิดชอบการจัดการศึกษา 
ขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ และมาตรฐานได้เป็นอย่างดี 
๖. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ 
และมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ชัดเจน เป็นสถานศึกษาคุณภาพ 
และมีประสิทธิภาพ ที่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและ 
มาตรฐานระดับสากล 
๗. สร้างระบบการควบคุมการจัดการการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา 
ที่มีข้อมูล สารสนเทศ และข่าวสาร เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอน 
อย่างพร้อมบริบูรณ์ และมีนโยบายการประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม 
๘. สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทĞำงาน เร่งรัดการกระจายอĞำนาจและ 
ความรับผิดชอบ ปรับปรุงระบบของโรงเรียน ให้เป็นแบบร่วมคิดร่วมทĞำ 
การมีส่วนร่วม และการประสานงาน สามารถใช้เครือข่ายการพัฒนา 
การศึกษาระหว่างโรงเรียนกับโรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ 
กลุ่มบุคคล องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน และองค์กรสังคมอื่น 
๙. เร่งปรับระบบการบริหารงานบุคคล มุ่งเน้นความถูกต้อง เหมาะสม 
และเป็นธรรม ให้เป็นปัจจัยหนุนในการเสริมสร้างคุณภาพและประสิทธิภาพ 
ขวัญและกĞำลังใจ สร้างภาวะจูงใจ แรงบันดาลใจ และความรับผิดชอบ 
ในความสĞำเร็จตามภาระหน้าที่ 
๑๐. มุ่งสร้างพลเมืองดี ที่ตื่นตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้ 
และทĞำให้การศึกษานĞำการแก้ปัญหาสĞำคัญของสังคม 
๑๑. ทุ่มเทมาตรการเพื่อยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่พัฒนาล้าหลัง 
และโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่ได้คุณภาพ เพื่อไม่ให้ผู้เรียนต้องเสียโอกาสได้รับ 
การศึกษาที่มีคุณภาพ
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
4 
ผังมโนทัศน์นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย 
พันธกิจ 
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากร 
วัยเรียนทุกคน ได้รับการศึกษา 
อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ 
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม 
จริยธรรม มีคุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร 
พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่เน้นการมีส่วนร่วม 
เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพ 
การศึกษา 
วิสัยทัศน์ 
ยุทธ- 
ศาสตร์ 
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับ 
ทุกประเภท 
ขยายโอกาสเข้าถึงบริการ 
การศึกษาที่มีคุณภาพและ 
เสมอภาค 
พัฒนาคุณภาพครูและ 
บุคลากรทางการศึกษา 
พัฒนาระบบ 
การสนับสนุน 
การจัดการศึกษา 
กลยุทธ์ 
๑. จัดระบบข้อมูลผู้เรียน 
๒. สร้างความเข้าใจในการจัดให้สังคม 
๓. จัดงบประมาณที่สอดคล้อง 
กับบริบท 
๔. นำ�หลักสูตรสู่การปฏิบัติ 
๕. ใช้สื่อนวัตกรรมที่หลากหลาย 
๖. จัดระบบนิเทศ ติดตามและ 
รายงานผล 
๗. แนะแนวผู้เรียน 
๘. นำ�การทดสอบต่าง ๆ เป็นส่วนหนึ่ง 
ในการสอน 
๙. ส่งเสริมประกันคุณภาพภายใน 
๑๐. สอนทั้งวิชาสามัญและวิชาชีพ 
๑๑. ส่งเสริมภาษาอังกฤษ เพื่อสื่อสาร 
และภาษาอาเซียน ๑ ภาษา 
๑๒. ประสานการรับนักศึกษา 
ให้คัดเลือกอย่างหลากหลาย 
๑. พัฒนาข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 
๒. บริหารงบอุดหนุนรายหัว 
ตามตัวผู้เรียน 
๓. ให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าเรียน 
ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ 
จบหลักสูตร 
๔. สนับสนุนโรงเรียนดีมีคุณภาพ 
ครอบคลุมทุกตำ�บล 
๕. สนับสนุนโรงเรียน ม.ปลาย 
ในพื้นที่พิเศษสอนวิชาชีพ 
๖. ส่งเสริมการจัดที่หลากหลาย 
เหมาะสมและได้คุณภาพ 
ตามมาตรฐาน 
๗. สนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือ 
ผู้เรียนให้เข้มแข็งและต่อเนื่อง 
๘. ประสานช่วยเหลือและจัด 
การศึกษาที่เหมาะสมแก่เด็ก 
ที่ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ 
๑. พัฒนาองค์ความรู้ 
และสมรรถนะของครู 
ผ่านการปฏิบัติจริง 
และการช่วยเหลือ 
อย่างต่อเนื่อง 
๒. พัฒนาผู้บริหาร 
สถานศึกษากลุ่ม 
ที่มีความจำ�เป็น 
ต้องได้รับการพัฒนา 
เร่งด่วน 
๓. เสริมสร้างระบบ 
แรงจูงใจในการทำ�งาน 
สอดคล้องกับ 
ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน 
๔. ประสานและสนับสนุน 
องค์กรและคณะบุคคล 
ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียม 
และจัดสรรครูที่มี 
ความสามารถ 
สอดคล้องกับ 
ความต้องการของ 
โรงเรียนและสังคม 
๑. กระจายอำ�นาจ 
๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม 
๓. ส่งเสริมให้โรงเรียน 
สำ�นักงานเขตพื้นที่ 
การศึกษาและ 
องค์คณะบุคคล 
มีความรับผิดชอบ 
ต่อผลการดำ�เนินงาน 
การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย 
เป้า 
ประสงค์ 
นักเรียนระดับก่อน 
ประถมศึกษา 
มีพัฒนาการ 
ที่เหมาะสมตามช่วงวัย 
และได้สมดุลและนักเรียน 
ระดับการศึกษา 
ขั้นพื้นฐานทุกคน 
มีพัฒนาการเหมาะสม 
ตามช่วงวัยและ 
มีคุณภาพ 
ประชากรวัยเรียน 
ทุกคนได้รับโอกาส 
ในการศึกษา 
ขั้นพื้นฐาน 
อย่างทั่วถึง 
มีคุณภาพและ 
เสมอภาค 
ครู ผู้บริหาร 
สถานศึกษา 
และบุคลากร 
ทางการศึกษาอื่น 
มีทักษะที่เหมาะสม 
และมีวัฒนธรรม 
การทำ�งานที่ 
มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 
สำ�นักงานเขตพื้นที่ 
การศึกษาและ 
สถานศึกษา 
มีประสิทธิภาพและ 
เป็นกลไกขับเคลื่อน 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 
การศึกษาสู่คุณภาพ 
มาตรฐานระดับสากล 
สพฐ. บูรณาการ 
การทำ�งาน 
เน้นการบริหาร 
แบบมีส่วนร่วม 
กระจายอำ�นาจ 
และความรับผิดชอบ 
สู่สำ�นักงาน 
เขตพื้นที่การศึกษา 
และสถานศึกษา 
พื้นที่พิเศษ 
ได้รับการพัฒนา 
คุณภาพ 
การศึกษา 
เป็นพิเศษ
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
5 
บทที่ ๑ 
ความเป็นมา
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
7 
ในสภาพปัจจุบันประเทศไทยกĞำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งจะส่งผลให้เกิด 
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ของไทยอย่างหลีกเลี่ยง 
ไม่ได้ โดยสĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดคะเนว่า 
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อัตราส่วนการเป็นภาระของประชากรวัยแรงงานต่อประชากร 
ผู้สูงอายุ จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นดังภาพต่อไปนี้ 
อัตราส่วนการเป็นภาระ วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ 
๒๕๕๐ ๒๕๖๐ ๒๕๗๐ 
วัยแรงงาน ๖ คน วัยแรงงาน ๔ คน วัยแรงงาน ๓ คน 
ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน 
• การลงทุนด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข และด้านสวัสดิการสังคม 
• การมีอัตราภาวะเจริญพันธุ์ที่ตĞ่ำกว่าระดับทดแทน อาจเป็นปัญหา 
ในระยะยาว 
• ประชากรรวมของประเทศ ๖๖.๐๔ ล้านคน ปี ๒๕๕๐ จะเพิ่มขึ้น 
ในอัตราที่ลดลงจนถึงปี ๒๕๖๘ มีจĞำนวนประชากรสูงสุด 
๗๐.๖๕ ล้านคน และเริ่มลดลงจากนั้น 
ภาพประกอบ ๑ แผนภูมิแสดงอัตราส่วนการเป็นภาระ (วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ : Aged 
Dependency Rate)๑ 
๑สĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (๒๕๕๑). วิสัยทัศน์ประเทศไทย.... 
