SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
©ºÑº·Õè 1/2556
ไอดีซ�ฟนธง
ท็อปเทรนดปมะเส็ง 6
เปดคูมือซ�ไอโอ
รับมือยุค Post PC 14
เทคนิคการเลือก
คลาวด โพรวายเดอร 20
NEWSLETTER
โมบายแอพฯ-คลาวด-สามจี
ดันอุตสาหกรรมไอซีทีป 56
ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹·Ø¡·‹Ò¹¤Ð ¨´ËÁÒ¢‹ÒÇ
»ÃÐà´ÔÁ»‚ÁÐàÊç§ â´Â¹Ó¤ÇÒÁà¤Å×è͹äËǨѺ¡ÃÐáÊ
à·¤â¹âÅÂÕâÅ¡ ¾ÃŒÍÁÁØÁÁͧ㹻ÃÐà·Èä·Â«Ö觨Ð
ª‹ÇÂãËŒ¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹àËç¹·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á·Õè¡ÓÅѧ¨Ðà¡Ô´¢Öé¹
à¾×èÍãËŒ·‹Ò¹¾ÃŒÍÁÃѺÁ×͡Ѻ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐ
ࢌÒÊÙ‹µÅÒ´ªÔ§¤ÇÒÁä´Œà»ÃÕºà˹×ًͤᢋ§
㹩ºÑºË¹ŒÒàÃҨйӷ‹Ò¹ä»·Ó¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñº
¤Ø³à©ÅÔÁ¾Å µÙŒ¨Ô¹´Ò ¼ÙŒÍӹǡÒëͿµáÇϾÒϤ
¤¹ãËÁ‹·ÕèࢌÒÁÒÃѺµÓá˹‹§àÁ×è͵Œ¹»‚·Õ輋ҹÁÒ áÁŒ¨ÐãËÁ‹
㹺·ºÒ·¼ÙŒÍӹǡÒÃᵋ¡çÁÕ¤ÇÒÁ¤ØŒ¹à¤Â¡Ñº«Í¿µáÇÏ
¾ÒϤ໚¹Í‹ҧ´Õã¹°Ò¹ÐÍ´ÕµÃͧ¼ÙŒÍӹǡÒÃ
«Í¿µáÇϾÒϤ áÅзÓãËŒ¡ÒâѺà¤Å×è͹¡ÒþѲ¹Ò
«Í¿µáÇϾÒϤáÅÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ«Í¿µáÇÏä·Â
㹪‹Ç§à»ÅÕè¹¼‹Ò¹ä»à»š¹Í‹ҧÃÒºÃ×è¹...äÃŒÃ͵‹Í
´ŒÇ¤ÇÒÁ¹Ñº¶×Í
¼ÙŒ¨Ñ´·Ó
ແ´Á‹Ò¹Ê¹·¹Ò
àÃ×èͧ¨Ò¡»¡
âÁºÒÂá;Ï-¤ÅÒÇ´-ÊÒÁ¨Õ
´Ñ¹ÍصÊË¡ÃÃÁäÍ«Õ·Õ »‚ 56
˹ŒÒµ‹Ò§áË‹§âÍ¡ÒÊ
äÍ´Õ«Õ¿˜¹¸§·çÍ»à·Ã¹´»‚ÁÐàÊç§
·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á
ÊÔºÍѹ´ÑºÊØ´ÂÍ´á¹Ç⹌Á
à·¤â¹âÅÂÕ »‚ 2556
¡ÃÐáÊäÍ·Õ
ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´
Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚ 56
àÍʾÕäÍ ¤Í¹à¹ÍÏ
¿ÇªÑè¹ â«ÅÙªÑè¹ ÅØ CMMI
à¾ÔèÁ¢Õ´á¢‹§¢Ñ¹ÃѺàÍÍÕ«Õ
½†ÒÇÔ¡ÄµÔ «ÕäÍâÍ
ແ´¤Ù‹Á×Í«ÕäÍâÍÃѺÁ×ÍÂؤ Post PC
¤ÅÒÇ´ Í͹ à´ÍÐ ÁÙ¿
ä·ÂÃÑ駷ŒÒ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ
¤ÅÒÇ´ ¤ÍÁ¾ÔǵÔé§ ã¹àÍàªÕÂ
App on stage
TSquare Traffic &
Taxi Application
á;ÍѨ©ÃÔÂн†ÒÇԡĵԨÃÒ¨Ãä·Â
äÍ·Õ µÔ´´ÒÇ
OOKBEE Íպ؍¡ä·Â¡ŒÒÇä¡ÅÍÔ¹àµÍÏ
¨Ñºà¢‹Ò¤ØÂ
ແ´ã¨Êͧ¡ÅØ‹Á·Ø¹ä·Â¡ÑºÀÒáԨ
ÊÌҧ«ÔÅԤ͹ÇÑÅàŋáË‹§àÍàªÕÂ
·Ô» á͹´ ·ÃÔ¤
à·¤¹Ô¤¡ÒÃàÅ×Í¡
¤ÅÒÇ´ â¾ÃÇÒÂà´ÍÏ
ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº
µÒÃҧͺÃÁ
¨Ñ´·Óâ´Â
ࢵÍصÊÒË¡ÃÃÁ«Í¿µáÇÏ»ÃÐà·Èä·Â (Software Park Thailand)
ÀÒÂ㵌Êӹѡ§Ò¹¾Ñ²¹ÒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕáË‹§ªÒµÔ (ÊÇ·ª.)
99/31 ÍÒ¤Òà Software Park ¶¹¹á¨Œ§ÇѲ¹Ð »Ò¡à¡Ãç´ ¹¹·ºØÃÕ
11120 â·Ã. 0-2583-9992, â·ÃÊÒÃ 0-2583-2884
www.swpark.or.th
www.tmc.nstda.or.th
www.nstda.or.th
3
8
11
15
18
16
2
3
6
8
11
13
14
15
16
17
18
20
21
23
ÊÒúÑÞ
ແ´Á‹Ò¹Ê¹·¹Ò
การเปดใหบริการสามจีบนยานความถี่ 2.1 GHz ไดสราง
จุดเปลี่ยนใหกับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและสืื่อสาร
ของไทย โดยเฉพาะการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศ พรอมสรางโอกาสแจงเกิดโมบายแอพลิเคชั่น ดิจิทัล
คอนเทนท ใหกับผูประกอบการซอฟตแวรไทย ทั้งยังกระตุนให
การเขาสูเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง ไดอยางเปนรูปธรรม
ศูนยวิจัยกสิกรไทยมองวา การเปดใหบริการสามจีบนคลื่น
ความถี่ 2.1 GHz มีสวนชวยผลักดันใหเกิดเม็ดเงินลงทุนในธุรกิจ
วางโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมราว 125,000 ลานบาท ในระยะ
เวลา 3 ป และยังกอใหเกิดกระแสการเปลี่ยนโทรศัพทเคลื่อนที่
ของผูบริโภคเพื่อใชงานบริการสามจีมากยิ่งขึ้น
ผูใหบริการคอนเทนทมีแนวโนมที่จะเขามาพัฒนาบริการ
ใหมๆ บนชองทางการสื่อสารไรสาย เพื่อตอบสนองความตองการ
ของผูบริโภคที่ตองการบริโภคเนื้อหาออนไลนมากยิ่งขึ้น สงผลให
บริการดานขอมูลเปนตัวหลักผลักดันการเติบโตของธุรกิจบริการ
โทรศัพทเคลื่อนที่ คิดเปนสัดสวนถึง 32.5% ของมูลคาตลาดรวม
210,000-214,900 ลานบาท ในป 2556 และมีอัตราเติบโต 11.5-
14.2% เมื่อเทียบกับปที่ผานมา บริการขอมูลมีสัดสวน 25.8% ของ
ตลาดรวม 188,300 ลานบาท
แนะตอยอดแอพฯ โซเชียล
ดร.บวร ปภัสราทร คณะบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี กลาวในงานสัมมนาใหญประจำป
ของซอฟตแวรพารควา การเขามาของสามจีจะเปนชวงเวลาหัวเลี้ยว
หัวตอของประเทศในการพัฒนาอุตสาหกรรมไอซีที หลังจากที่
ชวงหาปที่ผานมา อันดับการแขงขันดานไอซีทีของไทยในระดับโลก
ลดระดับจากที่ใกลเคียงกับมาเลเซีย สิงคโปร มาอยูระดับเดียวกับ
เวียดนามและอินโดนีเซีย เนื่องจากการขาดความพรอมทางดาน
โครงสรางพื้นฐานสื่อสารไรสายความเร็วสูง
มีรายงานการศึกษาจากตางประเทศพบวา ประเทศที่มี
ประชากรเขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบรอดแบนดถึง 25%
จะสรางนวัตกรรมไดมากขึ้น ซึ่งจะแตกตางจากประเทศที่ยังขาด
ความพรอมการสื่อสารไรสายความเร็วสูง จะตองเพิ่มความพยายาม
และทรัพยากรที่มีอยูถึง 15 เทา จึงจะสรางนวัตกรรมไดเทากับ
ประเทศที่มีบรอดแบนด
เมื่อประเทศไทยมีจำนวนของผูใชบริการมากขึ้น และ
มีพื้นที่การใหบริการสามจีครอบคลุมถึง 80% ของจำนวน
ประชากรภายในสองปขางหนา จะทำใหแนวโนมคาบริการ
ลดลง โดยคาดวาคาบริการโมบายดาตาจะเหลือ 40 บาท
ตอหนึ่งกิกะไบทภายในสี่ป จากปจจุบันอยูที่ 300 บาท
ตอกิกะไบท
หากอัตราคาบริการโมบายดาตาลดลง ก็จะทำให
ผูใชนิยมใชโมบายแอพลิเคชั่นและคอนเทนทมากยิ่งขึ้น
ซึ่งเพิ่มโอกาสใหกับนักพัฒนาไทยที่่มีนวัตกรรมและรูปแบบ
ธุรกิจที่นาสนใจ โดยเฉพาะตอการใชงานบนโซเชียลเน็ทเวิรก
เฟซบุค ซึ่งกอนมีสามจีไทยมีจำนวนผูใชเฟซบุคติดอันดับ
สิบสี่ของโลก และกรุงเทพฯ ถือวาเปนเมืองที่มีผูใชเฟซบุค
สูงสุดของโลก โดยกลุมผูใชสวนใหญอยูในชวง 18-34 ป
ซึ่งเปนกลุมที่มีกำลังซื้อ
ดร.บวร กลาวตอวา แอพลิเคชั่นที่เกี่ยวกับผูพิการ
หรือผูสูงอายุ เชน การใชเซ็นเซอรรวมกับอุปกรณโมบาย
เพื่อใชดูแลผูสูงอายุ ไมวาจะเปนการแจงเตือนการหกลม
ระบบการแจงเตือนใหรับประทานยา ซึ่งจะมีโอกาสอีกมาก
เนื่องจากไทยกำลังเขาสูสังคมของผูสูงอายุ และการใช
เทคโนโลยี Internet Of Things ดังกลาว จะชวยพัฒนา
คุณภาพชีวิตใหกับผูพิการและผูสูงอายุได
โมบายแอพฯ-คลาวด-สามจี
ดันอุตสาหกรรมไอซีทีป5656
3NEWSLETTER THAILAND
àÃ×èͧ¨Ò¡»¡
นอกจากนั้น ดร.บวร ยังแนะดวยวา บริการดิจิทัลทีวีที่
กำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย ทำใหผูรับชมโทรทัศนกวา 22
ลานครัวเรือน ตองใชอุปกรณเซ็ทท็อปบ็อกซที่ภายในใชระบบ
ปฏิบัติการลินิกซและแอนดรอยด ก็จะเปดโอกาสใหนักพัฒนา
แอพลิเคชั่นตอยอดธุรกิจจากฐานลูกคาในกลุมนี้ไดมากเชนกัน
ซอฟตแวรกลุมสื่อสารการเงินเฟอง
ดร.ธนชาติ นุมนนท อดีตผูอำนวยการเขตอุตสาหกรรม
ซอฟตแวรไทยและผูอำนวยการสถาบันไอเอ็มซีมองวา ตลาดซอฟตแวร
ในปนี้จะโตที่สุดในกลุมของการสื่อสารเนื่องจากผูใหบริการโทรศัพท
มือถือที่ไดรับใบอนุญาตใหบริการสามจีจะตองลงทุนโครงสราง
พื้นฐานไอทีทั้งฮารดแวรและซอฟตแวร กระนั้นการลงทุนซอฟตแวร
ของโอเปอเรเตอรสวนใหญยังเปนซอฟตแวรตางประเทศ
กลุมบริการการเงินและประกันภัย ยังเปนอีกธุรกิจหนึ่งที่ตอง
ลงทุนซอฟตแวรจำนวนมาก เพื่อรับมือการแขงขันที่ดุเดือด และ
ธุรกิจในกลุมนี้ตองการโมบายแอพลิเคชั่น มาใหบริการกับลูกคา