สู่ปี ๒๕๗๐. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. ปีที่ ๔๕ ฉบับที่ ๓. หน้า ๔๖. กรกฎาคม-กันยายน
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
8 
กล่าวคือ จากเดิมในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ประชากรวัยแรงงาน ๖ คน 
ดูแลประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน ในขณะที่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ต้องใช้ประชากร 
วัยแรงงาน ๔ คน ต่อประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน และลดลงเป็น ๓ คน 
ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ประชากรวัยแรงงานแต่ละคนจึงต้องมีภาระมากขึ้น 
เพื่อดูแลประชากรวัยสูงอายุที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ นอกเหนือจากสถานการณ์ 
ด้านประชากรดังกล่าว ช่วงเวลาที่ประเทศไทยต้องเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ให้เอื้อต่อการสร้างความสามารถ 
ในการแข่งขัน เพื่อก้าวออกจากกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง 
ย่อมส่งผลให้การศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานทวีความสĞำคัญ 
ต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากประเทศต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ 
สามารถแข่งขันกับนานาชาติ จนสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการดูแลประชากร 
วัยสูงอายุของไทย ซึ่งมีสัดส่วนต่อประชากรวัยอื่น ๆ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ตระหนักถึงความจĞำเป็นในสถานการณ์ข้างต้น จึงมุ่งพัฒนานักเรียนทุกคน 
ในมิติด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนบรรลุถึงศักยภาพสูงสุดในตน 
มีความรู้และทักษะการอ่านเขียนและคิดคĞำนวณที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นพื้นฐานสĞำคัญ 
ในการเรียนรู้และการดĞำรงชีวิตในอนาคต อย่างไรก็ตาม สĞำนักงานคณะกรรมการ 
การศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเผชิญปัญหาและความท้าทายในการพัฒนาการศึกษา 
ขั้นพื้นฐานของชาติ สาระสĞำคัญดังนี้ 
๑. ด้านคุณภาพการศึกษา 
คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยยังไม่ถึงระดับ 
มาตรฐานสากล ถึงแม้จะมีแนวโน้มว่าจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วงของการปฏิรูป 
การศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพผู้เรียนในระดับนานาชาติ 
ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ และ 
ระดับนานาชาติ เป็นดังต่อไปนี้
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
9 
๑.๑ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ 
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 
ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในวิชาหลัก ๕ วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ไม่มีระดับชั้นใดที่ได้คะแนนเฉลี่ย 
สูงกว่าร้อยละ ๕๐ รายละเอียดดังนี้ 
• วิชาภาษาไทย ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกระดับชั้น 
สูงกว่าร้อยละ ๔๐ โดยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงขึ้น ส่วนนักเรียน 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนน้อยกว่าปี ๒๕๕๕ 
โดยเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนน้อยกว่าปีก่อนประมาณ ๑๐ คะแนน 
• วิชาคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา 
ปีที่ ๖ มีคะแนนเกินกว่าร้อยละ ๔๐ ซึ่งเป็นคะแนนที่สูงขึ้นกว่าปีก่อนและสูงกว่า 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยทั้งสองชั้นมีคะแนนน้อยกว่า 
ปีก่อนเล็กน้อย 
• วิชาวิทยาศาสตร์ ทั้งชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษา 
ปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงกว่าร้อยละ ๓๐ โดยมีเพียง 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคะแนนสูงกว่าปีก่อน 
• วิชาสังคมศึกษา ทั้งชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษา 
ปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ระดับชั้นมีคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ ๓๐-๔๐ 
โดยล้วนมีคะแนนตĞ่ำกว่าปีที่ผ่านมา 
• วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนอยู่ในระหว่างร้อยละ ๒๕-๓๔ 
โดยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงกว่าปีผ่านมา
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
10 
ดังภาพประกอบ ๒ 
๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ 
๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ 
๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ 
๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ 
๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ 
๖๐ 
๕๐ 
๔๐ 
๓๐ 
๒๐ 
๑๐ 
๐ 
คะแนน O-NET 
ภาษาไทย คณิต วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ 
ป.๖ ม.๓ ม.๖ 
ภาพประกอบ ๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๖ 
๑.๒ ผลการประเมินระดับนานาชาติ 
๑.๒.๑ ผลการทดสอบ Programme for International 
Student Assessment (PISA) ซึ่งเป็นการทดสอบนักเรียนอายุ ๑๕ ปี ในระดับ 
นานาชาติ เมื่อพิจารณาผลของนักเรียนจากประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต้ ในการทดสอบปี ค.ศ. ๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖) นักเรียนไทย 
ได้ผลคะแนนสูงกว่าทั้งมาเลเซีย และอินโดนีเซียทุกวิชา แต่ตĞ่ำกว่าสิงคโปร์ 
ซึ่งมีผลคะแนนทุกวิชาในกลุ่มบนสุดของโลก และเวียดนาม ซึ่งเพิ่งเข้าทดสอบ 
เป็นครั้งแรก ทั้งสองประเทศมีผลคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ย OECD ในขณะที่ 
นักเรียนไทยยังมีคะแนนไม่ถึงค่าเฉลี่ยของนักเรียนในกลุ่มประเทศ OECD
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
11 
เมื่อเปรียบเทียบ PISA ปี ค.ศ. ๒๐๐๙ (พ.ศ. ๒๕๕๓) 
กับปี ค.ศ. ๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖) พบว่าในปี ๒๐๑๒ นักเรียนไทยมีผลการประเมิน 
เพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ในด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์ โดยคณิตศาสตร์ 
เพิ่มขึ้นเล็กน้อย และเมื่อจัดลĞำดับจาก ๖๕ ประเทศ การอ่านของนักเรียนไทย 
อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๗-๕๑ คณิตศาสตร์อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๘-๕๒ และ 
วิทยาศาสตร์อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๗-๔๙ 
คะแนน การอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 
PISA ๒๐๐๐ 
๔๕๐ 
๔๔๕ 
๔๔๐ 
๔๓๕ 
๔๓๐ 
๔๒๕ 
๔๒๐ 
๔๑๕ 
๔๑๐ 
PISA ๒๐๐๓ PISA ๒๐๐๖ PISA ๒๐๐๙ PISA ๒๐๑๒ 
ภาพประกอบ ๓ คะแนนผลการทดสอบ PISA ของนักเรียนไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๐-๒๐๑๒ 
(พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๕๖) 
เมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบที่ผ่านมาตั้งแต่ 
การทดสอบครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นักเรียนไทย 
ทĞำคะแนนสอบได้สูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ในวิชาวิทยาศาสตร์และการอ่าน 
และทั้ง ๓ วิชา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในภาพของโรงเรียนสังกัด 
สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สามารถทĞำคะแนนได้สูงขึ้น 
อย่างมาก ทั้งโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาเดิม (เปิดสอน 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖) และขยายโอกาสทางการศึกษา (โรงเรียนที่เปิดสอน 
ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และในบางโรงเรียนเปิดสอน
นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น 
ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
12 
ถึงระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย) โดยเฉพำะโรงเรียนขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ 
สำมำรถทĞำคะแนนวิชำคณิตศำสตร์และกำรอ่ำนเพิ่มขึ้นถึงหนึ่งระดับ 
อย่ำงไรก็ตำม ผลกำรประเมินในปีนี้จำกกำรวิเครำะห์ผลจĞำแนกตำมภูมิภำค 
พบว่ำ นักเรียนในภำคกลำงยกเว้นกรุงเทพมหำนคร และปริมณฑล มีคะแนน 
ตĞ่ำกว่ำภำคอื่น ๆ โดยระหว่ำงกลุ่มโรงเรียนต่ำง ๆ ผลคะแนนต่ำงกันมำก 
กลุ่มโรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย ไม่เพียงคะแนนสูงกว่ำค่ำเฉลี่ย OECD 
คะแนนยังสูงเปรียบเทียบได้กับประเทศผู้นĞำของโลก (วิทยำศำสตร์ ๕๖๕ 
กำรอ่ำน ๕๕๔ ทั้งสองวิชำมีคะแนนตĞ่ำกว่ำเพียงเซียงไฮ้-จีน ซึ่งเป็นอันดับหนึ่ง 
ของโลก คณิตศำสตร์ ๕๗๐ ตĞ่ำกว่ำเพียงเซียงไฮ้-จีน และสิงคโปร์) ในขณะที่ 
โรงเรียนมัธยมศึกษำ สังกัดกรมสำมัญศึกษำเดิม และโรงเรียนขยำยโอกำส 
ทำงกำรศึกษำยังตĞ่ำกว่ำค่ำเฉลี่ย OECD ประเทศไทยจึงจĞำเป็นต้องส่งเสริม 
กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนอย่ำงต่อเนื่องในโรงเรียนทุกประเภท 
๑.๓ ผลกำรประเมินระดับนำนำชำติ TIMSS ปี ๒๐๑๑ 
เมื่อเทียบกับ ปี ๒๐๐๗ พบว่ำนักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษำ 
ปีที่ ๒ มีผลคะแนนวิชำวิทยำศำสตร์สูงขึ้น เป็นอันดับที่ ๒๕ ของจำก ๖๓ ประเทศ 
ทั่วโลก และขึ้นมำเป็นอันดับสองของภูมิภำคอำเซียน รองจำกสิงคโปร์ ทั้งนี้ 
เมื่อพิจำรณำผลคะแนนวิชำคณิตศำสตร์ของไทยพบว่ำลดลงเช่นเดียวกับ 
มำเลเซียและอินโดนีเซีย โดยมำเลเซียอยู่ในอันดับที่ ๒๖ สูงกว่ำไทยที่อันดับ 
ที่ ๒๘ ดังภำพประกอบ ๔
นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น 
ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
13 
ภำพประกอบ ๔ แนวโน้มคะแนนวิชำคณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์จำกกำรประเมิน TIMSS 
ของไทย ปี ๒๕๕๐-๒๕๕๔ 
ที่มำ : ๑. สĞำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, สถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาของประเทศไทย 
๒๕๕๕. ไตรมำส ๑ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ มกรำคม-มีนำคม ๒๕๕๖. 
๒. สĞำนักทดสอบทำงกำรศึกษำ, ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. 
สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กรกฎำคม ๒๕๕๒. 
๖๕๐ 
๖๐๐ 
๕๕๐ 
๕๐๐ 
๔๕๐ 
๔๐๐ 
๓๕๐ 
จีน (ไทเป) 
สิงคโปร์ 
เกำหลีใต้ 
ญี่ปุ่น 
ฮ่องกง 
มำเลเซีย 
ไทย 
อินโดนีเซีย 
จีน (ไทเป) 
สิงคโปร์ 
เกำหลีใต้ 
ญี่ปุ่น 
ฮ่องกง 
มำเลเซีย 
ไทย 
อินโดนีเซีย 
วิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ 
๒๕๕๐ ๒๕๕๔ 
๕๙๐ 
๔๒๖ ๔๗๔ 
๔๔๔๑๕๑ 
๖๑๑ 
๕๙๓ 
๔๔๐ ๔๗๔ 
๔๒๗ ๔๗๑ 
๕๖๗
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
14 
๒. ด้านโอกาสทางการศึกษา 
ที่ผ่านมาการจัดการศึกษาของประเทศไทยประสบความสĞำเร็จ 
ด้านการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสามารถ 
เพิ่มจĞำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากร อายุระหว่าง ๑๖-๖๙ ปี จากร้อยละ 
๕.๓ ในปี ๒๕๒๙ เป็นร้อยละ ๘.๓ ในปี ๒๕๕๓ และเพิ่มการเรียนต่อหลังจบ 
การศึกษาภาคบังคับ ได้แก่ การเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากร้อยละ 
๖.๙ ในปี ๒๕๒๙ เป็นร้อยละ ๕๓.๗ ในปี ๒๕๕๓๑ นอกจากนี้ ระหว่างปีการศึกษา 
๒๕๕๑ ถึง ๒๕๕๕ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนมีแนวโน้มลดลง 
ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากผลการดĞำเนินโครงการสนับสนุนการจัดการศึกษา 
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๕ ปี ดังแสดงในภาพประกอบ ๕ 
๓.๐๐ 
๒.๕๐ 
๒.๐๐ 
๑.๕๐ 
๑.๐๐ 
๐.๕๐ 
๐.๐๐ 
๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ 
ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย 
อัตราการออกกลางคัน (ร้อยละ) 
ภาพประกอบ ๕ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. ปีการศึกษา 
๒๕๕๑-๒๕๕๕ 
๑ดิลกะ ลัทธิพิพัฒน์ (๒๕๕๕). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทางการศึกษาต่อสัมฤทธิผล 
ของนักเรียนไทย เอกสารนĞำเสนอในการสัมมนาวิชาการ ประจĞำปี ๒๕๕๔ เรื่องยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษา 
ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. ร่วมจัดโดยสĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สĞำนักงานเลขาธิการ 
สภาการศึกษา สĞำนักงานปฏิรูป และมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ 
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์.
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
15 
แม้เด็กไทยส่วนใหญ่ได้รับโอกาสทางการศึกษา โดยมีอัตราการเข้าเรียน 
ค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรวัยเรียน แต่เมื่อพิจารณาประชากร 
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ได้แก่ กลุ่มผู้มีรายได้ตĞ่ำสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากร 
ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษา โดยมีระดับการศึกษาไม่เกินระดับ 
มัธยมศึกษาตอนต้นถึงร้อยละ ๙๔ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างชายหญิง 
กลุ่มเด็กชายมีแนวโน้มที่จะไม่ประสบผลสĞำเร็จในการเรียนและเสี่ยงต่อการ 
ออกกลางคัน๑ ซึ่งสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องส่งเสริม 
การให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชากรวัยเรียน 
ในกลุ่มนี้ต่อไป 
๓. ด้านการบริหารจัดการ 
แม้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ปี พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒ 
โรงเรียนสังกัดสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งระดับปฐมวัย 
ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา จะได้รับการรับรองถึงกว่าร้อยละ ๘๐ 
แต่การกระจายอĞำนาจการบริหารการจัดการ สู่สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 
และสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการบริหารจัดการ 
ยังทĞำได้น้อย๒ สถานศึกษาที่มีศักยภาพและความพร้อมสูงในการจัดการศึกษา 
มีเพียงร้อยละ ๑๗๓ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของไทยเมื่อจัดลĞำดับแล้ว 
ถือว่าตĞ่ำ โดยเมื่อพิจารณางบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์ 
มวลรวมภายในประเทศ อยู่ที่อันดับ ๕๒ จาก ๕๗ ประเทศที่เข้าร่วมรับการประเมิน 
สมรรถนะในการแข่งขัน ด้านการศึกษาปี ๒๕๕๒ รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณ 
๑คĞำรับรองการปฏิบัติราชการสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. 