มากขึ้นดวย
ดร.ธนชาติ คาดการณดวยวา แท็บเล็ตและสมารทโฟนจะยัง
เติบโตตอเนื่อง โดยเฉพาะผูใชในกรุงเทพฯ ที่จะเริ่มเขาถึงอินเทอรเน็ต
โดยใชอุปกรณโมบายมากกวาพีซี ทำใหตลาดโมบายแอพลิเคชั่น
ในประเทศโตขึ้น และหลายองคกรธุรกิจเริ่มเขาสูการใชยุทธศาสตร
ดานโมบาย หรือ Mobile Enterprise Strategy เพื่อใหบริการลูกคา
สวนของเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง จะเปนกระแสแรง
ตอเนื่อง องคกรธุรกิจบางแหงเริ่มใชไพรเวท คลาวดภายในองคกร
ฝงของผูใชงานจะนิยมการใชพับลิคคลาวดตางประเทศ
ดร.ธนชาติ มองวา องคกรตางๆ ในประเทศยังไมพรอมที่จะ
พัฒนาซอฟตแวรขึ้นคลาวด เนื่องจากขาดแคลนบุคลากร และ
ความพรอมเรื่องกฎระเบียบในประเทศ
ทางฝงของบริษัทซอฟตแวรไทย จะเริ่มมีการพัฒนา
แอพลิเคชั่น ขึ้นคลาวด แพลทฟอรมของตางประเทศมากขึ้น
และคาดการณวา แพลทฟอรมที่บริษัทจะพัฒนามากที่สุด
คือ Microsoft Azure เนื่องจากไมโครซอฟทมีสำนักงาน
ในประเทศไทย ซึ่งสามารถใหการสนับสนุนโดยตรงกับ
ผูพัฒนาในประเทศ
ขณะที่แพลทฟอรมตางประเทศอื่นๆ เชน Amazon,
Google App Engine และ Force.com จะยังไมมีการ
สนับสนุนโดยตรง นอกจากการสนับสนุนผานระบบออนไลน
สวนของนักพัฒนาซอฟตแวรไทยจะสนใจพัฒนาโมบาย
แอพลิเคชั่นมากขึ้น โดยเฉพาะบนระบบปฎิบัติการวินโดวส 8
และแอนดรอยด
เขามองดวยวา โครงการในภาครัฐยังอยูกับกระแส
ของ One Tablet Per Child และ Government Cloud
ซึ่งนักพัฒนาซอฟตแวรขนาดเล็กอาจไดอานิสงสการทำ
โครงการดานอีเลิรนนิ่งและโมบายแอพลิเคชั่น สวนโครงการ
ใหญๆ ก็คงอยูกับซิสเต็ม อินทิเกรเตอรรายใหญในประเทศ
อดีตผูอำนวยการซอฟตแวรพารคยังคาดการณดวยวา
นโยบายรถคันแรกจะทำใหตลาดอีคอมเมิรซขยายตัวขึ้นมาก
เนื่องจากสภาพการจราจรที่ติดขัดเพิ่มขึ้น ทำใหผูใชหันมา
ช็อปปงและทำธุรกรรมออนไลนผานอุปกรณโมบายมากขึ้น
นั่นเอง
4 SOFTWARE PARK
ฟรอสตฯ ยังคาดการณดวยวา บริการโครงสรางพื้นฐานไอที
ที่เกี่ยวของกับคลาวดและดาตาเซ็นเตอร จะเติบโตเพิ่มขึ้นดวย
ตามปริมาณการใชโมบายแอพลิเคชั่นที่เพิ่มขึ้น กอปรกับมีความ
ตองการลงทุนไอทีของธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อสรางความพรอม
ตอการเปดเสรีอาเซียน โดยฟรอสตฯ คาดวา ธุรกิจคลาวดจะเติบโต
ในปนี้ไดถึง 30% จากปที่ผานมาการใชคลาวดมุงรองรับการ
แบ็กอัปขอมูลเทานั้น
สวนของดาตาเซ็นเตอรคอนขางมาแรง และเปนผลกระทบ
เชิงบวกโดยตรงจากเออีซี ทำใหผูใหบริการดาตาเซ็นเตอร
ซึ่งสวนใหญมีความจุของดาตาเซ็นเตอรเหลืออยูไมถึง 25% ตอง
ลงทุนและขยายความจุเพื่อรองรับการใชงานที่จะเพิ่มขึ้นดวย
ดานการทเนอร อิงค อีกหนึ่งบริษัทวิจัยระดับโลกมองวา
ในปนี้โอกาสการเติบโตของธุรกิจไอซีทีในประเทศไทยที่มีผูใหบริการ
สื่อสารหารายหลักนั้น จะอยูที่ผูผลิตอุปกรณสื่อสาร และบริการ
ดิจิทัลในกลุมคอนซูเมอรและบริการคลาวดในกลุมเอ็นเตอรไพรส
การทเนอรแนะวา ประเทศไทยตองเรงพัฒนาทักษะบุคลากร
และธุรกิจดิจิทัลคอนเทนทใหเพิ่มมากขึ้น และเปดกวางการใช
อินเทอรเน็ตอยางเสรีเพื่อสงเสริมผูประกอบการใหม
บริษัทคาดการณวา ประเทศไทยจะมีอัตราผูเขาถึงอินเทอรเน็ต
ผานเครือขายประจำที่ หรือฟกซ เน็ตเวิรก อยูที่ 22% ของจำนวน
ประชากรในสิ้นป 2555 และมีจำนวนผูใชบรอดแบนดผานฟกซ
เน็ตเวิรก คิดเปน 17% ของครัวเรือนในสิ้นปที่ผานมา ซึ่งจะเพิ่ม
เปน 28% ภายในป 2559
สวนของสมารทโฟนที่เชื่อมตออินเทอรเน็ตจะเพิ่มขึ้นจาก
4.2 ลานเครื่อง ในป 2554 เปน 22.3 ลานเครื่อง ในป 2559 และ
คาดวาราว 30% ของประชากรจะเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานอุปกรณ
โมบาย และ 10% ของประชากรจะเชื่อมตอผานฟกซ เน็ตเวิรก
สามจี/เออีซี ดันตลาดโต
ดร.มนธสินี กีรติไกรนนท ผูจัดการประจำประเทศไทย
บริษัท ฟรอสตแอนดซัลลิแวน บริษัทวิจัยระดับโลกมองวา
ธุรกิจไอซีทีไทยปนี้ จะไดรับอานิสงสจากการใหบริการสามจี
และการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซี โดยจะ
สงผลบวกทั้งฮารดแวร โมบายแอพลิเคชั่น และบริการดาน
ดาตาเซ็นเตอร
ในสวนของฮารดแวรนั้น แท็บเล็ตมีแนวโนมเติบโตสูงขึ้น
ไมเพียงเฉพาะความนิยมของคอนซูเมอร แท็บเล็ตจะเติบโต
ในกลุมองคกร ซึ่งคาดวาจะมีสัดสวนกวา 10% ของการ
ใชงานแท็บเล็ตทั้งหมด
ฟากตลาดซอฟตแวร ธุรกิจโมบายแอพลิเคชั่นจะโตขึ้น
เรื่อยๆ เนื่องจากผูใชงานเริ่มยอมรับการจายคาคอนเทนท
มากขึ้น จากเดิมมองวาคอนเทนทควรเปนของฟรี
ฟรอสตฯ คาดวา จะมีจำนวนแอพลิเคชั่นอีกเกือบ 50%
จากปที่แลว หรือประมาณ 2,000 แอพลิเคชั่น ภายในปนี้
และมีมูลคาตลาดรวมสูงถึงหนึ่งพันลานบาท
ในขณะที่การมีสามจีทำใหมีการพัฒนาซอฟตแวรมาใช
มากขึ้น การเตรียมพรอมสูเออีซีในภาคธุรกิจก็ชวยกระตุนให
องคกรใหน้ำหนักลงทุนซอฟตแวรการจัดการองคกรเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำงานภายใน โดยเฉพาะการนำ ERP และ
ซอฟตแวร Analytics เขามาใชงาน
ขณะเดียวกันประเทศไทยเปนแหลง Offshore software
outsourcing หลักแหงหนึ่งในเอเชีย ดังนั้นทั้งสามจีและ
เออีซีจะสามารถดันตลาดซอฟตแวรไทยใหโตไปเกือบแตะ
10,000 ลานบาท ไดภายในสิ้นปนี้ จาก 8.4 หมื่นลานบาท
ในป 2554
NEWSLETTER THAILAND
5
äÍ´Õ«Õ¿˜¹¸§
·çÍ»à·Ã¹´
»‚ÁÐàÊç§
äÍ´Õ«Õ ·Ó¹ÒÂÊÔºà˵ءÒó·Õè¨Ðà¡Ô´¢Öé¹
เปนประจำทุกปที่บริษัท ไอดีซี ประเทศไทย ออกมาเปดเผย
การคาดการณแนวโนมที่จะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมไอซีทีไทย
ซึ่งแนนอนวาการใชจายของอุตสาหกรรมไอซีทีในปนี้ เติบโตเกือบ
สองหลักไดจากอานิสงสของโมบายดีไวซและการใหบริการสามจี
นายอรรถพล สาธิตคณิตกุล ผูจัดการฝายงานวิจัย และ
ที่ปรึกษาประจำประเทศไทยเผยวา ตลาดไอซีทีซึ่่งนับรวมทั้งไอที
และโทรคมนาคมจะสามารถเติบโตไดถึง 9.8% โดยมีมูลคาตลาด
ประมาณ 21 พันลานดอลลารสหรัฐ ในป 2556 จากปที่แลว
อยูที่ 19 พันลานดอลลารสหรัฐ
ประการแรก การใชจายดานไอซีทีของประเทศไทย
ยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง ทั้งองคกรธุรกิจและฝงคอนซูเมอร
โดยกลุมอุตสาหกรรมหลักที่ยังคงใชจายดานไอซีอยางตอเนื่อง
ไดแก อุตสาหกรรมการเงิน การธนาคาร โทรคมนาคม และ
กลุมงานภาครัฐฯ โดยเฉพาะการลงทุนเทคโนโลยีที่กำลังเติบโต
(อีเมอรจิ้ง) ไดแก บิ๊กดาตาและอานาไลติก เทคโนโลยีคลาวด
คอมพิวติ้ง ภาครัฐฯ เองก็มีการลงทุนอยางตอเนื่องดานระบบ
สารสนเทศที่จะติดตอกับโครงการ Government Cloud
(G-cloud) และ Government Information Network (GIN)
เพื่อใหสอดคลองกับแผนสมารท ไทยแลนด (Smart Thailand)
นอกจากนี้การเติบโตดานไอซีทีในปนี้ยังไดรับปจจัยหนุนจากการ
ลงทุนดานโครงขายสามจี และโครงสรางพื้นฐานทางโทรคมนาคม
อยางตอเนื่องอีกดวย
ประการที่่สอง บริการขอมูลไรสายยังเปนดาวเดนกลุม
สื่อสาร ซึ่งคาดวาโมบายดาตาจะเติบโตในปนี้จะสูงกวา 14%
มีมูลคาตลาดไมต่ำกวา1.7 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จากตลาดรวม
บริการสื่อสารอยูที่ 8.5 พันลานดอลลารสหรัฐ โตขึ้น 4.4%
เนื่องจากการเติบโตของอุปกรณประเภทสมารทดีไวซ และ
ความพรอมของโครงขายสามจี
ประการที่สาม การเกิดรูปแบบใหมของการ
ใหบริการไอทีแบบครบวงจร โดยเปลี่ยนจากงานบริการที่
ผูกติดกับอุปกรณ มาสูรูปแบบบริการที่เนนคุณคาของ
กระบวนการทางธุรกิจ และตอบโจทยทางธุรกิจมากขึ้น