๒สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๒). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒- 
๒๕๖๑). สิ่งพิมพ์ สกศ. ลĞำดับที่ ๕๗/๒๕๕๒. 
๓สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๕). รายงานการวิจัยการประเมินศักยภาพและความพร้อมของ 
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับการกระจายอĞำนาจการจัดการศึกษา. สิ่งพิมพ์ สกศ. ลĞำดับที่ ๑๗/๒๕๕๕.
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
16 
ให้ในสัดส่วนที่สูง แต่ประสิทธิภาพการใช้จ่ายอยู่ในเกณฑ์ตĞ่ำ๑ โดยงบประมาณ 
การศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยยังคงถูกจัดสรรจากด้านอุปทานเป็นหลัก และ 
งบประมาณกว่าร้อยละ ๗๕ ไม่มีความสัมพันธ์กับจĞำนวนนักเรียนโดยตรง๒ 
๔. ความสามารถในการแข่งขัน 
กุญแจสĞำคัญในการแข่งขันในเวทีโลก คือ คุณภาพและสมรรถภาพ 
ของคนไทยทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาเด็กไทย ให้มีความพร้อมรองรับ 
การเป็นสังคมผู้สูงอายุในอนาคต คุณภาพและสมรรถภาพดังกล่าว หมายถึง 
ความสามารถในการอ่าน เขียน การคิดคĞำนวณ คิดวิเคราะห์ ความสามารถ 
ทางเทคโนโลยี และการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ ทั้งภาษาสากล และภาษา 
ของประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น นอกจากนี้ เด็กไทยควรมีทักษะที่จĞำเป็น 
ในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ ความรู้ในวิชาแกนตามศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะชีวิตและ 
ทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และการสร้างนวัตกรรม และทักษะทางข้อมูล 
สื่อ และเทคโนโลยี๓ พร้อมทั้งทักษะชีวิตในระบบเศรษฐกิจสังคมพหุวัฒนธรรม 
ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงสถานการณ์รุนแรงและภัยพิบัติต่าง ๆ นอกจากนี้ 
จริยธรรมในการทĞำงาน เป็นคุณสมบัติของพนักงานที่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร 
เอกชนในประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา พิจารณาว่าสĞำคัญที่สุด เหนือกว่าการทĞำงาน 
เป็นทีม การมีความสามารถในการตัดสินใจ การคิดวิพากษ์ ความสามารถในการใช้ 
๑วิทยากร เชียงกูล (๒๕๕๓). สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ : บทบาทการศึกษากับการพัฒนา 
ทางเศรษฐกิจและสังคม. ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 
สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓. 
๒มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทĞำยุทธศาสตร์ 
การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. 
๓วิจารณ์ พานิช (๒๕๕๕). การจัดการเรียนรู้สĞำหรับศตวรรษที่ ๒๑. วันที่ได้รับข้อมูล ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ 
จากแหล่งข้อมูล http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/userfiles/files/moso_market๓/ 
Review_doc.pdf
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
17 
คอมพิวเตอร์ และความสามารถในการอ่านและคĞำนวณขั้นพื้นฐาน๑ (รายละเอียด 
ดังภาคผนวก ซ) ความท้าทายดังกล่าวเป็นแรงผลักดันให้การศึกษาไทยต้องมี 
การพัฒนาอย่างเร่งด่วน โดยการเรียนรู้ยุคใหม่ต้องสอนให้น้อยลงและเรียนรู้ 
ให้มากขึ้น ให้ความสĞำคัญกับทักษะมากกว่าสาระการเรียนรู้ ให้นักเรียน 
เป็นผู้ชี้ทิศทางการเรียนรู้ เรียนแบบร่วมมือกัน เรียนกันเป็นทีม และประเมินผล 
แบบใหม่โดยถามวิธีคิด ประเมินเป็นทีม และข้อสอบไม่เป็นความลับ 
แต่เป็นตัวกระตุ้นให้เรียนรู้๒ 
แต่ในปัจจุบัน การศึกษาไทยยังไม่สามารถให้การศึกษาที่มีคุณภาพ 
และเตรียมความพร้อมนักเรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขันกับประชาคมโลก 
ได้เท่าที่ควร แม้แต่การพิจารณาดัชนีการพัฒนามนุษย์ของโครงการพัฒนา 
แห่งสหประชาชาติ พบว่า ประเทศไทยมีดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ในอันดับที่ ๘๑ 
จากทั้งหมด ๑๓๔ ประเทศ ซึ่งเป็นลĞำดับที่ตĞ่ำกว่าอันดับความสามารถในการแข่งขัน 
ทางเศรษฐกิจ ซึ่งได้อันดับที่ ๓๔ โดยประเทศไทยมีสภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 
สังคมตĞ่ำกว่าประเทศที่มีประชากรและทรัพยากรใกล้เคียงกัน สะท้อนว่า 
ประเทศไทยพัฒนาน้อยกว่าประเทศอื่น นอกจากนี้ ดัชนีขีดความสามารถ 
ทางการแข่งขันเปรียบเทียบกับ ๖๐ ประเทศ โดย IMD ในปี ๒๕๕๗ พบว่า 
ลดลงจากเดิม ๒ อันดับ มาอยู่ที่อันดับที่ ๒๙ โดยตัวชี้วัดด้านการศึกษา 
โดยรวมอยู่อันดับที่ ๕๔ ซึ่งตัวชี้วัดที่อันดับลดลงมากที่สุด คือ คุณภาพ 
อุดมศึกษาที่ตอบสนองต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ตามด้วยอัตราการเข้าเรียน 
ระดับมัธยมศึกษา และตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่ถูกจัดลĞำดับไว้ตĞ่ำที่สุดที่ลĞำดับ ๕๗ 
คือ ผลการสอบ TOEFL รายละเอียดดังนี้ 
๑Conference Board (May, ๒๐๑๓). The Business Council Survery of Chief Executive. แหล่งข้อมูล 
http://www.thebusinesscouncil.org/assets/TCB_BCS_MAY_๒๐๑๓.pdf วันที่ได้รับข้อมูล ๓ เมษายน ๒๕๕๗ 
หน้า ๗-๘. 
๒วิจารณ์ พานิช (๒๕๕๕). การจัดการเรียนรู้สĞำหรับศตวรรษที่ ๒๑. วันที่ได้รับข้อมูล ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ 
จากแหล่งข้อมูล http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/userfiles/files/moso_market๓/ 
Review_doc.pdf
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
18 
ตารางการจัดอันดับคะแนนด้านการศึกษาของไทย 
โดย ไอเอ็มดี (international Institute for Management Development : IMD) 
ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) 
ตัวชี้วัด อันดับเปรียบเทียบ 
๖๐ ประเทศ 
การเปลี่ยนแปลงอันดับ 
เมื่อเปรียบเทียบปี ๒๕๕๖ 
งบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ๔๒ ๐ 
งบประมาณด้านการศึกษาต่อระดับรายได้ต่อคน ๕๓ ๐ 
งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียน ๔๑ -๖ 
สัดส่วนนักเรียนต่อครูในระดับประถมศึกษา ๓๔ +๒๐ 
สัดส่วนนักเรียนต่อครูในระดับมัธยมศึกษา ๕๔ +๒ 
อัตราการเข้าเรียนมัธยมศึกษา ๕๕ -๗ 
อัตรากลุ่มประชากรอายุ ๒๕-๓๔ ที่จบการศึกษาอุดมศึกษา ๕๐ -๒ 
จĞำนวนนักเรียนต่างชาติในระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 
๔๗ +๑ 
๑,๐๐๐ คน 
จĞำนวนนักเรียนไทยที่เรียนต่ออุดมศึกษาในต่างประเทศ 
ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน 
๕๐ -๑ 
ผลการทดสอบพิซ่า ปี ๒๐๑๒ ๔๔ ๐ 
ผลการทดสอบ TOEFL ๕๗ -๑ 
คุณภาพการศึกษา ๔๙ -๖ 
คุณภาพการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ๔๔ ๑ 
คุณภาพอุดมศึกษาที่ตอบสนองต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ๔๘ -๑๐ 
คุณภาพการศึกษาด้านบริหารที่ตอบสนองภาคธุรกิจ ๔๒ -๔ 
อัตราประชากรอายุมากกว่า ๑๕ ปี ที่ไม่รู้หนังสือ ๕๐ -๓ 
ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของนายจ้าง ๕๑ -๑ 
ที่มา : สสค. 
ดังนั้น หากประเทศไทย โดยทุกภาคส่วนในสังคมไทยไม่หันมา 
ให้ความสĞำคัญกับการพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง จะส่งผลให้ความสามารถ 
ของประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโลก ลดตĞ่ำลงไปอีก๑ 
๑วิทยากร เชียงกูล (๒๕๕๓). สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ : บทบาทการศึกษากับการพัฒนา 
ทางเศรษฐกิจและสังคม. ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 
สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓.
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
19 
จากข้อมูลข้างต้น สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
จึงได้กĞำหนดนโยบายที่สอดคล้องกับแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) 
แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๙) รายละเอียด 
ตามภาคผนวก ก และ ข และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) 
ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) และความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสีย ทั้งในส่วนกลาง และในเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศจากแบบสอบถาม 
จากการประชุมสัมมนาข้อเสนอนโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา 
ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค 
กรุงเทพมหานคร และจากการประชุมปฏิบัติการจัดทĞำร่างนโยบาย 
สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในวันที่ ๒๖-๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ 
ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ด้วยตระหนักดีว่า 
การศึกษายังมีโอกาสพัฒนาได้ในสังคมไทยเนื่องจากพ่อแม่ผู้ปกครอง 
ยังคงคาดหวัง และให้ความสĞำคัญอย่างสูงต่อการศึกษาของบุตรหลานของตน 
โดยในปี ๒๕๕๒ ครัวเรือนไทยใช้จ่ายเพื่อการศึกษากว่า ๗๘,๘๒๕ ล้านบาท๑ 
การปฏิบัติงานในระยะต่อไปของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
จึงเน้นยĞ้ำการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในมิติของคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 
โดยใช้กลไกการกระจายอĞำนาจเดิม และการส่งเสริมการสร้างความรับผิดชอบ 
ต่อคุณภาพนักเรียนให้แก่ผู้ปฏิบัติ ทั้งในส่วนกลางในเขตพื้นที่การศึกษา 
และในโรงเรียน รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนา 
เพิ่มเติมในประเด็นที่เป็นความท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีสาระสĞำคัญในบทต่อไป 
๑มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทĞำยุทธศาสตร์ 
การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ.