เชน โมเดลของรูปแบบการใหบริการ Outsourcing 3.0
ที่ใหบริการบริหารจัดการอุปกรณที่มาจากผูผลิต และ
สภาพแวดลอมในการใชงานที่ตางกัน (Multi-vendors
management service) ในปนี้ไอดีซีคาดการณวา มูลคา
ตลาดบริการดานไอทีในไทยจะเติบโตไดถึง 14.2% และ
มีมูลคา 1.8 พันลานดอลลารสหรัฐ
ประการที่สี่ ไอดีซีมองวา ถึงเวลาสิ้้นสุดยุค
แหงการเติบโตที่แข็งแกรงของพีซี โดยเครื่องคอมพิวเตอร
สวนบุคคลหรือเดสกท็อป และเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล
แบบพกพา หรือแล็ปท็อป ที่เคยมีอัตราเติบโตตอเนื่อง
ตัวเลขสองหลักมารวมทศวรรษจะถึงจุดที่เติบโตไดสูงสุด
ไมเกิน 4% หรืออาจติดลบ ตั้งแตป 2556 และในป 2555
จะเปนปแรกที่ตลาดพีซีของไทยติดลบ มียอดขายไมถึง
สี่ลานเครื่อง แบงเปนเดสกท็อป 1.5 ลานเครื่อง และโนตบุก
ต่ำกวา 2.5 ลานเครื่่อง เนื่องจากประเทศไทยมีอัตราการ
เขาถึงพีซีตอประชากร 30% ซึ่งถือวาคอนขางสูง ทำให
ตลาดผูใชเครื่องแรกลดลง ประกอบกับพฤติกรรมของ
ผูบริโภคหันมาซื้อสมารทโฟนและแท็บเล็ต
SOFTWARE PARK6
˹ŒÒµ‹Ò§áË‹§âÍ¡ÒÊ
ประการที่เจ็ด การเกิดขึ้นของสภาพแวดลอม
สวนบุคคลผานสมารทดีไวซ หรือเปน Personal Ecosystem
ซึ่งเกิดจากการที่ผูใชมีหลายอุปกรณ และตองจัดเก็บสำรอง
และโอนถายขอมูลออนไลนมากขึ้น โดยใหทุกอุปกรณ
สามารถเขาถึงและซิงคขอมูลออนไลนได โดยจะเปนการ
จัดเก็บผานพับลิคคลาวดที่ใหบริการเวอรชวล สตอเรจ
ประการที่แปด การเติบโตของคลาวดในประเทศ
ยังคงเปนไปอยางตอเนื่อง โดยจะเปนการใหบริการพับลิค
คลาวดมากขึ้นจากปที่ผานมา และภาครัฐฯ จะเปนตัวกระตุน
การใชงานคลาวดผานโครงการ Government Cloud
สวนรูปแบบการใชงานของคลาวนในประเทศในปนี้จะ
มุงเนนไปที่ Application-as-a-Service (AaaS) ไดแก
แอพลิเคชั่นเฉพาะดาน Collaboration และ Productivities
เปนหลักจากเดิมความนิยมใชเปนซอฟตแวรทั่่วไป Software
as a Service (SaaS)
ประการที่เกา การตอบรับจากกลุมองคกรตอ
ความตองการโซลูชั่นที่ผนวกโครงสรางพื้นฐานดานไอที หรือ
Converged solution ที่รวมเครื่องแมขายสตอเรจเน็ตเวิรก
และซอฟตแวรเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และ
ควบคุมทรัพยากรดานไอที
ไอดีซีคาดการณวา ตลาดระบบโครงสรางพื้นฐานจะ
ขยายตัวราว 11% โดยมีจุดเดนที่สำคัญคือ การผนวกระบบ
รักษาความปลอดภัยเขาไปเปนหนึ่งโซลูชั่นที่จะนำเสนอใหกับ
กลุมลูกคาองคกร
ประการที่สิบ ระบบการจัดการและวิเคราะหขอมูล
ขนาดใหญยังคงสรางกระแสในอุตสาหกรรมไอที ทั้งองคกร
ขนาดใหญและองคกรขนาดกลางที่ไดรับแรงกดดันจากการ
แขงขัน โดยเฉพาะกลุมการเงินและสื่อสาร เฮลธแคร ทำให
เพิ่มน้ำหนักการลงทุนระบบการวิเคราะหขอมูลขั้นสูง และ
ซับซอนและเปนแรงผลักดันใหองคกรธุรกิจใหความสำคัญกับ
การบริหารจัดการระบบฐานขอมูล ทั้งดาตาเบสแมเนจเมนท
ดาตาแวรเฮาส เพื่อใหองคกรสามารถใชประโยชนจากขอมูล
ใหไดสูงสุด
ทั้งยังมีปจจัยดานของกระบวนการคอนซูเมอรไรเซชัน
ของสมารทโฟนและแท็บเล็ต ประกอบกับการที่องคกรตางๆ
ไดอนุญาตใหพนักงานเขาถึงแอพลิเคชั่นผานอุปกรณ
สื่อสารเคลื่อนที่ได ทำใหไอดีซีเชื่อวาตลาด Information
Management Analytics จะสามารถเติบโตไดถึง 12%
ประการที่่หา ตลาดสมารทโฟนและแท็บเล็ตจะกลาย
เปนสมรภูมิรบใหม ไอดีซีคาดการณวา ดวยแรงซื้อที่ปรับตัว
เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ประกอบกับความพรอมของการใหบริการ
สามจี จะทำใหตลาดสมารทโฟนในป 2556 มีแนวโนมที่จะ
ขยายตัวไดสูงถึง 40% ดวยยอดจัดสงทั้งหมด 7.3 ลานเครื่อง
สวนตลาดแท็บเล็ตเองก็มีแนวโนมที่จะเติบโตในอัตราใกลเคียงกัน
โดยมียอดจัดสงทั้งหมดไมต่ำกวา 3.5 ลานเครื่อง ในปนี้ และ
เปนปแรกที่แท็บเล็ตแซงหนาโนตบุก
ไอดีซี ยังเชื่อดวยวาระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) และ
แอนดรอยด (Android) จะตองแขงขันกันอยางดุเดือดและครอง
ตลาดหลัก สวนระบบปฏิบัติการที่เกิดใหมอยางวินโดวสโฟน 8
(Windows Phone 8) และแบล็กเบอรรี 10 (Blackberry 10) จะ
ตองทุมสุดตัวเพื่อหาพื้นที่ในตลาดเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต
ประการที่หก ความนิยมของสมารทดีไวซเปนแรงกระตุน
ใหเกิดการใชงานดิจิทัลคอนเทนท ไมวาจะเปนแอพลิเคชั่น
ทางดานธุรกิจ ดานสันทนาการ ไปจนถึงคอนเทนทแอพลิเคชั่น
ที่เกี่ยวของกับไลฟสไตลของแตละบุคคล
จากผลการศึกษา Consumerscape 360 ระดับภูมิภาค
เอเชียแปซิฟกของไอดีซีในปลายป 2555 ที่ผานมาพบวา ทั้งกลุม
ผูใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่สมารทโฟนและแท็บเล็ตกวา 55%
นิยมดาวนโหลดคอนเทนทแอพลิเคชั่นประเภทเกมสมากเปน
อันดับหนึ่ง รองลงมาคือ แอพลิเคชั่นประเภทโซเชียลเน็ตเวิรก
และเพลงเปนอันดับสาม
โดยการสอบถามโอเปอเรเตอรในไทยพบวา การทองเน็ต
และโซเชียลเน็ตเวิรกเปนบริการยอดนิยมของผูใชมือถือ และสถิติ
ยังพบดวยวา สัดสวนผูใชที่นิยมซื้อแอพลิเคชั่นกับดาวนโหลดฟรี
อยูที่ 1:4
NEWSLETTER THAILAND
7
อันดับสุดยอดแนวโนม
เทคโนโลยีป 2556
หลายหมวดหมู และในอีกหลายปขางหนาเชื่อวาจะไมมี
บริษัทซอฟตแวรใดที่จะสามารถพัฒนาแอพลิเคชั่น
ออกมาใหรองรับไดกับทุกอุปกรณ ดังนั้นองคกรจะตอง
มีการเลือกใชเครื่องมือการพัฒนาที่หลากหลาย
ทั้งนี้คาดวามี 6 สถาปตยกรรมบนระบบโมบาย
ไดแก Native, Special, Hybrid, HTML 5, Message
และ No Client ที่จะยังคงความนิยมในการใชงาน
อยางตอเนื่อง
อยางไรก็ตาม ในระยะยาวจะมีการเปลี่ยนแปลง
จาก Native Apps ไปสู Web Apps เนื่องจาก HTML5
จะมีความสามารถเพิ่มขึ้น แตกระนั้น Native Apps
ก็จะไมหายไปและจะยังคงใหประสบการณกับผูใชงาน
ที่ดีที่สุด และมีฟเจอรที่ล้ำเลิศ
สวนของนักพัฒนาแอพลิเคชั่นตองพัฒนาทักษะ
การออกแบบใหมที่ีรองรับการสั่งงานแบบสัมผัส และ
ใชงานไดหลากหลายอุปกรณเพื่อตอบรับกับความนิยม
ที่เกิดขึ้นได
10เปนประจำทุกปที่การทเนอร อิงค บริษัทวิจัยไอทีระดับโลกไดนำเสนอบทวิเคราะหการ
คาดการณ 10 เทคโนโลยียุทธศาสตรและแนวโนมที่สำคัญกับองคกรธุรกิจ ซึ่งในป 2013 นี้
การทเนอรไดใหนิยามเทคโนโลยียุทธศาสตรไววา เปนเทคโนโลยีแนวโนมที่จะสงผลกระทบ
ตอองคกรในสามปขางหนา ไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงดานธุรกิจ หรือไอที และเปน
เทคโนโลยีที่ตองใชเงินลงทุนสูง หรือมีความเสี่ยงหากนำเทคโนโลยีมาใชลาชา
เทคโนโลยียุทธศาสตรสามารถเปนเทคโนโลยีที่มีอยูเดิมและใชงาน
หลากหลาย หรืออาจเปนเทคโนโลยีที่เกิดใหมที่จะสรางโอกาสใหเกิด
ความไดเปรียบเชิงยุทธศาสตรทางธุรกิจ สำหรับผูที่กลานำเทคโนโลยี
มาใชกอนคนอื่น รวมถึงสามารถที่จะสรางผลกระทบตอแผนระยะยาว
ขององคกร โดย 10 เทคโนโลยี และแนวโนมที่สำคัญในเชิงยุทธศาสตร
ขององคกรในปนี้ประกอบดวย
Mobile Device Battles
การทเนอรคาดการณวา ในป 2013 นี้ มือถือจะแซงหนาพีซี
ในการเปนอุปกรณเขาถึงเว็บ และภายในป 2015 มากกวา 80% ของ
มือถือที่ขายไปในตลาดที่อิ่มตัวจะเปนสมารทโฟน ซึ่งคาดวาวินโดวส
โฟน จะมีสัดสวนราว 20% เทานั้น
และภายในป 2015 มีเดียแท็บเล็ตจะมีสัดสวนเปนครึ่งหนึ่งของ
แล็ปท็อปที่ขายไปในทองตลาด โดยวินโดวส8 จะมีสวนแบงเปนอันดับสาม
ตามหลังระบบปฎิบัติการกูเกิล แอนดรอยด และแอปเปล ไอโอเอส