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
20
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
21 
บทที่ ๒ 
องค์ประกอบนโยบาย 
สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
23 
เพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยพัฒนาไปในทิศทาง 
ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศ และของโลก สĞำนักงาน 
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กĞำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ 
กลยุทธ์ ผลผลิต และจุดเน้น ดังนี้ 
วิสัยทัศน์ 
การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐาน 
ระดับสากล๑ บนพื้นฐานของความเป็นไทย 
พันธกิจ 
๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับการศึกษา 
อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ 
๒. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์๒ 
ตามหลักสูตร 
๓. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้าง 
ความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษา 
๑มาตรฐานระดับสากล รวมถึง ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียง 
มาตรฐานสากล และการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ 
๒ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นลักษณะ 
ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 
ประกอบด้วยคุณลักษณะ ๘ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ 
๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทĞำงาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น 
ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
24 
เป้ำประสงค์ 
เพื่อให้กำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนของประเทศไทย มีคุณภำพ 
และมำตรฐำนระดับสำกล บนพื้นฐำนของควำมเป็นไทย สĞำนักงำน 
คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จึงกĞำหนดเป้ำประสงค์ดังนี้ 
๑. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษำมีพัฒนำกำรที่เหมำะสม 
ตำมช่วงวัย และได้สมดุล และนักเรียนระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนทุกคน 
มีพัฒนำกำรเหมำะสมตำมช่วงวัยและมีคุณภำพ 
๒. ประชำกรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกำสในกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 
อย่ำงทั่วถึง มีคุณภำพ และเสมอภำค 
๓. ครู ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอื่น มีทักษะ 
ที่เหมำะสม และมีวัฒนธรรมกำรทĞำงำนที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 
๔. สĞำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำมีประสิทธิภำพ 
และเป็นกลไกขับเคลื่อนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนสู่คุณภำพระดับมำตรฐำนสำกล 
๕. สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนบูรณำกำรกำรทĞำงำน 
เน้นกำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม กระจำยอĞำนำจและควำมรับผิดชอบสู่สĞำนักงำน 
เขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำ 
๖. พื้นที่พิเศษ ได้รับกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำเป็นพิเศษ
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
25 
ยุทธศาสตร์ 
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท 
เป้าประสงค์ที่ ๑ นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการ 
ที่เหมาะสมตามช่วงวัยและได้สมดุล และนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัยและมีคุณภาพ 
กลยุทธ์ 
๑. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของผู้เรียนทุกระดับ 
ทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ 
๒. ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ให้แก่ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน มุ่งพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับวัย 
ทักษะและคุณลักษณะที่จĞำเป็นของนักเรียนที่สถานประกอบการต้องการ 
และที่จĞำเป็นต่อการใช้ชีวิตในอนาคต เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย 
สู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย 
๓. สนับสนุนการจัดสรรงบประมาณ ในรูปแบบที่ส่งเสริมการพัฒนา 
คุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ รวมถึงระดับและประเภท 
ของผู้เรียน 
๔. ส่งเสริมการนĞำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึง 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม 
ท้องถิ่น และผู้เรียน 
๕. ใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่หลากหลาย 
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพ 
การศึกษา
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
26 
๖. จัดระบบนิเทศ ติดตามผล และรายงานผล ให้มีความเข้มแข็ง 
และต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม และหลากหลายมิติ เน้นการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 
๗. สนับสนุนให้มีการแนะแนวผู้เรียน ให้มีแรงจูงใจในการเรียน 
เพื่อการเรียนต่อและการมีอาชีพสุจริต เพื่อความมั่นคงในชีวิต ด้วยผู้แนะแนว 
ที่หลากหลาย เช่น ครู ผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ ทั้งที่เป็นผู้ปกครอง ศิษย์เก่า 
ผู้ที่ทĞำงานสถานประกอบการใน/นอกพื้นที่ 
๘. ส่งเสริมสนับสนุนการนĞำการทดสอบ O-NET การประเมินของ PISA 
และระบบการทดสอบกลางของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ 
และมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน 
๙. ส่งเสริมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ให้มีความเข้มแข็ง 
เพื่อรองรับการประเมินภายนอก 
๑๐. จัดระบบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีการเรียนการสอน 
ทั้งวิชาสามัญ และวิชาชีพ เพื่อรองรับการมีอาชีพตั้งแต่การเรียนในระดับ 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 
๑๑. ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ 
เพื่อการสื่อสาร และภาษาอาเซียนอย่างน้อย ๑ ภาษา เพื่อรองรับการก้าวสู่ 
ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และสู่มาตรฐานสากล 
๑๒. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกผู้เรียนที่จบการศึกษา 
ขั้นพื้นฐานเพื่อเรียนต่อ ให้มีวิธีการคัดเลือกที่หลากหลาย สอดคล้องกับหลักสูตร 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกเหนือจากการวัดความรู้ และความสามารถในการ 
สอบแข่งขัน
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
27 
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึง 
ครอบคลุมผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีคุณภาพ 
เป้าประสงค์ที่ ๒ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษา 
ขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเสมอภาค 
เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 
เป็นพิเศษ 
กลยุทธ์ 
๑. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนเป็นรายบุคคล ทั้งใน 
เชิงปริมาณและคุณภาพให้มีประสิทธิภาพ 
๒. สนับสนุนการบริหารจัดการงบประมาณ ประเภทงบเงินอุดหนุน 
รายหัวให้ผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้แบบตามตัวผู้เรียน (Demand-side 
Financing) มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานที่จัด 
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นการบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ 
๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกระดับ และทุกประเภท มีโอกาสเข้าเรียน 
ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ เรียนจนจบหลักสูตร มีโอกาสเรียนต่อ มีอาชีพที่สุจริต 
และมั่นคงในชีวิต 
๔. สนับสนุนโรงเรียนดีมีคุณภาพ ทั้งในระดับประถมศึกษาและ 
ระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นโรงเรียนที่มีรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งสู่ 
มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้ครอบคลุมทุกจังหวัด 
อĞำเภอ ตĞำบล 
๕. สนับสนุนให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ในพื้นที่พิเศษมีโอกาสจัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ทั้งที่จัดเอง และสร้างความร่วมมือ 
กับหน่วยงานอื่น เพื่อเป็นการสร้างอาชีพสุจริตให้กับผู้เรียน
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
28 
๖. ส่งเสริมการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบปกติ 
รูปแบบเพื่อความเป็นเลิศ รูปแบบเพื่อเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาส และรูปแบบ 
การศึกษาทางเลือก จัดให้มีความเหมาะสมและเต็มศักยภาพของผู้เรียน 
และยังคงระดับคุณภาพตามมาตรฐาน 
๗. ส่งเสริมสนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีความเข้มแข็ง 
และต่อเนื่อง 
๘. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วางแนวทางการดูแลช่วยเหลือ 
และจัดการศึกษาที่เหมาะสม แก่เด็กด้อยโอกาสที่ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ 
เช่น บุตรหลานของแรงงานต่างด้าว เด็กไร้สัญชาติ เด็กพลัดถิ่น เด็กต่างด้าว 
เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจĞำตัวประชาชน 
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา 
เป้าประสงค์ที่ ๓ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น 
มีทักษะที่เหมาะสม และมีวัฒนธรรมการทĞำงานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 
เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 
เป็นพิเศษ 
กลยุทธ์ 
๑. พัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะของครู ผ่านการปฏิบัติจริงและ 
การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง 
๑.๑ เผยแพร่องค์ความรู้ และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม วิธีการ 
จัดการเรียนการสอน การพัฒนาการคิด และการวัดประเมินผล ให้สามารถพัฒนา 
และประเมินผลนักเรียนให้มีคุณภาพตามศักยภาพเป็นรายบุคคล 
๑.๒ พัฒนาครูที่มีอยู่ให้สามารถจัดการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียน 
ต้องการได้ด้วยตนเองหรือใช้สื่อเทคโนโลยี
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
29 
๑.๓ ส่งเสริมระบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรโดยเขตพื้นที่การศึกษา 
และโดยเพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนเดียวกัน หรือระหว่างโรงเรียน หรือภาคส่วนอื่น ๆ 
ตามความพร้อมของโรงเรียน 
๑.๔ ส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในพื้นที่ ทั้งในโรงเรียน 
เดียวกัน ระหว่างโรงเรียน หรืออื่น ๆ และในองค์กร สังกัดสĞำนักงานคณะกรรมการ 
การศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหน่วยงาน 
๑.๕ ส่งเสริมให้ครูมีสมรรถนะภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร 
และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเรียนรู้ได้ในระดับดี 
๒. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มีความจĞำเป็นต้องได้รับการพัฒนา 
เร่งด่วน 
๓. เสริมสร้างระบบแรงจูงใจ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา 
มีขวัญกĞำลังใจในการทĞำงาน สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน 
๓.๑ ยกย่องเชิดชูเกียรติครูที่เป็นครูมืออาชีพ และบุคลากร 
ทางการศึกษา ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ทั้งด้าน 
๑) การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 
๒) การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ 
๓) การมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม และ 
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม 
๓.๒ ส่งเสริมความก้าวหน้าของครู ให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้น 
ให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนและรายได้ของครู 
๔. ประสานและสนับสนุนให้กับองค์กรและคณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง 
จัดเตรียมและจัดสรรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความสามารถสอดคล้อง 
กับความต้องการของโรงเรียน และสังคม
นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 
30 
๔.๑ สร้างความตระหนักกับองค์กรที่มีบทบาทโดยตรงกับ 
การบรรจุครูในพื้นที่ ถึงความจĞำเป็นต้องจัดสรรครูให้ตรงวิชาที่โรงเรียนขาดแคลน 
๔.๒ สร้างค่านิยมสĞำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ให้รับผิดชอบ 
ต่อผลด้านคุณภาพของการจัดการศึกษา 
๔.๓ ประสานสถาบันอุดมศึกษาผลิตครูที่มีวิชาเอกตรงกับ 
ความต้องการและสามารถจัดการเรียนรู้ เพื่อผู้เรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ 
และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ 
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ 
เป้าประสงค์ที่ ๔ สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 
มีประสิทธิภาพ และเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพระดับ 
มาตรฐานสากล 
เป้าประสงค์ที่ ๕ สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
บูรณาการการทĞำงาน เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอĞำนาจและ 
ความรับผิดชอบสู่สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 
เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 
เป็นพิเศษ 
กลยุทธ์ 
๑. กระจายอĞำนาจและความรับผิดชอบ 
๑.๑ ส่งเสริมสนับสนุนให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ 
สถานศึกษา มีความสามารถและมีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการด้วยตนเอง 
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
๑.๒ บูรณาการการทĞำงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่าง 
หน่วยงานต่าง ๆ ในส่วนกลาง เพื่อส่งเสริมให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ 
สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ ตามบริบทได้เพิ่มขึ้น
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ

Contenu connexe

Tendances

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นโครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นratchadaphun
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมUnchaya Suwan
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรNontaporn Pilawut
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไปPreecha Asipong
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

Tendances (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้นโครงงานอาชีพ ม.ต้น
โครงงานอาชีพ ม.ต้น
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

Similaire à นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ

นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559worapanthewaha
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นรินทร์ แสนแก้ว
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 

Similaire à นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ (20)

วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 

Plus de สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Plus de สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 

นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ

  • 1.
  • 2. นโยบาย สVำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร
  • 3. นโยบำยสĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๘ พิมพ์ครั้งที่ ๑ มิถุนำยน ๒๕๕๗ จĞำนวนพิมพ์ ๔๐,๐๐๐ เล่ม จัดพิมพ์เผยแพร่ กลุ่มวิจัยและพัฒนำนโยบำย สĞำนักนโยบำยและแผนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร กรุงเทพมหำนคร ๑๐๓๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๕๕๓๐ โทรสำร ๐ ๒๒๘๑ ๕๒๓๒ เอกสำรสĞำนักนโยบำยและแผนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ๗/๒๕๕๗ พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย จĞำกัด ๗๙ ถนนงำมวงศ์วำน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร กรุงเทพมหำนคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสำร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นำยโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณำ
  • 4. คำTนำT สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีภารกิจในการจัด และส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการดĞำเนินการที่ผ่านมาพบว่า สĞำนักงานในส่วนกลาง สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาได้มุ่งมั่น ที่จะพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และยกระดับคุณภาพและการให้บริการ เพื่อให้เด็กไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและสาธารณชนเกิดความพึงพอใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ก็เป็นอีกวาระหนึ่งที่มีการปรับเปลี่ยนแปลง ภายในสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การกĞำหนดทิศทาง การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีความจĞำเป็นอย่างยิ่งที่นโยบายของสĞำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เล่มนี้ ได้กĞำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ผลผลิต จุดมุ่งหมาย จุดเน้น การดĞำเนินงาน กลยุทธ์ และปัจจัยสู่ความสĞำเร็จ เพื่อให้สĞำนักในส่วนกลาง สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ยึดเป็นแนวทางในการดĞำเนินงาน และขับเคลื่อนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไปพร้อมกันต่อไป สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 5.
  • 6. สารบัญ นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผังมโนทัศน์นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ บทที่ ๑ ความเป็นมา บทที่ ๒ องค์ประกอบนโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต จุดเน้น บทที่ ๓ การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง ภาคผนวก จ ภาคผนวก ฉ ภาคผนวก ช ภาคผนวก ซ คณะทĞำงาน หน้า ๑ ๔ ๕ ๒๑ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๓๒ ๓๓ ๓๗ ๔๕ ๕๔ ๕๗ ๖๐ ๖๒ ๗๐ ๗๑ ๗๓ ๗๔
  • 7.
  • 8. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 1 นโยบาย สVำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
  • 9. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 2 นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพมาตรฐาน ระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพ สูงสุดในตน มีความรู้และทักษะที่แข็งแกร่งและเหมาะสม เป็นพื้นฐานสĞำคัญ ในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นไป และการดĞำรงชีวิตในอนาคต สĞำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกĞำหนดนโยบายของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนี้ ๑. เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ระบบ และกระบวนการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ให้สĞำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ๒. เร่งพัฒนาความแข็งแกร่งทางการศึกษาให้ผ้เูรียนทุกระดับทกุประเภท รวมถึงเด็กพิการ และด้อยโอกาส มีความรู้ และทักษะแห่งโลกยุคใหม่ควบคู่กันไป โดยเฉพาะทักษะการอ่าน เขียน และการคิด เพื่อให้มีความพร้อมเข้าสู่การศึกษา ระดับสูง และโลกของการทĞำงาน ๓. เร่งปรับระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกัน มีการประสานสัมพันธ์กับเนื้อหา ทักษะ และกระบวนการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการสอน การพัฒนา ทางวิชาชีพ สภาพแวดล้อม การเรียนรู้ ๔. ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้ครูเป็นผู้ที่มีความสามารถและทักษะที่เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียน ผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหารจัดการ และ เป็นผู้นĞำทางวิชาการ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
  • 10. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 3 แก่ผู้เรียน สร้างความมั่นใจและไว้วางใจ ส่งเสริมให้รับผิดชอบต่อผลที่เกิดกับ นักเรียน ที่สอดคล้องกับวิชาชีพ ๕. เร่งสร้างระบบให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพ ที่แข็งแกร่ง และมีประสิทธิภาพ มีความสามารถรับผิดชอบการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ และมาตรฐานได้เป็นอย่างดี ๖. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ และมีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ชัดเจน เป็นสถานศึกษาคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ ที่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากล ๗. สร้างระบบการควบคุมการจัดการการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ที่มีข้อมูล สารสนเทศ และข่าวสาร เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอน อย่างพร้อมบริบูรณ์ และมีนโยบายการประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม ๘. สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทĞำงาน เร่งรัดการกระจายอĞำนาจและ ความรับผิดชอบ ปรับปรุงระบบของโรงเรียน ให้เป็นแบบร่วมคิดร่วมทĞำ การมีส่วนร่วม และการประสานงาน สามารถใช้เครือข่ายการพัฒนา การศึกษาระหว่างโรงเรียนกับโรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ กลุ่มบุคคล องค์กรเอกชน องค์กรชุมชน และองค์กรสังคมอื่น ๙. เร่งปรับระบบการบริหารงานบุคคล มุ่งเน้นความถูกต้อง เหมาะสม และเป็นธรรม ให้เป็นปัจจัยหนุนในการเสริมสร้างคุณภาพและประสิทธิภาพ ขวัญและกĞำลังใจ สร้างภาวะจูงใจ แรงบันดาลใจ และความรับผิดชอบ ในความสĞำเร็จตามภาระหน้าที่ ๑๐. มุ่งสร้างพลเมืองดี ที่ตื่นตัว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้ และทĞำให้การศึกษานĞำการแก้ปัญหาสĞำคัญของสังคม ๑๑. ทุ่มเทมาตรการเพื่อยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่พัฒนาล้าหลัง และโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่ได้คุณภาพ เพื่อไม่ให้ผู้เรียนต้องเสียโอกาสได้รับ การศึกษาที่มีคุณภาพ
  • 11. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 4 ผังมโนทัศน์นโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย พันธกิจ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากร วัยเรียนทุกคน ได้รับการศึกษา อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อคุณภาพ การศึกษา วิสัยทัศน์ ยุทธ- ศาสตร์ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับ ทุกประเภท ขยายโอกาสเข้าถึงบริการ การศึกษาที่มีคุณภาพและ เสมอภาค พัฒนาคุณภาพครูและ บุคลากรทางการศึกษา พัฒนาระบบ การสนับสนุน การจัดการศึกษา กลยุทธ์ ๑. จัดระบบข้อมูลผู้เรียน ๒. สร้างความเข้าใจในการจัดให้สังคม ๓. จัดงบประมาณที่สอดคล้อง กับบริบท ๔. นำ�หลักสูตรสู่การปฏิบัติ ๕. ใช้สื่อนวัตกรรมที่หลากหลาย ๖. จัดระบบนิเทศ ติดตามและ รายงานผล ๗. แนะแนวผู้เรียน ๘. นำ�การทดสอบต่าง ๆ เป็นส่วนหนึ่ง ในการสอน ๙. ส่งเสริมประกันคุณภาพภายใน ๑๐. สอนทั้งวิชาสามัญและวิชาชีพ ๑๑. ส่งเสริมภาษาอังกฤษ เพื่อสื่อสาร และภาษาอาเซียน ๑ ภาษา ๑๒. ประสานการรับนักศึกษา ให้คัดเลือกอย่างหลากหลาย ๑. พัฒนาข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ๒. บริหารงบอุดหนุนรายหัว ตามตัวผู้เรียน ๓. ให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าเรียน ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ จบหลักสูตร ๔. สนับสนุนโรงเรียนดีมีคุณภาพ ครอบคลุมทุกตำ�บล ๕. สนับสนุนโรงเรียน ม.ปลาย ในพื้นที่พิเศษสอนวิชาชีพ ๖. ส่งเสริมการจัดที่หลากหลาย เหมาะสมและได้คุณภาพ ตามมาตรฐาน ๗. สนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียนให้เข้มแข็งและต่อเนื่อง ๘. ประสานช่วยเหลือและจัด การศึกษาที่เหมาะสมแก่เด็ก ที่ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ ๑. พัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะของครู ผ่านการปฏิบัติจริง และการช่วยเหลือ อย่างต่อเนื่อง ๒. พัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษากลุ่ม ที่มีความจำ�เป็น ต้องได้รับการพัฒนา เร่งด่วน ๓. เสริมสร้างระบบ แรงจูงใจในการทำ�งาน สอดคล้องกับ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ๔. ประสานและสนับสนุน องค์กรและคณะบุคคล ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียม และจัดสรรครูที่มี ความสามารถ สอดคล้องกับ ความต้องการของ โรงเรียนและสังคม ๑. กระจายอำ�นาจ ๒. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ๓. ส่งเสริมให้โรงเรียน สำ�นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและ องค์คณะบุคคล มีความรับผิดชอบ ต่อผลการดำ�เนินงาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย เป้า ประสงค์ นักเรียนระดับก่อน ประถมศึกษา มีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามช่วงวัย และได้สมดุลและนักเรียน ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสม ตามช่วงวัยและ มีคุณภาพ ประชากรวัยเรียน ทุกคนได้รับโอกาส ในการศึกษา ขั้นพื้นฐาน อย่างทั่วถึง มีคุณภาพและ เสมอภาค ครู ผู้บริหาร สถานศึกษา และบุคลากร ทางการศึกษาอื่น มีทักษะที่เหมาะสม และมีวัฒนธรรม การทำ�งานที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ สำ�นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและ สถานศึกษา มีประสิทธิภาพและ เป็นกลไกขับเคลื่อน การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาสู่คุณภาพ มาตรฐานระดับสากล สพฐ. บูรณาการ การทำ�งาน เน้นการบริหาร แบบมีส่วนร่วม กระจายอำ�นาจ และความรับผิดชอบ สู่สำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนา คุณภาพ การศึกษา เป็นพิเศษ
  • 13.