กระแส Consumerization หรือการนำเครื่องมือที่ใชในการติดตอ
สื่อสารสวนตัวมาใชในการทำงานประจำวัน จะทำใหองคกรไมสามารถ
บังคับใหพนักงานเลิกใช หรือเลิกนำไอแพด หรืออุปกรณที่ใชระบบ
ปฏิบัติการอื่่นๆ อยางวินโดวส 8 มาใชในองคกร ดังนั้นองคกรตองมี
ระบบไอทีที่สามารถสนับสนุนการใชอุปกรณที่หลากหลาย
ยุคของพีซีที่่มีวินโดวสเปนแพลทฟอรมหลักครองตลาดนั้น กำลัง
จะถูกแทนที่ดวยยุคหลังพีซี (post-PC era) ที่มีโมบายดีไวซหลากหลาย
ทำใหวินโดวสลดบทบาทลงเปนเพียงทางเลือก หรือองคประกอบหนึ่ง
และไมไดเปนแพลทฟอรมหลักอีกตอไป
Mobile Applications and HTML5
ตลาดของเครื่องมือในการพัฒนาแอพลิเคชั่น(mobiledevelopment
tools) ทั้งคอนซูเมอรและเอ็นเตอรไพรสแอพลิเคชั่นจะทวีความซับซอน
มากขึ้น เนื่องจากมีจำนวนผูคาเครื่องมือพัฒนามากกวา 100 บริษัท
โดยปจจุบันการทเนอรไดแยกเครื่องมือพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นออกเปน
8
·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á
Personal Cloud
การใชงาน Personal Cloud จะเริ่มเขามาทดแทนการใชพีซี
Personal Cloud จะเปนที่ที่ผูใชจัดเก็บขอมูลสวนตัว รวมถึงเปน
ศูนยกลางของดิจิทัลไลฟ อีกทั้งเปนศูนยกลางเชื่อมตอเว็บของทุกๆ
อุปกรณที่ผูใชงานเลือกใช ซึ่งจะแตกตางกันไปตามชีวิตประจำวัน
ของแตละบุคคล
Personal Cloud จะนำไปสูแหลงรวมบริการเว็บปลายทาง
และคอนเนคติวิตี้ตางๆ ซึ่งจะกลายเปนศูนยกลางของกิจกรรม
และการสื่อสารนั่นเอง
ผูใชงานจะมองวา บริการคลาวดพกพาติดตัวไปไดและพรอมใช
บริการในทุกที่ที่ตองการ และที่สุด Personal Cloud จะขยับจากการ
ใชงานในเครื่องพีซีผูใชปลายทางไปสู Cloud-based services ที่
ใหบริการในหลากหลายอุปกรณ
Enterprise App Stores
เอ็นเตอรไพรสตองเผชิญกับความซับซอนของแอพสโตร
ในอนาคต เนื่องจากผูคาเทคโนโลยีจะจำกัดการใชงานเฉพาะกับ
อุปกรณของตนเองและจำกัดประเภทของแอพลิเคชั่นในแอพสโตร
ดวย ทำใหองคกรตองจัดการกับหลายๆ แอพสโตรซึ่งมีขั้นตอน
การชำระเงินที่หลากหลาย ทั้งยังเงื่อนไขการใชงานไลเซนที่แตกตาง
กันออกไป
การทเนอรคาดวา ภายในป 2014 หลายๆ องคกรจะเสนอ
โมบายแอพลิเคชั่นใหกับพนักงานผานแอพลิเคชั่นสโตรขององคกร
เอง หรือเรียกวา เอ็นเตอรไพรส แอพสโตร ซึ่งจะทำใหบทบาทของ
ไอทีขยับจากการวางแผนสวนกลางไปสูการเปนผูจัดการฝายการตลาด
ที่เปนตัวกลางของบริการไปยังผูใช และมีแนวโนมที่จะสรางระบบ
นิเวศนของการสนับสนุนผูประกอบการหนาใหมดานแอพลิเคชั่น
(Apptrepreneurs) ใหเกิดขึ้น
The Internet of Things
The Internet of Things (IoT) เปนคอนเซปตที่บรรยายถึงการที่
อินเทอรเน็ตขยายขอบเขตการใชงานเขาไปสูอุปกรณตางๆ มากมาย
เชน คอนซูเมอรดีไวซ และสินทรัพยตางๆ ที่จับตองไดโดยอุปกรณ
เหลานี้จะสามารถเชื่อมตอเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต
องคประกอบหลักของ IoT อยูที่ Embedded sensors ที่เปน
เซ็นเซอรจิ๋วที่ฝงอยูในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส, Image recognition
technologies ที่เทคโนโลยีการรูจำภาพ และ NFC payment
ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ใชในการชำระเงินผานระบบไรสาย โดยทั้งหมด
จะอยูในอุปกรณโมบาย ดังนั้นตอไปอุปกรณโมบายจะไมไดนิยาม
เฉพาะโทรศัพทมือถือหรือแท็บเล็ตเทานั้น
สวนของเครือขายของโทรศัพทเคลื่อนที่ ก็จะมีการนำมาใช
เพื่อใหบริการที่หลากหลายอุตสาหกรรมรวมกับอุปกรณประเภทใหมๆ
ไมวาจะเปนดานเภสัชภัณฑ หรือในธุรกิจยานยนต เปนตน
ขณะเดียวกัน สมารทโฟนและอุปกรณอัจฉริยะอื่นๆ ก็จะ
ไมจำกัดการใชงานรวมกับเครือขายของโทรศัพทเคลื่อนที่
เทานั้น แตจะสามารถสื่อสารผาน NFC, Bluetooth, LE และ
Wi-Fi ไปยังอุปกรณที่หลากหลาย และอุปกรณตอพวงอื่นๆ
เชน หนาจอนาิกาขอมือ เฮลธแครเซนเตอร สมารท
โปสเตอร และโฮมเอนเทอรเทนเมนต ทั้งยังสรางแอพลิเคชั่น
และบริการใหมๆ พรอมกับความทาทายใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น
อีกดวย
Hybrid IT and Cloud Computing
เนื่องจากพนักงานไดรับการรองขอใหทำงานไดมากขึ้น
ดวยงบที่นอยลง แผนกไอทีจึงตองสวมหลายบทบาทในการ
ประสานกิจกรรมดานไอที ขณะเดียวกัน Cloud Computing
ก็เขามามีบทบาทผลักดันการเปลี่ยนแปลงขึ้นไปอีกระดับ
ผลสำรวจบริการไอทีโดยการทเนอรเมื่อเร็วๆ นี้ พบวา
บทบาทของตัวแทนซื้อขายบริการคลาวดภายในองคกร (Cloud
Services Brokerage: CSB) กำลังจะเพิ่มขึ้น เนื่องจาก
สวนงานไอทีตระหนักถึงความรับผิดชอบที่ตองชวยปรับปรุง
การจัดการ ปรับปรุงการใชงานของบริการคลาวดที่ไดรับ
ชวงตอมา ซึ่งมีความหลากหลายและบอยครั้งก็ซับซอน
ดังนั้น สวนงานไอทีขององคกรตองเขามามีบทบาท
ของการเปน CSB ภายในองคกร ทั้งตองสามารถรักษา และ
สรางอิทธิพลภายในองคกร และกลายเปนศูนยกลางที่มีคุณคา
ที่ตองเผชิญกับความทาทายดานความตองการใหมๆ ที่
สัมพันธกับการใชคลาวดที่เพิ่มขึ้นใหได
Strategic Big Data
Big Data กำลังขยับจากโครงการเฉพาะไปสูการสราง
อิทธิพลตอโครงสรางสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศในเชิง
ยุทธศาสตรขององคกรขนาดใหญ การจัดการปริมาณขอมูล
จำนวนมาก ความหลากหลาย ความเร็ว และความซับซอน
กำลังผลักดันการเปลี่ยนแปลงจากแนวทางดั้งเดิมในหลายๆ
ดาน
การตระหนักดังกลาว ทำใหองคกรเลิกการใชแนวคิด
ของการมีดาตาแวรเฮาสเดียว ที่ีรวบรวมขอมูลทั้งหมดเพื่อ
ใชตัดสินใจ และองคกรกำลังหันมาสูการใชหลายระบบ
(Multiple systems) ทั้ง Content management, Data
warehouses, Data marts และ Specialized file systems
ที่ผูกติดกับดาตาเซอรวิสและเมทาดาตา ซึ่งจะกลายเปน
ลอจิคัล เอ็นเตอรไพรส ดาตาแวรเฮาส
NEWSLETTER THAILAND
9
Actionable Analytics
การวิเคราะหกำลังมีบทบาทตอผูใชงานมากขึ้น ทั้งในจุดที่เกิดธุรกรรม
และในบริบทตางๆ โดยเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น และตนทุน
คาใชจายลดลง ผูนำไอทีจะสามารถจัดหาการใชระบบวิเคราะห และการ
จำลองสถานการณเขามาใชในทุกๆ งานทางธุรกิจ
อุปกรณโมบายของผูใชจะเชื่อมตอกับเอ็นจินการวิเคราะหผานระบบ
คลาวด และที่จัดเก็บขอมูลที่เปนบิ๊กดาตาได ทำใหองคกรมีแนวโนมที่จะ
ใชประโยชนจากการวิเคราะหไดเต็มประสิทธิภาพ และจำลองเหตุการณ
ในทุกที่และทุกเวลา
ความกาวหนาดังกลาวนี้เอง ทำใหองคกรสามารถจำลองเหตุการณ
การคาดการณ และการวิเคราะหอื่นๆ โดยเพิ่มขีดความสามารถในการ
ตัดสินใจที่ยืดหยุนในเวลาและสถานที่ที่เกิดกระบวนการทางธุรกิจขึ้น
In Memory Computing
In Memory Computing (IMC) จะชวยสรางโอกาสใหมๆ จากการ
เปลี่ยนแปลง โดยขั้นตอนการประมวลผลเดิมที่ใชเวลายาวนานสามารถ
ลดเวลาเหลือนาที หรือวินาที ทำใหไดผลลัพธระดับเรียลไทม หรือเกือบ
เรียลไทม กับผูใชงานทั้งภายในและภายนอกองคกร ในรูปของคลาวด
เซอรวิส
โดยขอมูลเหตุการณหลายลานครั้งจะถูกสแกนโดยใชเวลาเพียง
หลายสิบมิลลิวินาที เพื่อตรวจหาความสัมพันธและรูปแบบที่จะชี้นำไปสู
โอกาสใหมๆ หรือภัยคุกคาม "หากมีเหตุเกิดขึ้น"
ความสามารถของการประมวลผลธุรกรรมที่เกิดขึ้นพรอมๆ กัน
หลายแอพลิเคชั่น ผนวกกับศักยภาพของซอฟตแวรดานการวิเคราะห
โดยใชชุดขอมูลเดียวกันนั้นจะเปดโอกาสใหมๆ ใหกับองคกรในการสราง
นวัตกรรมธุรกิจ
ทั้งนี้จะมีบริษัทผูคาเทคโนโลยีหลายรายที่นำเสนอโซลูชัน In Memory
ในอีกสองปขางหนา ทำใหแนวทางดังกลาวมีการใชงานอยางแพรหลาย
Integrated Ecosystems
ตลาดกำลังเคลื่อนสู Integrated System และ
Ecosystems และจะเริ่มถอยหางจากความหลากหลาย
ของระบบ (Heterogeneous) แรงผลักดันดังกลาว
เกิดจากความตองการของผูใชที่ตองการลดคาใชจาย
ใหต่ำลง ใชงานไดงายขึ้น และมีความปลอดภัย
เพิ่มขึ้น
แนวโนมดังกลาวทำใหผูคาเทคโนโลยีสามารถ
ควบคุม solution stack ไดมากขึ้น และรักษาระดับ
การขาย การทำกำไรไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งเสนอโซลูชั่น
ที่ครบวงจรในสภาพแวดลอมที่ควบคุมได โดยที่
ไมตองเพิ่มฮารดแวร
แนวโนมดังกลาวจะแยกออกเปนสามระดับ
ไดแก 1. อะพลายแอนซที่รวมฮารดแวร และ
ซอฟตแวร 2. ซอฟตแวรและบริการที่เปนแพ็กเกจ
สำหรับอินฟราสตัคเจอร และ 3. แอพลิเคชั่น
เวิรกโหลด
ตลาดกลางของคลาวด (Cloud-based
marketplaces) และตัวแทนซื้อขายจะอำนวย
ความสะดวกการซื้อ การบริโภค ใหสามารถใชจาก
หลายๆ ผูใหบริการได รวมถึงโครงสรางพื้นฐาน
สำหรับบริษัทผูพัฒนาซอฟตแวร และแอพลิเคชั่น
รันไทม
ในโลกของโมบายเวนเดอรอยางแอปเปล กูเกิล
และไมโครซอฟทจะผลักดันการควบคุม Ecosystems
แบบเบ็ดเสร็จในหลายระดับ โดยขยายการใชงาน
ไคลเอนทผานแอพลิเคชั่น
SOFTWARE PARK10
อีกทัั้งนักการตลาดจะเริ่่่มใชสื่่อออนไลนในการทำตลาด
แบบเฉพาะเจาะจงมากขึ้น โดยเฉพาะโซเชียลมีเดีย เชน
เฟซบุคที่สามารถเลือกสื่อสารกับกลุมเปาหมายไดอยางชัดเจน
อายุ เพศ หรือความสนใจ หรือเว็บไซต Group Buying
ที่สามารถดึงลูกคาเขามาในราน
นอกจากนี้เทคโนโลยีของการโฆษณาออนไลนที่พัฒนาขึ้น
สามารถรูได เพศ หรือความตองการของผูใชงานเว็บไซต และ
จะจดจำไปเรื่อยๆ (จาก Cookies) หรือเรียกวา Retargeting
Ads เชน คลิกโฆษณารองเทาแตยังไมซื้อ หลังจากนั้นโฆษณา
รองเทาชิ้นนั้นจะไปปรากฏขึ้นมาตลอดในเว็บอื่นๆ
ขณะเดีียวกันนักการตลาดยังใชสื่อโซเชียลมีเดียในการ
ทำการตลาดผานคอนเทนท (Content Marketing) เพื่อให
ตรงใจผูบริโภคมากกวาการทำโฆษณาสินคาโดยตรง เนื่องจาก
ผูบริโภคใชเวลากับสื่อออนไลนมากกวาการรับชมทีวี และ
ดูโฆษณาผานสื่อดั้งเดิม ดังนั้นคอนเทนทจึงตองมีคุณภาพ
และนาสนใจ เพื่อดึงดูดใหแบรนดสินคาเขามาเปนผูสนับสนุน
(สปอนเซอร) ในรายการ หรือสอดแทรกในเนื้อหาเพื่อสราง
การจดจำใหกับผูบริโภค
นอกจากนัั้นแนวโนมที่ผูโฆษณาจะเลือกใชคียเวิรดใหมๆ
ในโฆษณาทางทีวี หรือสิ่งพิมพมากขึ้น และจะตองทำใหงาย
ตอการจดจำ เพื่อนำไปคนหาตอในเสิรช เอ็นจิน ที่ตรงกับ
ไลฟสไตลของผูบริโภคยุคใหมที่คนหาขอมูลของสินคา และ
บริการผานชองทางออนไลนกอนการตัดสินใจซื้อ อีกทั้งคียเวิรด
จะตองไมซ้ำกับคูแขง เพื่อใหผลการคนหาอยูในอันดับตนๆ
โดยไมแยงกับคูแขง เชน “เกลียดรอนใน” “ไมหนีบปาก” ของ
น้ำจับเลี้ยงแบรนดเพียวริคุ และ “เปดพนไฟ” ของขนมซันสแนค
ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´
Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚
56
ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´
Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚
56ความแพรหลายของอินเทอรเน็ตความเร็งสูงในประเทศไทย
หนุนธุรกิจดิจิทัล แอดเวอรไทซิ่งในประเทศไทยพุง 50% แตะ
4.5 พันลานบาท
นายศิวัตร เชาวรียวงษ ประธานเจาหนาที่บริหาร เอ็ม
อินเตอรแอคชั่นและนายกสมาคมโฆษณาดิจิทัลแหงประเทศไทย
มองวา แนวโนมการใชจายสื่อโฆษณาออนไลนคาดเติบโต 50%
หรือมีมูลคา 4,500 ลานบาท จากปที่ผานมามีมูลคาราว
3,000 ลานบาท เติบโต 30-40% การเติบโตดังกลาวยังสูงกวา
อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมโฆษณา ซึ่งคาดเติบโตราว
8% จากมูลคา 1.2 แสนลานบาท ในปที่ผานมา
เขามองถึงแนวโนมดวยวา ปนี้้การโฆษณาวิดีโอจะเขามา
มีบทบาทมากขึ้นในหลายรูปแบบ ตั้งแตฉายกอนดูคลิป/
ภาพยนตร (Pre-roll Ads), ฉายระหวางภาพยนตร (Mid-roll
Ads), ทำโฆษณาเปนหนัง (Long-Form Video) เชน AXE
Dude นอกจากนี้บางรายก็ทำโฆษณาทางทีวีใหเกิดกระแส
พูดตอ หรือแชรตอในโลกโซเชียลมีเดีย เชน โฆษณาของ
ไทยประกันชีวิต
NEWSLETTER THAILAND
11
¡ÃÐáÊäÍ·Õ
ดานนายจักรพันธ พวงแกว กรรมการผูจัดการธุรกิจ
มีเดีย ออนไลน บริษัท ทอปสเปซ (ประเทศไทย) ระบุเสริมวา
หลังการเปดใหบริการสามจีอยางเต็มรูปแบบจะยิ่งสงผล
ตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภคอยางมากอีกครั้ง
โดยไลฟสไตลการใชสมารทโฟน หรือสมารทดีไวซจะเพิ่มขึ้น
ทำใหพฤติกรรมการเสพสื่อออนไลนจะขยายตัวสูง
และเมื่อเครือขายมีความเร็วสูงขึ้้นการบริโภคคอนเทนท
วิดีโอก็จะมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งนักการตลาดก็เชื่อวาการ
โฆษณาออนไลนก็จะไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นตามไปดวย
โดยเฉพาะการใชวิดีโอพรีโรลล หรือการใชคลิปวิดีโอสั้นๆ
เปนสื่อโฆษณากอนการรับชมคอนเทนท โดยวิดีโอพรีโรลล
จะใชโปรโมตสิ่งที่อยูในกระแสสังคม หรือคลิปวิดีโอที่ไดรับ
ความนิยมในขณะนั้น รวมไปถึงเพลงตางๆ ตามกระแสนิยม
เขามองดวยวา ปนี้้ภาคธุรกิจไทยจะใหสัดสวนงบโฆษณา
ออนไลนเพิ่มมากขึ้นราว 9% ของงบรวมโฆษณาองคกรจาก
ปที่ผานมาใชงบออนไลนสัดสวนเฉลี่ย 5-7% ขณะที่บริษัท
ขามชาติจะใหน้ำหนักออนไลน แอดเวอรไทซิ่งมากกวา 10%
ของงบรวม
กลุมอุตสาหกรรมที่จะใชดิจิทัลมีเดียมาขับเคลื่อนเปน
จำนวนมากคือ กลุมยานยนต กลุมผลิตภัณฑอุปโภคบริโภค
และกลุมอุปกรณไอที
สวนของนางสาวพรทิพย กองชุน หัวหนาฝายการตลาด
กูเกิลประเทศไทยมองวา ปจจุบัน 84% ของจำนวนผูใชบริการ
ผูซื้อสินคาที่นิยมคนหาขอมูลในออนไลนกอนตัดสินใจซื้อ
พฤติกรรมดังกลาว ทำใหเกิดคำศัพทดานการตลาดใหม
มาจากกูเกิล คือ Zero Moment Of Truth หรือ ZMOT โดยเปน
ชวงที่ลูกคาจะมีปฏิสัมพันธกับแบรนดกอนหนาที่จะไปถึงรานคา
จริง อยางการเริ่มคนหาขอมูลสินคาที่ตัวเองสนใจ เชน การดู
รีวิว, เรตติ้งจากเว็บไซต และโซเชียลมีเดียตางๆ หรือแมกระทั่ง
การสแกน Barcode จากโทรศัพท ซึ่งแรงผลักดันสำคัญที่ทำให
เกิด ZMOT คือ การเติบโตของบรอดแบนดอินเทอรเน็ต และ
เครื่องมือที่ใชเชื่อมตออยางสมารทโฟนและแท็บเล็ตนั่นเอง
และเมื่ออุปกรณสมารทดีไวซเขามามีอิทธิพลตอชีวิต
ประจำวันของผูบริโภคยุคใหม นักการตลาดและเจาของสินคา
และบริการ ตองออกแบบและทำเว็บไซตที่รองรับกลุมสมารท
ดีไวซดวย โดยเฉพาะใหเนื้อหาทั้งหมดแสดงผลในหนาจอเดียว
เพื่อความรวดเร็วในการแสดงผลขอมูลและสะดวกในการอาน
รายละเอียด
นอกจากนั้นยังพบวา ผูบริโภคจะใชเวลาในหลากหลาย
หนาจอมากขึ้น ทั้งโทรทัศน คอมพิวเตอร สมารทโฟน แท็บเล็ต
จะเกิดกระแสที่เรียกวา Multi-screen ซึ่งการพัฒนาคอนเทนท
หรือแอพลิเคชั่น ตองรองรับแนวโนมดังกลาวดวย รวมถึง
การตลาดและโฆษณาออนไลน
SOFTWARE PARK12
หลังการคร่ำหวอดในวงการซอฟตแวรไทยมาตลอด 8 ป บริษัท
ฟวชั่น โซลูชั่น จำกัด ยกระดับการใหบริการพัฒนาระบบงานตาม
ความตองการของลูกคาดวยการเขาสูมาตรฐานการพัฒนาซอฟตแวร
ระดับโลก CMMI หรือ Capability Maturity Model Integration
คุณศุภกิจ ยงวิทิตสถิต กรรมการผูจัดการบริษัท ฟวชั่น โซลูชั่น
จำกัด เลาวา บริษัทมองหาเฟรมเวิรกของการพัฒนาซอฟตแวรมานาน
และเมื่อไดโอกาสการเปนหนึ่งบริษัทที่ไดรับทุนสนับสนุน และความรู