  • 14. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 7 ในสภาพปัจจุบันประเทศไทยกĞำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งจะส่งผลให้เกิด การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ของไทยอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ โดยสĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดคะเนว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อัตราส่วนการเป็นภาระของประชากรวัยแรงงานต่อประชากร ผู้สูงอายุ จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นดังภาพต่อไปนี้ อัตราส่วนการเป็นภาระ วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ ๒๕๕๐ ๒๕๖๐ ๒๕๗๐ วัยแรงงาน ๖ คน วัยแรงงาน ๔ คน วัยแรงงาน ๓ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน ต่อผู้สูงอายุ ๑ คน • การลงทุนด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข และด้านสวัสดิการสังคม • การมีอัตราภาวะเจริญพันธุ์ที่ตĞ่ำกว่าระดับทดแทน อาจเป็นปัญหา ในระยะยาว • ประชากรรวมของประเทศ ๖๖.๐๔ ล้านคน ปี ๒๕๕๐ จะเพิ่มขึ้น ในอัตราที่ลดลงจนถึงปี ๒๕๖๘ มีจĞำนวนประชากรสูงสุด ๗๐.๖๕ ล้านคน และเริ่มลดลงจากนั้น ภาพประกอบ ๑ แผนภูมิแสดงอัตราส่วนการเป็นภาระ (วัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ : Aged Dependency Rate)๑ ๑สĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (๒๕๕๑). วิสัยทัศน์ประเทศไทย.... สู่ปี ๒๕๗๐. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. ปีที่ ๔๕ ฉบับที่ ๓. หน้า ๔๖. กรกฎาคม-กันยายน
  • 15. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 8 กล่าวคือ จากเดิมในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ประชากรวัยแรงงาน ๖ คน ดูแลประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน ในขณะที่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ต้องใช้ประชากร วัยแรงงาน ๔ คน ต่อประชากรวัยสูงอายุ ๑ คน และลดลงเป็น ๓ คน ในปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ประชากรวัยแรงงานแต่ละคนจึงต้องมีภาระมากขึ้น เพื่อดูแลประชากรวัยสูงอายุที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ นอกเหนือจากสถานการณ์ ด้านประชากรดังกล่าว ช่วงเวลาที่ประเทศไทยต้องเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ให้เอื้อต่อการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน เพื่อก้าวออกจากกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง ย่อมส่งผลให้การศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานทวีความสĞำคัญ ต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากประเทศต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ สามารถแข่งขันกับนานาชาติ จนสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการดูแลประชากร วัยสูงอายุของไทย ซึ่งมีสัดส่วนต่อประชากรวัยอื่น ๆ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงความจĞำเป็นในสถานการณ์ข้างต้น จึงมุ่งพัฒนานักเรียนทุกคน ในมิติด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนบรรลุถึงศักยภาพสูงสุดในตน มีความรู้และทักษะการอ่านเขียนและคิดคĞำนวณที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นพื้นฐานสĞำคัญ ในการเรียนรู้และการดĞำรงชีวิตในอนาคต อย่างไรก็ตาม สĞำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเผชิญปัญหาและความท้าทายในการพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานของชาติ สาระสĞำคัญดังนี้ ๑. ด้านคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยยังไม่ถึงระดับ มาตรฐานสากล ถึงแม้จะมีแนวโน้มว่าจะดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วงของการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพผู้เรียนในระดับนานาชาติ ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติ และ ระดับนานาชาติ เป็นดังต่อไปนี้
  • 16. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 9 ๑.๑ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในวิชาหลัก ๕ วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ไม่มีระดับชั้นใดที่ได้คะแนนเฉลี่ย สูงกว่าร้อยละ ๕๐ รายละเอียดดังนี้ • วิชาภาษาไทย ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทุกระดับชั้น สูงกว่าร้อยละ ๔๐ โดยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงขึ้น ส่วนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนน้อยกว่าปี ๒๕๕๕ โดยเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีคะแนนน้อยกว่าปีก่อนประมาณ ๑๐ คะแนน • วิชาคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๖ มีคะแนนเกินกว่าร้อยละ ๔๐ ซึ่งเป็นคะแนนที่สูงขึ้นกว่าปีก่อนและสูงกว่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยทั้งสองชั้นมีคะแนนน้อยกว่า ปีก่อนเล็กน้อย • วิชาวิทยาศาสตร์ ทั้งชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงกว่าร้อยละ ๓๐ โดยมีเพียง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคะแนนสูงกว่าปีก่อน • วิชาสังคมศึกษา ทั้งชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ระดับชั้นมีคะแนนอยู่ระหว่างร้อยละ ๓๐-๔๐ โดยล้วนมีคะแนนตĞ่ำกว่าปีที่ผ่านมา • วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนอยู่ในระหว่างร้อยละ ๒๕-๓๔ โดยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนสูงกว่าปีผ่านมา
  • 17. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 10 ดังภาพประกอบ ๒ ๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ ๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ ๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ ๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ ๒๒๕๕๕๕๐๑ ๒๒๕๕๕๕๒๓ ๒๒๕๕๕๕๔๕ ๒๕๕๖ ๖๐ ๕๐ ๔๐ ๓๐ ๒๐ ๑๐ ๐ คะแนน O-NET ภาษาไทย คณิต วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ ป.๖ ม.๓ ม.๖ ภาพประกอบ ๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๖ ๑.๒ ผลการประเมินระดับนานาชาติ ๑.๒.๑ ผลการทดสอบ Programme for International Student Assessment (PISA) ซึ่งเป็นการทดสอบนักเรียนอายุ ๑๕ ปี ในระดับ นานาชาติ เมื่อพิจารณาผลของนักเรียนจากประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในการทดสอบปี ค.ศ. ๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖) นักเรียนไทย ได้ผลคะแนนสูงกว่าทั้งมาเลเซีย และอินโดนีเซียทุกวิชา แต่ตĞ่ำกว่าสิงคโปร์ ซึ่งมีผลคะแนนทุกวิชาในกลุ่มบนสุดของโลก และเวียดนาม ซึ่งเพิ่งเข้าทดสอบ เป็นครั้งแรก ทั้งสองประเทศมีผลคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ย OECD ในขณะที่ นักเรียนไทยยังมีคะแนนไม่ถึงค่าเฉลี่ยของนักเรียนในกลุ่มประเทศ OECD
  • 18. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 11 เมื่อเปรียบเทียบ PISA ปี ค.ศ. ๒๐๐๙ (พ.ศ. ๒๕๕๓) กับปี ค.ศ. ๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖) พบว่าในปี ๒๐๑๒ นักเรียนไทยมีผลการประเมิน เพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน ในด้านการอ่านและวิทยาศาสตร์ โดยคณิตศาสตร์ เพิ่มขึ้นเล็กน้อย และเมื่อจัดลĞำดับจาก ๖๕ ประเทศ การอ่านของนักเรียนไทย อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๗-๕๑ คณิตศาสตร์อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๘-๕๒ และ วิทยาศาสตร์อยู่ในช่วงลĞำดับที่ ๔๗-๔๙ คะแนน การอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ PISA ๒๐๐๐ ๔๕๐ ๔๔๕ ๔๔๐ ๔๓๕ ๔๓๐ ๔๒๕ ๔๒๐ ๔๑๕ ๔๑๐ PISA ๒๐๐๓ PISA ๒๐๐๖ PISA ๒๐๐๙ PISA ๒๐๑๒ ภาพประกอบ ๓ คะแนนผลการทดสอบ PISA ของนักเรียนไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๐-๒๐๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๕๖) เมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบที่ผ่านมาตั้งแต่ การทดสอบครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ พบว่าในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ นักเรียนไทย ทĞำคะแนนสอบได้สูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ในวิชาวิทยาศาสตร์และการอ่าน และทั้ง ๓ วิชา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในภาพของโรงเรียนสังกัด สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สามารถทĞำคะแนนได้สูงขึ้น อย่างมาก ทั้งโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาเดิม (เปิดสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖) และขยายโอกาสทางการศึกษา (โรงเรียนที่เปิดสอน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และในบางโรงเรียนเปิดสอน
  • 19. นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 12 ถึงระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย) โดยเฉพำะโรงเรียนขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ สำมำรถทĞำคะแนนวิชำคณิตศำสตร์และกำรอ่ำนเพิ่มขึ้นถึงหนึ่งระดับ อย่ำงไรก็ตำม ผลกำรประเมินในปีนี้จำกกำรวิเครำะห์ผลจĞำแนกตำมภูมิภำค พบว่ำ นักเรียนในภำคกลำงยกเว้นกรุงเทพมหำนคร และปริมณฑล มีคะแนน ตĞ่ำกว่ำภำคอื่น ๆ โดยระหว่ำงกลุ่มโรงเรียนต่ำง ๆ ผลคะแนนต่ำงกันมำก กลุ่มโรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย ไม่เพียงคะแนนสูงกว่ำค่ำเฉลี่ย OECD คะแนนยังสูงเปรียบเทียบได้กับประเทศผู้นĞำของโลก (วิทยำศำสตร์ ๕๖๕ กำรอ่ำน ๕๕๔ ทั้งสองวิชำมีคะแนนตĞ่ำกว่ำเพียงเซียงไฮ้-จีน ซึ่งเป็นอันดับหนึ่ง ของโลก คณิตศำสตร์ ๕๗๐ ตĞ่ำกว่ำเพียงเซียงไฮ้-จีน และสิงคโปร์) ในขณะที่ โรงเรียนมัธยมศึกษำ สังกัดกรมสำมัญศึกษำเดิม และโรงเรียนขยำยโอกำส ทำงกำรศึกษำยังตĞ่ำกว่ำค่ำเฉลี่ย OECD ประเทศไทยจึงจĞำเป็นต้องส่งเสริม กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนอย่ำงต่อเนื่องในโรงเรียนทุกประเภท ๑.๓ ผลกำรประเมินระดับนำนำชำติ TIMSS ปี ๒๐๑๑ เมื่อเทียบกับ ปี ๒๐๐๗ พบว่ำนักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษำ ปีที่ ๒ มีผลคะแนนวิชำวิทยำศำสตร์สูงขึ้น เป็นอันดับที่ ๒๕ ของจำก ๖๓ ประเทศ ทั่วโลก และขึ้นมำเป็นอันดับสองของภูมิภำคอำเซียน รองจำกสิงคโปร์ ทั้งนี้ เมื่อพิจำรณำผลคะแนนวิชำคณิตศำสตร์ของไทยพบว่ำลดลงเช่นเดียวกับ มำเลเซียและอินโดนีเซีย โดยมำเลเซียอยู่ในอันดับที่ ๒๖ สูงกว่ำไทยที่อันดับ ที่ ๒๘ ดังภำพประกอบ ๔
  • 20. นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 13 ภำพประกอบ ๔ แนวโน้มคะแนนวิชำคณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์จำกกำรประเมิน TIMSS ของไทย ปี ๒๕๕๐-๒๕๕๔ ที่มำ : ๑. สĞำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, สถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาของประเทศไทย ๒๕๕๕. ไตรมำส ๑ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ มกรำคม-มีนำคม ๒๕๕๖. ๒. สĞำนักทดสอบทำงกำรศึกษำ, ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กรกฎำคม ๒๕๕๒. ๖๕๐ ๖๐๐ ๕๕๐ ๕๐๐ ๔๕๐ ๔๐๐ ๓๕๐ จีน (ไทเป) สิงคโปร์ เกำหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง มำเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย จีน (ไทเป) สิงคโปร์ เกำหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง มำเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย วิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ ๒๕๕๐ ๒๕๕๔ ๕๙๐ ๔๒๖ ๔๗๔ ๔๔๔๑๕๑ ๖๑๑ ๕๙๓ ๔๔๐ ๔๗๔ ๔๒๗ ๔๗๑ ๕๖๗
  • 21. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 14 ๒. ด้านโอกาสทางการศึกษา ที่ผ่านมาการจัดการศึกษาของประเทศไทยประสบความสĞำเร็จ ด้านการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสามารถ เพิ่มจĞำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากร อายุระหว่าง ๑๖-๖๙ ปี จากร้อยละ ๕.๓ ในปี ๒๕๒๙ เป็นร้อยละ ๘.๓ ในปี ๒๕๕๓ และเพิ่มการเรียนต่อหลังจบ การศึกษาภาคบังคับ ได้แก่ การเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากร้อยละ ๖.๙ ในปี ๒๕๒๙ เป็นร้อยละ ๕๓.๗ ในปี ๒๕๕๓๑ นอกจากนี้ ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๕๑ ถึง ๒๕๕๕ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนมีแนวโน้มลดลง ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากผลการดĞำเนินโครงการสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๕ ปี ดังแสดงในภาพประกอบ ๕ ๓.๐๐ ๒.๕๐ ๒.๐๐ ๑.๕๐ ๑.๐๐ ๐.๕๐ ๐.๐๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย อัตราการออกกลางคัน (ร้อยละ) ภาพประกอบ ๕ อัตราการออกกลางคันของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ. ปีการศึกษา ๒๕๕๑-๒๕๕๕ ๑ดิลกะ ลัทธิพิพัฒน์ (๒๕๕๕). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทางการศึกษาต่อสัมฤทธิผล ของนักเรียนไทย เอกสารนĞำเสนอในการสัมมนาวิชาการ ประจĞำปี ๒๕๕๔ เรื่องยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. ร่วมจัดโดยสĞำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สĞำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา สĞำนักงานปฏิรูป และมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์.
  • 22. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 15 แม้เด็กไทยส่วนใหญ่ได้รับโอกาสทางการศึกษา โดยมีอัตราการเข้าเรียน ค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรวัยเรียน แต่เมื่อพิจารณาประชากร กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ได้แก่ กลุ่มผู้มีรายได้ตĞ่ำสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากร ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษา โดยมีระดับการศึกษาไม่เกินระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นถึงร้อยละ ๙๔ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างชายหญิง กลุ่มเด็กชายมีแนวโน้มที่จะไม่ประสบผลสĞำเร็จในการเรียนและเสี่ยงต่อการ ออกกลางคัน๑ ซึ่งสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องส่งเสริม การให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชากรวัยเรียน ในกลุ่มนี้ต่อไป ๓. ด้านการบริหารจัดการ แม้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ปี พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒ โรงเรียนสังกัดสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา จะได้รับการรับรองถึงกว่าร้อยละ ๘๐ แต่การกระจายอĞำนาจการบริหารการจัดการ สู่สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการบริหารจัดการ ยังทĞำได้น้อย๒ สถานศึกษาที่มีศักยภาพและความพร้อมสูงในการจัดการศึกษา มีเพียงร้อยละ ๑๗๓ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของไทยเมื่อจัดลĞำดับแล้ว ถือว่าตĞ่ำ โดยเมื่อพิจารณางบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ อยู่ที่อันดับ ๕๒ จาก ๕๗ ประเทศที่เข้าร่วมรับการประเมิน สมรรถนะในการแข่งขัน ด้านการศึกษาปี ๒๕๕๒ รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณ ๑คĞำรับรองการปฏิบัติราชการสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔. ๒สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๒). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒- ๒๕๖๑). สิ่งพิมพ์ สกศ. ลĞำดับที่ ๕๗/๒๕๕๒. ๓สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (๒๕๕๕). รายงานการวิจัยการประเมินศักยภาพและความพร้อมของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับการกระจายอĞำนาจการจัดการศึกษา. สิ่งพิมพ์ สกศ. ลĞำดับที่ ๑๗/๒๕๕๕.
  • 23. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 16 ให้ในสัดส่วนที่สูง แต่ประสิทธิภาพการใช้จ่ายอยู่ในเกณฑ์ตĞ่ำ๑ โดยงบประมาณ การศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยยังคงถูกจัดสรรจากด้านอุปทานเป็นหลัก และ งบประมาณกว่าร้อยละ ๗๕ ไม่มีความสัมพันธ์กับจĞำนวนนักเรียนโดยตรง๒ ๔. ความสามารถในการแข่งขัน กุญแจสĞำคัญในการแข่งขันในเวทีโลก คือ คุณภาพและสมรรถภาพ ของคนไทยทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาเด็กไทย ให้มีความพร้อมรองรับ การเป็นสังคมผู้สูงอายุในอนาคต คุณภาพและสมรรถภาพดังกล่าว หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เขียน การคิดคĞำนวณ คิดวิเคราะห์ ความสามารถ ทางเทคโนโลยี และการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ ทั้งภาษาสากล และภาษา ของประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น นอกจากนี้ เด็กไทยควรมีทักษะที่จĞำเป็น ในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ ความรู้ในวิชาแกนตามศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะชีวิตและ ทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และการสร้างนวัตกรรม และทักษะทางข้อมูล สื่อ และเทคโนโลยี๓ พร้อมทั้งทักษะชีวิตในระบบเศรษฐกิจสังคมพหุวัฒนธรรม ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงสถานการณ์รุนแรงและภัยพิบัติต่าง ๆ นอกจากนี้ จริยธรรมในการทĞำงาน เป็นคุณสมบัติของพนักงานที่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร เอกชนในประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา พิจารณาว่าสĞำคัญที่สุด เหนือกว่าการทĞำงาน เป็นทีม การมีความสามารถในการตัดสินใจ การคิดวิพากษ์ ความสามารถในการใช้ ๑วิทยากร เชียงกูล (๒๕๕๓). สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ : บทบาทการศึกษากับการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคม. ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓. ๒มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทĞำยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. ๓วิจารณ์ พานิช (๒๕๕๕). การจัดการเรียนรู้สĞำหรับศตวรรษที่ ๒๑. วันที่ได้รับข้อมูล ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ จากแหล่งข้อมูล http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/userfiles/files/moso_market๓/ Review_doc.pdf
  • 24. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 17 คอมพิวเตอร์ และความสามารถในการอ่านและคĞำนวณขั้นพื้นฐาน๑ (รายละเอียด ดังภาคผนวก ซ) ความท้าทายดังกล่าวเป็นแรงผลักดันให้การศึกษาไทยต้องมี การพัฒนาอย่างเร่งด่วน โดยการเรียนรู้ยุคใหม่ต้องสอนให้น้อยลงและเรียนรู้ ให้มากขึ้น ให้ความสĞำคัญกับทักษะมากกว่าสาระการเรียนรู้ ให้นักเรียน เป็นผู้ชี้ทิศทางการเรียนรู้ เรียนแบบร่วมมือกัน เรียนกันเป็นทีม และประเมินผล แบบใหม่โดยถามวิธีคิด ประเมินเป็นทีม และข้อสอบไม่เป็นความลับ แต่เป็นตัวกระตุ้นให้เรียนรู้๒ แต่ในปัจจุบัน การศึกษาไทยยังไม่สามารถให้การศึกษาที่มีคุณภาพ และเตรียมความพร้อมนักเรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขันกับประชาคมโลก ได้เท่าที่ควร แม้แต่การพิจารณาดัชนีการพัฒนามนุษย์ของโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ พบว่า ประเทศไทยมีดัชนีการพัฒนาทุนมนุษย์ในอันดับที่ ๘๑ จากทั้งหมด ๑๓๔ ประเทศ ซึ่งเป็นลĞำดับที่ตĞ่ำกว่าอันดับความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจ ซึ่งได้อันดับที่ ๓๔ โดยประเทศไทยมีสภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมตĞ่ำกว่าประเทศที่มีประชากรและทรัพยากรใกล้เคียงกัน สะท้อนว่า ประเทศไทยพัฒนาน้อยกว่าประเทศอื่น นอกจากนี้ ดัชนีขีดความสามารถ ทางการแข่งขันเปรียบเทียบกับ ๖๐ ประเทศ โดย IMD ในปี ๒๕๕๗ พบว่า ลดลงจากเดิม ๒ อันดับ มาอยู่ที่อันดับที่ ๒๙ โดยตัวชี้วัดด้านการศึกษา โดยรวมอยู่อันดับที่ ๕๔ ซึ่งตัวชี้วัดที่อันดับลดลงมากที่สุด คือ คุณภาพ อุดมศึกษาที่ตอบสนองต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ตามด้วยอัตราการเข้าเรียน ระดับมัธยมศึกษา และตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่ถูกจัดลĞำดับไว้ตĞ่ำที่สุดที่ลĞำดับ ๕๗ คือ ผลการสอบ TOEFL รายละเอียดดังนี้ ๑Conference Board (May, ๒๐๑๓). The Business Council Survery of Chief Executive. แหล่งข้อมูล http://www.thebusinesscouncil.org/assets/TCB_BCS_MAY_๒๐๑๓.pdf วันที่ได้รับข้อมูล ๓ เมษายน ๒๕๕๗ หน้า ๗-๘. ๒วิจารณ์ พานิช (๒๕๕๕). การจัดการเรียนรู้สĞำหรับศตวรรษที่ ๒๑. วันที่ได้รับข้อมูล ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ จากแหล่งข้อมูล http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/userfiles/files/moso_market๓/ Review_doc.pdf
  • 25. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 18 ตารางการจัดอันดับคะแนนด้านการศึกษาของไทย โดย ไอเอ็มดี (international Institute for Management Development : IMD) ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) ตัวชี้วัด อันดับเปรียบเทียบ ๖๐ ประเทศ การเปลี่ยนแปลงอันดับ เมื่อเปรียบเทียบปี ๒๕๕๖ งบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ๔๒ ๐ งบประมาณด้านการศึกษาต่อระดับรายได้ต่อคน ๕๓ ๐ งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียน ๔๑ -๖ สัดส่วนนักเรียนต่อครูในระดับประถมศึกษา ๓๔ +๒๐ สัดส่วนนักเรียนต่อครูในระดับมัธยมศึกษา ๕๔ +๒ อัตราการเข้าเรียนมัธยมศึกษา ๕๕ -๗ อัตรากลุ่มประชากรอายุ ๒๕-๓๔ ที่จบการศึกษาอุดมศึกษา ๕๐ -๒ จĞำนวนนักเรียนต่างชาติในระดับอุดมศึกษาต่อประชากร ๔๗ +๑ ๑,๐๐๐ คน จĞำนวนนักเรียนไทยที่เรียนต่ออุดมศึกษาในต่างประเทศ ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน ๕๐ -๑ ผลการทดสอบพิซ่า ปี ๒๐๑๒ ๔๔ ๐ ผลการทดสอบ TOEFL ๕๗ -๑ คุณภาพการศึกษา ๔๙ -๖ คุณภาพการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ๔๔ ๑ คุณภาพอุดมศึกษาที่ตอบสนองต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ๔๘ -๑๐ คุณภาพการศึกษาด้านบริหารที่ตอบสนองภาคธุรกิจ ๔๒ -๔ อัตราประชากรอายุมากกว่า ๑๕ ปี ที่ไม่รู้หนังสือ ๕๐ -๓ ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของนายจ้าง ๕๑ -๑ ที่มา : สสค. ดังนั้น หากประเทศไทย โดยทุกภาคส่วนในสังคมไทยไม่หันมา ให้ความสĞำคัญกับการพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง จะส่งผลให้ความสามารถ ของประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโลก ลดตĞ่ำลงไปอีก๑ ๑วิทยากร เชียงกูล (๒๕๕๓). สภาวะการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ : บทบาทการศึกษากับการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคม. ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา สĞำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ ๑๘/๒๕๕๓.