ในเรื่องมาตรฐาน CMMI ผานโครงการ SPI@ease ของซอฟตแวรพารค
ทำใหไมลังเลใจเลยที่จะเลือกใชเฟรมเวิรกของ CMMI
บริษัทไดใชเวลาอยางมุงมั่นตลอดหนึ่งป จนทำใหผานการตรวจ
ประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน CMMI-DEV Maturity Level 3 เมื่อกลางป
ในปที่ผานมา ดวยการใหบริการรับงานพัฒนาระบบตามความตองการ
ของลูกคาทั้งราชการและเอกชน ครอบคลุมทั้งการพัฒนาเอ็นเตอรไพรส
แอพลิเคชั่น บิสิเนส อินทิลิเจนท และเซคเคียวริตี้ ทำใหบริษัทตอง
เผชิญกับโจทยงานที่หลากหลายภายใตเวลาที่จำกัดที่ตองสงมอบงาน
ใหเปนไปตามกำหนด
“หลังไดรับ CMMI เราไดเห็นผลลัพธทันทีวาการพัฒนาโปรแกรม
ตนแบบ Prototype พรอมการสงมอบโครงการไดตรงตามกำหนด
มากขึ้นถึง 90% จากเดิมที่การสงมอบจะลาชาไป 4-8 เดือน"
บริษัทสามารถติดตามการพัฒนาในแตละขั้นตอนไดอยางชัดเจน
ตั้งแตการทำรีไควรเมนท กำหนดสเปก อิมพลีเมนทโครงการ เรื่อยไป
จนถึงการทำเอกสาร ทำใหลดความผิดพลาดในแตละขั้นตอน 70-80%
พรอมการจัดเก็บขอมูลสถิติการพัฒนาในโครงการตางๆ อยางเปนระบบ
การเก็บขอมูลสถิติดังกลาว ทำใหบริษัทประเมินตนทุนการรับ
พัฒนาโครงการไดอยางแมนยำมากขึ้นดวย ซึ่งในอดีตบริษัทขาดการ
จัดเก็บขอมูลสถิติที่เปนระบบและเกิดการสูญเสียระหวางกระบวนการ
พัฒนา ทำใหตนทุนเพิ่มจากที่คาดการณไว 20-30%
เขายอมรับดวยวา การทำมาตรฐานนั้้นไมใชเรื่่องงายเลย เพิ่ม
ภาระงานใหกับพนักงาน ซึ่งบริษัทและผูบริหารองคกรตองทำความเขาใจ
กับพนักงาน โดยเฉพาะการตระหนักรูถึงประโยชนจริงๆ ที่พนักงาน
จะไดรับจากการทำ CMMI เพื่อใหไดรับความรวมมือ รวมแรงรวมใจ
ที่จะทำใหองคกรผานการประเมินไปไดอยางราบรื่น
ยิ่่่งไปกวานั้นความตั้งใจของพนักงานนั่นเองที่จะทำใหการทำ
CMMI เขาเปนสวนหนึ่่งของวัฒนธรรมและกระบวนการทำงาน
ในองคกรอยางแทจริง
ทั้งนี้บริษัทไมไดมุงหวังการเขาสู CMMI เพื่่อเปด
ตลาดตางประเทศ แตมุงหวังการปรับปรุงกระบวนการ
ภายในที่่จะนำไปสูการเพิ่่มคุณภาพงานความพึงพอใจ
ของลูกคา และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
รวมไปถึงตนทุน และการสงมอบงานที่ตรงกำหนดเวลา
ซึ่งในระยะยาวจะสรางความแข็งแกรงที่รองรับการเปด
เสรีอาเซียนได
คุณศุภกิจบอกดวยวา บริษัทจะขยายผลเขาสู
การขอมาตรฐาน CMMI-DEV Maturity Level 4 ในอีก
สองปขางหนาดวย ซึ่งยอมรับวาการเขาสูมาตรฐาน
ตองใชงบประมาณไมนอยเลยอยางนอย 1.5-2 ลานบาท
กระนั้นก็ไมเกินกำลังของบริษัทซอฟตแวรขนาดกลาง
ที่มีรายไดตอปมากกวาหาสิบลานบาท
โครงการ SPI@ ease ของซอฟตแวรพารค เปน
ตัวเรงที่สำคัญซึ่งทำใหประเทศไทยมีจำนวนบริษัทที่ไดรับ
มาตรฐาน CMMI มากที่สุด ขึ้นเปนอันดับ 1 ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออันดับ 6 ของเอเชีย และ
อันดับ 15 ของโลก แซงหนาประเทศมาเลเซียที่รั้งอันดับ
หนึ่งเดิม และทิ้งหางเวียดนาม สิงคโปร และฟลิปปนส
มากขึ้น
ฟวชั่น โซลูชั่น ลุย CMMI
เพิ่มขีดแขงขันรับเออีซี
NEWSLETTER THAILAND
13
àÍʾÕäÍ ¤Í¹à¹ÍÏ
บริษัทวิจัยระดับโลกการทเนอร เผยเทคนิคการรับมือระบบไอที
ในองคกร ในยุคหลังพีซีที่พนักงานองคกรและคอนซูเมอรตางก็เพิ่ม
การใชงานอุปกรณพกพาที่จะเขาถึงแอพลิเคชั่นและคอนเทนท
นักวิเคราะหแนะวา ซีไอโอตองประเมินความตองการใชโมบาย
แอพลิเคชั่นใน 18 เดือนขางหนา ทั้งธุรกิจกับพนักงาน B2E ธุรกิจไปยัง
คอนซูเมอร B2C และธุรกิจกับธุรกิจ B2B ทั้งตองประเมินประสิทธิภาพ
การทำงานบนระบบโมบายที่มีอยู และแอพลิเคชั่นที่อยูระหวางพัฒนา
นอกจากนั้น ตองอิมพลีเมนทเครื่องมือที่เปนเฟรมเวิรกของ
สถาปตยกรรมระบบที่รองรับ context-aware apps ในอนาคตได
นักพัฒนาแอพลิเคชัั่นตองเรียนรูการใชเครื่องมือที่เนนออกแบบ
ยูสเซอรอินเทอรเฟซที่เนนโมบายเปนศูนยกลาง ทดแทนการพัฒนา
แอพฯ ที่มุงออกแบบเดสกท็อปเปนศูนยกลาง ซึ่งอินเทอรเฟซแหงอนาคต
ก็หนีไมพนการรองรับการสั่งงานหนาจอสัมผัส และการสั่งงานดวยการ
ใชทาทาง รวมถึงการใชออดิโอและวิดีโอ เชน การใชคำสั่งเสียงเพื่อการ
คนหา และสั่งงานแอพลิเคชั่น หรือการใชวิดีโอที่นำไปสูการใชระบบ
รูจำใบหนา และการใชทาทางเคลื่อนไหวในอากาศ
การทเนอรมองวา ทั้งองคกรและนักพัฒนาเองอาจตองทำโรดแมป
ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ที่รองรับเทคนิคของยูสเซอร
อินเทอรเฟซแบบใหมๆ ทั้งทัช ออดิโอ วิดีโอ ทาทางคนหาโซเชียล
และคอนเท็กซ
อีกทั้งการพัฒนาตองคำนึงถึงปจจัยการปฏิสัมพันธโตตอบระหวาง
ประสบการณการใชงานแอพลิเคชั่นที่ทำงานรองรับหลายอุปกรณเขากับ
สถาปตยกรรมระบบของแอพลิเคชั่นนั้นๆ
การออกแบบแอพลิเคชั่นตองทำงาย เนนความสามารถการทำงาน
และโตตอบกับผูใชงาน ทั้งตองเชื่อมการทำงานระหวางแอพลิเคชั่น
เพื่อใหการประสานงานดานโอเปอเรชั่นได
นอกจากนั้น องคกรธุรกิจตองจัดสรรทรัพยากรไปในโครงการ
ดานโมบายแอดเวอรไทซิ่งที่มุงเนนบนสมารทโฟนและแท็บเล็ต
ซึ่งการทเนอรคาดวา โครงการโมบายจะแซงหนาโครงการที่เปนเนทีฟพีซี
ในสัดสวน 4 ตอ 1 ภายในป 2558
การใชเครื่องมือการพัฒนาแอพลิเคชั่นนั้น ตองตรวจสอบให
แอพลิเคชั่นที่ทำงานตางอุปกรณหลายหนาจอ บนระบบปฏิบัติการที่
หลากหลายทำงานไดอยางถูกตอง
โดยองคกรตองลงทุนเครื่องมือพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นที่ทำงาน
ไดจริง และนำระบบทดสอบอัตโนมัติและแผนการสนับสนุนมาใช
รวมถึงการใช HTML5 เปนเครื่องมือหลัก เนื่องจากรองรับ
การทำงานตางอุปกรณและตางยูสเซอร อินเทอรเฟซได
อีกขอมูลหนึ่งที่นาสนใจจากการสำรวจความคิดเห็น
ของผูนำไอทีในองคกรชั้นนำตางๆ จำนวน 334 คน
โดยคอมพิวเตอรเวิลดที่เผยผลสิบทักษะไอทีซึ่งเปนที่
ตองการของซีไอโอในป 2556
อันดับแรก การเขียนโปรแกรมและพัฒนาแอพลิเคชั่น
ที่ซีไอโอคงมองหานักพัฒนาที่สรางโครงการไอทีใหมๆ
เพื่อเพิ่มโปรดักสติวี้และลดคาใชจายใหกับองคกร
ตามมาดวยการบริหารโครงการ เมื่อมีโครงการไอที
ใหมๆ เพิ่ม ยอมตองการผูที่มาติดตามความคืบหนา
และจัดการโครงการใหเปนไปตามเปาหมายที่วางไว
และการสนับสนุนแกไขปญหาดานเทคนิคและเฮลพเดสก
โดยองคกรตองการคนที่เขามาแกไขปญหาหลังจากที่มี
การติดตั้งระบบใหมๆ ใชงาน
อันดับสี่ ดานเซคเคียวริตี้ ความปลอดภัยระบบไอที
โดยเฉพาะความชำนาญเฉพาะดานในการปองกันการ
โจมตีระบบ
อันดับหา บิสิเนส อินทิลิเจนท และการวิเคราะห
ทั้งผูมีความรูดานเทคนิค และความสามารถวิเคราะห
ขอมูลที่มีอยูเพื่อสรางความไดเปรียบเชิงธุรกิจได
อันดับหก ทักษะดานคลาวด และการใชซอฟตแวร
ในรูปของการใหบริการ SaaS ซึ่งเปนไปตามกระแส
ความตองการใชงานเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง
อันดับเจ็ด เวอรชวลไลเซชั่น โดยเฉพาะผูบริหาร
ระบบ Administrator
อันดับแปด ดานอุปกรณเครือขายที่ทักษะนี้ยังเปน
ที่ขาดแคลนในอุตสาหกรรม
อันดับเกา การบริหารจัดการอุปกรณและแอพลิเคชั่น
โมบาย เนื่องจากมีจำนวนพนักงานเริ่มนำอุปกรณสวนตัว
ทั้งสมารทโฟนและแท็บเล็ตเขามาเชื่อมตอระบบไอทีของ
องคกรมากขึ้น
และอันดับสิบ เทคนิคระดับสูงที่ใชในดาตาเซ็นเตอร
โดยเฉพาะการบริหารจัดการดาตาเซ็นเตอร สตอเรจ
และดาตาแบ็กอัป
เปดคูมือซ�ไอโอ
รับมือยุค Post PC
SOFTWARE PARK14
½†ÒÇԡĵԫÕäÍâÍ
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter
Software newsletter