  • 26. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 19 จากข้อมูลข้างต้น สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กĞำหนดนโยบายที่สอดคล้องกับแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๙) รายละเอียด ตามภาคผนวก ก และ ข และแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) และความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ทั้งในส่วนกลาง และในเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศจากแบบสอบถาม จากการประชุมสัมมนาข้อเสนอนโยบายสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร และจากการประชุมปฏิบัติการจัดทĞำร่างนโยบาย สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในวันที่ ๒๖-๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ด้วยตระหนักดีว่า การศึกษายังมีโอกาสพัฒนาได้ในสังคมไทยเนื่องจากพ่อแม่ผู้ปกครอง ยังคงคาดหวัง และให้ความสĞำคัญอย่างสูงต่อการศึกษาของบุตรหลานของตน โดยในปี ๒๕๕๒ ครัวเรือนไทยใช้จ่ายเพื่อการศึกษากว่า ๗๘,๘๒๕ ล้านบาท๑ การปฏิบัติงานในระยะต่อไปของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงเน้นยĞ้ำการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในมิติของคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กลไกการกระจายอĞำนาจเดิม และการส่งเสริมการสร้างความรับผิดชอบ ต่อคุณภาพนักเรียนให้แก่ผู้ปฏิบัติ ทั้งในส่วนกลางในเขตพื้นที่การศึกษา และในโรงเรียน รวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนา เพิ่มเติมในประเด็นที่เป็นความท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีสาระสĞำคัญในบทต่อไป ๑มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (๒๕๕๖). รายงานฉบับสมบูรณ์การจัดทĞำยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ.
  • 28. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 21 บทที่ ๒ องค์ประกอบนโยบาย สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
  • 29.
  • 30. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 23 เพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยพัฒนาไปในทิศทาง ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศ และของโลก สĞำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กĞำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ผลผลิต และจุดเน้น ดังนี้ วิสัยทัศน์ การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐาน ระดับสากล๑ บนพื้นฐานของความเป็นไทย พันธกิจ ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับการศึกษา อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ๒. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์๒ ตามหลักสูตร ๓. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้าง ความรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษา ๑มาตรฐานระดับสากล รวมถึง ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียง มาตรฐานสากล และการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ๒ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นลักษณะ ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วยคุณลักษณะ ๘ ประการ ได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทĞำงาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 31. นโยบายสำ:นักง:นคณะกรรมก:รก:รศึกษ:ขั้นพื้นฐ:น ปีงบประม:ณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 24 เป้ำประสงค์ เพื่อให้กำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนของประเทศไทย มีคุณภำพ และมำตรฐำนระดับสำกล บนพื้นฐำนของควำมเป็นไทย สĞำนักงำน คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จึงกĞำหนดเป้ำประสงค์ดังนี้ ๑. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษำมีพัฒนำกำรที่เหมำะสม ตำมช่วงวัย และได้สมดุล และนักเรียนระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนทุกคน มีพัฒนำกำรเหมำะสมตำมช่วงวัยและมีคุณภำพ ๒. ประชำกรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกำสในกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน อย่ำงทั่วถึง มีคุณภำพ และเสมอภำค ๓. ครู ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอื่น มีทักษะ ที่เหมำะสม และมีวัฒนธรรมกำรทĞำงำนที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ๔. สĞำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำมีประสิทธิภำพ และเป็นกลไกขับเคลื่อนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนสู่คุณภำพระดับมำตรฐำนสำกล ๕. สĞำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนบูรณำกำรกำรทĞำงำน เน้นกำรบริหำรแบบมีส่วนร่วม กระจำยอĞำนำจและควำมรับผิดชอบสู่สĞำนักงำน เขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำ ๖. พื้นที่พิเศษ ได้รับกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำเป็นพิเศษ
  • 32. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 25 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท เป้าประสงค์ที่ ๑ นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามช่วงวัยและได้สมดุล และนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัยและมีคุณภาพ กลยุทธ์ ๑. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของผู้เรียนทุกระดับ ทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ๒. ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้แก่ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน มุ่งพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับวัย ทักษะและคุณลักษณะที่จĞำเป็นของนักเรียนที่สถานประกอบการต้องการ และที่จĞำเป็นต่อการใช้ชีวิตในอนาคต เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย สู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ๓. สนับสนุนการจัดสรรงบประมาณ ในรูปแบบที่ส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ รวมถึงระดับและประเภท ของผู้เรียน ๔. ส่งเสริมการนĞำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึง การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม ท้องถิ่น และผู้เรียน ๕. ใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา
  • 33. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 26 ๖. จัดระบบนิเทศ ติดตามผล และรายงานผล ให้มีความเข้มแข็ง และต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม และหลากหลายมิติ เน้นการนิเทศแบบกัลยาณมิตร ๗. สนับสนุนให้มีการแนะแนวผู้เรียน ให้มีแรงจูงใจในการเรียน เพื่อการเรียนต่อและการมีอาชีพสุจริต เพื่อความมั่นคงในชีวิต ด้วยผู้แนะแนว ที่หลากหลาย เช่น ครู ผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ ทั้งที่เป็นผู้ปกครอง ศิษย์เก่า ผู้ที่ทĞำงานสถานประกอบการใน/นอกพื้นที่ ๘. ส่งเสริมสนับสนุนการนĞำการทดสอบ O-NET การประเมินของ PISA และระบบการทดสอบกลางของสĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ และมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน ๙. ส่งเสริมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ให้มีความเข้มแข็ง เพื่อรองรับการประเมินภายนอก ๑๐. จัดระบบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีการเรียนการสอน ทั้งวิชาสามัญ และวิชาชีพ เพื่อรองรับการมีอาชีพตั้งแต่การเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๑. ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร และภาษาอาเซียนอย่างน้อย ๑ ภาษา เพื่อรองรับการก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และสู่มาตรฐานสากล ๑๒. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกผู้เรียนที่จบการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อเรียนต่อ ให้มีวิธีการคัดเลือกที่หลากหลาย สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกเหนือจากการวัดความรู้ และความสามารถในการ สอบแข่งขัน
  • 34. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 27 ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีคุณภาพ เป้าประสงค์ที่ ๒ ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษา ขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และเสมอภาค เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนเป็นรายบุคคล ทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพให้มีประสิทธิภาพ ๒. สนับสนุนการบริหารจัดการงบประมาณ ประเภทงบเงินอุดหนุน รายหัวให้ผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้แบบตามตัวผู้เรียน (Demand-side Financing) มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานที่จัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน เน้นการบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ ๓. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกระดับ และทุกประเภท มีโอกาสเข้าเรียน ในโรงเรียนที่มีคุณภาพ เรียนจนจบหลักสูตร มีโอกาสเรียนต่อ มีอาชีพที่สุจริต และมั่นคงในชีวิต ๔. สนับสนุนโรงเรียนดีมีคุณภาพ ทั้งในระดับประถมศึกษาและ ระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นโรงเรียนที่มีรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งสู่ มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้ครอบคลุมทุกจังหวัด อĞำเภอ ตĞำบล ๕. สนับสนุนให้โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในพื้นที่พิเศษมีโอกาสจัดการศึกษาด้านวิชาชีพ ทั้งที่จัดเอง และสร้างความร่วมมือ กับหน่วยงานอื่น เพื่อเป็นการสร้างอาชีพสุจริตให้กับผู้เรียน
  • 35. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 28 ๖. ส่งเสริมการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบปกติ รูปแบบเพื่อความเป็นเลิศ รูปแบบเพื่อเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาส และรูปแบบ การศึกษาทางเลือก จัดให้มีความเหมาะสมและเต็มศักยภาพของผู้เรียน และยังคงระดับคุณภาพตามมาตรฐาน ๗. ส่งเสริมสนับสนุนระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้มีความเข้มแข็ง และต่อเนื่อง ๘. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วางแนวทางการดูแลช่วยเหลือ และจัดการศึกษาที่เหมาะสม แก่เด็กด้อยโอกาสที่ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ เช่น บุตรหลานของแรงงานต่างด้าว เด็กไร้สัญชาติ เด็กพลัดถิ่น เด็กต่างด้าว เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจĞำตัวประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ ๓ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น มีทักษะที่เหมาะสม และมีวัฒนธรรมการทĞำงานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. พัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะของครู ผ่านการปฏิบัติจริงและ การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง ๑.๑ เผยแพร่องค์ความรู้ และแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม วิธีการ จัดการเรียนการสอน การพัฒนาการคิด และการวัดประเมินผล ให้สามารถพัฒนา และประเมินผลนักเรียนให้มีคุณภาพตามศักยภาพเป็นรายบุคคล ๑.๒ พัฒนาครูที่มีอยู่ให้สามารถจัดการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียน ต้องการได้ด้วยตนเองหรือใช้สื่อเทคโนโลยี
  • 36. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 29 ๑.๓ ส่งเสริมระบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรโดยเขตพื้นที่การศึกษา และโดยเพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนเดียวกัน หรือระหว่างโรงเรียน หรือภาคส่วนอื่น ๆ ตามความพร้อมของโรงเรียน ๑.๔ ส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในพื้นที่ ทั้งในโรงเรียน เดียวกัน ระหว่างโรงเรียน หรืออื่น ๆ และในองค์กร สังกัดสĞำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหน่วยงาน ๑.๕ ส่งเสริมให้ครูมีสมรรถนะภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเรียนรู้ได้ในระดับดี ๒. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มที่มีความจĞำเป็นต้องได้รับการพัฒนา เร่งด่วน ๓. เสริมสร้างระบบแรงจูงใจ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญกĞำลังใจในการทĞำงาน สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ๓.๑ ยกย่องเชิดชูเกียรติครูที่เป็นครูมืออาชีพ และบุคลากร ทางการศึกษา ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ทั้งด้าน ๑) การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๒) การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ๓) การมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม และ เป็นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม ๓.๒ ส่งเสริมความก้าวหน้าของครู ให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้น ให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนและรายได้ของครู ๔. ประสานและสนับสนุนให้กับองค์กรและคณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง จัดเตรียมและจัดสรรครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความสามารถสอดคล้อง กับความต้องการของโรงเรียน และสังคม
  • 37. นโยบายสำ:นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ 30 ๔.๑ สร้างความตระหนักกับองค์กรที่มีบทบาทโดยตรงกับ การบรรจุครูในพื้นที่ ถึงความจĞำเป็นต้องจัดสรรครูให้ตรงวิชาที่โรงเรียนขาดแคลน ๔.๒ สร้างค่านิยมสĞำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ให้รับผิดชอบ ต่อผลด้านคุณภาพของการจัดการศึกษา ๔.๓ ประสานสถาบันอุดมศึกษาผลิตครูที่มีวิชาเอกตรงกับ ความต้องการและสามารถจัดการเรียนรู้ เพื่อผู้เรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ และสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เป้าประสงค์ที่ ๔ สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีประสิทธิภาพ และเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพระดับ มาตรฐานสากล เป้าประสงค์ที่ ๕ สĞำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน บูรณาการการทĞำงาน เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม กระจายอĞำนาจและ ความรับผิดชอบสู่สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา เป้าประสงค์ที่ ๖ พื้นที่พิเศษ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นพิเศษ กลยุทธ์ ๑. กระจายอĞำนาจและความรับผิดชอบ ๑.๑ ส่งเสริมสนับสนุนให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษา มีความสามารถและมีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการด้วยตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๒ บูรณาการการทĞำงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่าง หน่วยงานต่าง ๆ ในส่วนกลาง เพื่อส่งเสริมให้สĞำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ ตามบริบทได้เพิ่มขึ้น