More Related Content

Viewers also liked

Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...
Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...
Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...Software Park Thailand
 
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business !
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business ! The Real Cloud ” Opportunity for Software Business !
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business ! Software Park Thailand
 
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...Software Park Thailand
 
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Software Park Thailand
 
ICT Security Workforce Promotion to Professionals
ICT Security Workforce Promotion to ProfessionalsICT Security Workforce Promotion to Professionals
ICT Security Workforce Promotion to ProfessionalsSoftware Park Thailand
 
ICT Vision and Technologies Adoption across Thailand
ICT Vision and Technologies Adoption across ThailandICT Vision and Technologies Adoption across Thailand
ICT Vision and Technologies Adoption across ThailandSoftware Park Thailand
 

Viewers also liked (12)

Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...
Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...
Smart Industry Vol.4/2007 "การขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศให้...
 
Doing ICT Business in Thailand
Doing ICT Business in ThailandDoing ICT Business in Thailand
Doing ICT Business in Thailand
 
Technology Trends 2012
Technology Trends 2012Technology Trends 2012
Technology Trends 2012
 
EJB Programming Using Eclipse & JBoss
EJB Programming Using Eclipse & JBossEJB Programming Using Eclipse & JBoss
EJB Programming Using Eclipse & JBoss
 
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business !
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business ! The Real Cloud ” Opportunity for Software Business !
The Real Cloud ” Opportunity for Software Business !
 
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...
Applying Agile Values to Enterprise Architecture Software Architectural Trend...
 
Thailand Country Profile BPO & ITO
Thailand Country Profile BPO & ITOThailand Country Profile BPO & ITO
Thailand Country Profile BPO & ITO
 
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
Smart industry Vol. 18/2554 "Digital Magazine ความท้าทายใหม่ ในยุคดิจิตอลของส...
 
ICT Security Workforce Promotion to Professionals
ICT Security Workforce Promotion to ProfessionalsICT Security Workforce Promotion to Professionals
ICT Security Workforce Promotion to Professionals
 
Google App Engine Using Eclipse
Google App Engine Using EclipseGoogle App Engine Using Eclipse
Google App Engine Using Eclipse
 
ICT Vision and Technologies Adoption across Thailand
ICT Vision and Technologies Adoption across ThailandICT Vision and Technologies Adoption across Thailand
ICT Vision and Technologies Adoption across Thailand
 
Managing successful ITO Project
Managing successful ITO ProjectManaging successful ITO Project
Managing successful ITO Project
 

Similar to Software newsletter

Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Thailand
 
ฉลาดรู้เน็ต
ฉลาดรู้เน็ตฉลาดรู้เน็ต
ฉลาดรู้เน็ตWiseKnow Thailand
 
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Software Park Thailand
 
องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeNavik Numsiang
 

Similar to Software newsletter (7)

Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
Software Park Newsletter ฉบับ 1/2554
 
ฉลาดรู้เน็ต
ฉลาดรู้เน็ตฉลาดรู้เน็ต
ฉลาดรู้เน็ต
 
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
Smart Industry Vol.14/2010 "CRM เครื่องมือทางการตลาดที่ไม่ใช่ Nice to have อี...
 
องค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-officeองค์กรในฝัน front to-back-office
องค์กรในฝัน front to-back-office
 
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561
 
Group5
Group5Group5
Group5
 

More from Software Park Thailand

Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Thailand
 
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSolfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSoftware Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand
 
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Thailand
 
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Software Park Thailand
 
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Software Park Thailand
 
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Software Park Thailand
 
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Software Park Thailand
 
Technology Trends : Impacts to Thai Industries
Technology Trends : Impacts to Thai IndustriesTechnology Trends : Impacts to Thai Industries
Technology Trends : Impacts to Thai IndustriesSoftware Park Thailand
 

More from Software Park Thailand (20)

Softwarepark news Vol.7/2561
Softwarepark news Vol.7/2561Softwarepark news Vol.7/2561
Softwarepark news Vol.7/2561
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
 
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
 
Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23
 
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSolfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
 
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
 
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
 
Smart industry Vol. 21/2556
Smart industry Vol. 21/2556Smart industry Vol. 21/2556
Smart industry Vol. 21/2556
 
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
 
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
 
Thai IT Delegation to Japan 2012
Thai IT Delegation to Japan 2012Thai IT Delegation to Japan 2012
Thai IT Delegation to Japan 2012
 
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
 
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
 
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
 
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
 
Smart industry Vol. 20/2555
Smart industry Vol. 20/2555Smart industry Vol. 20/2555
Smart industry Vol. 20/2555
 
Technology Trends : Impacts to Thai Industries
Technology Trends : Impacts to Thai IndustriesTechnology Trends : Impacts to Thai Industries
Technology Trends : Impacts to Thai Industries
 
Cloud Thailand Alliance
Cloud Thailand AllianceCloud Thailand Alliance
Cloud Thailand Alliance
 

Software newsletter

  • 1. ©ºÑº·Õè 1/2556 ไอดีซ�ฟนธง ท็อปเทรนดปมะเส็ง 6 เปดคูมือซ�ไอโอ รับมือยุค Post PC 14 เทคนิคการเลือก คลาวด โพรวายเดอร 20 NEWSLETTER โมบายแอพฯ-คลาวด-สามจี ดันอุตสาหกรรมไอซีทีป 56
  • 2. ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹·Ø¡·‹Ò¹¤Ð ¨´ËÁÒ¢‹ÒÇ »ÃÐà´ÔÁ»‚ÁÐàÊç§ â´Â¹Ó¤ÇÒÁà¤Å×è͹äËǨѺ¡ÃÐáÊ à·¤â¹âÅÂÕâÅ¡ ¾ÃŒÍÁÁØÁÁͧ㹻ÃÐà·Èä·Â«Ö觨Рª‹ÇÂãËŒ¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹àËç¹·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á·Õè¡ÓÅѧ¨Ðà¡Ô´¢Öé¹ à¾×èÍãËŒ·‹Ò¹¾ÃŒÍÁÃѺÁ×͡Ѻ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅРࢌÒÊÙ‹µÅÒ´ªÔ§¤ÇÒÁä´Œà»ÃÕºà˹×ًͤᢋ§ 㹩ºÑºË¹ŒÒàÃҨйӷ‹Ò¹ä»·Ó¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñº ¤Ø³à©ÅÔÁ¾Å µÙŒ¨Ô¹´Ò ¼ÙŒÍӹǡÒëͿµáÇϾÒϤ ¤¹ãËÁ‹·ÕèࢌÒÁÒÃѺµÓá˹‹§àÁ×è͵Œ¹»‚·Õ輋ҹÁÒ áÁŒ¨ÐãËÁ‹ 㹺·ºÒ·¼ÙŒÍӹǡÒÃᵋ¡çÁÕ¤ÇÒÁ¤ØŒ¹à¤Â¡Ñº«Í¿µáÇÏ ¾ÒϤ໚¹Í‹ҧ´Õã¹°Ò¹ÐÍ´ÕµÃͧ¼ÙŒÍӹǡÒà «Í¿µáÇϾÒϤ áÅзÓãËŒ¡ÒâѺà¤Å×è͹¡ÒþѲ¹Ò «Í¿µáÇϾÒϤáÅÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ«Í¿µáÇÏä·Â 㹪‹Ç§à»ÅÕè¹¼‹Ò¹ä»à»š¹Í‹ҧÃÒºÃ×è¹...äÃŒÃ͵‹Í ´ŒÇ¤ÇÒÁ¹Ñº¶×Í ¼ÙŒ¨Ñ´·Ó ແ´Á‹Ò¹Ê¹·¹Ò àÃ×èͧ¨Ò¡»¡ âÁºÒÂá;Ï-¤ÅÒÇ´-ÊÒÁ¨Õ ´Ñ¹ÍصÊË¡ÃÃÁäÍ«Õ·Õ »‚ 56 ˹ŒÒµ‹Ò§áË‹§âÍ¡ÒÊ äÍ´Õ«Õ¿˜¹¸§·çÍ»à·Ã¹´»‚ÁÐàÊç§ ·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á ÊÔºÍѹ´ÑºÊØ´ÂÍ´á¹Ç⹌Á à·¤â¹âÅÂÕ »‚ 2556 ¡ÃÐáÊäÍ·Õ ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´ Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚ 56 àÍʾÕäÍ ¤Í¹à¹ÍÏ ¿ÇªÑè¹ â«ÅÙªÑè¹ ÅØ CMMI à¾ÔèÁ¢Õ´á¢‹§¢Ñ¹ÃѺàÍÍÕ«Õ ½†ÒÇÔ¡ÄµÔ «ÕäÍâÍ à»´¤Ù‹Á×Í«ÕäÍâÍÃѺÁ×ÍÂؤ Post PC ¤ÅÒÇ´ Í͹ à´ÍÐ ÁÙ¿ ä·ÂÃÑ駷ŒÒ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ ¤ÅÒÇ´ ¤ÍÁ¾ÔǵÔé§ ã¹àÍàªÕ App on stage TSquare Traffic & Taxi Application á;ÍѨ©ÃÔÂн†ÒÇԡĵԨÃÒ¨Ãä·Â äÍ·Õ µÔ´´ÒÇ OOKBEE Íպ؍¡ä·Â¡ŒÒÇä¡ÅÍÔ¹àµÍÏ ¨Ñºà¢‹Ò¤Ø ແ´ã¨Êͧ¡ÅØ‹Á·Ø¹ä·Â¡ÑºÀÒáԨ ÊÌҧ«ÔÅԤ͹ÇÑÅàŋáË‹§àÍàªÕ ·Ô» á͹´ ·ÃÔ¤ à·¤¹Ô¤¡ÒÃàÅ×Í¡ ¤ÅÒÇ´ â¾ÃÇÒÂà´ÍÏ ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº µÒÃҧͺÃÁ ¨Ñ´·Óâ´Â ࢵÍصÊÒË¡ÃÃÁ«Í¿µáÇÏ»ÃÐà·Èä·Â (Software Park Thailand) ÀÒÂ㵌Êӹѡ§Ò¹¾Ñ²¹ÒÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕáË‹§ªÒµÔ (ÊÇ·ª.) 99/31 ÍÒ¤Òà Software Park ¶¹¹á¨Œ§ÇѲ¹Ð »Ò¡à¡Ãç´ ¹¹·ºØÃÕ 11120 â·Ã. 0-2583-9992, â·ÃÊÒà 0-2583-2884 www.swpark.or.th www.tmc.nstda.or.th www.nstda.or.th 3 8 11 15 18 16 2 3 6 8 11 13 14 15 16 17 18 20 21 23 ÊÒúÑÞ à»´Á‹Ò¹Ê¹·¹Ò
  • 3. การเปดใหบริการสามจีบนยานความถี่ 2.1 GHz ไดสราง จุดเปลี่ยนใหกับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและสืื่อสาร ของไทย โดยเฉพาะการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ พรอมสรางโอกาสแจงเกิดโมบายแอพลิเคชั่น ดิจิทัล คอนเทนท ใหกับผูประกอบการซอฟตแวรไทย ทั้งยังกระตุนให การเขาสูเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง ไดอยางเปนรูปธรรม ศูนยวิจัยกสิกรไทยมองวา การเปดใหบริการสามจีบนคลื่น ความถี่ 2.1 GHz มีสวนชวยผลักดันใหเกิดเม็ดเงินลงทุนในธุรกิจ วางโครงสรางพื้นฐานโทรคมนาคมราว 125,000 ลานบาท ในระยะ เวลา 3 ป และยังกอใหเกิดกระแสการเปลี่ยนโทรศัพทเคลื่อนที่ ของผูบริโภคเพื่อใชงานบริการสามจีมากยิ่งขึ้น ผูใหบริการคอนเทนทมีแนวโนมที่จะเขามาพัฒนาบริการ ใหมๆ บนชองทางการสื่อสารไรสาย เพื่อตอบสนองความตองการ ของผูบริโภคที่ตองการบริโภคเนื้อหาออนไลนมากยิ่งขึ้น สงผลให บริการดานขอมูลเปนตัวหลักผลักดันการเติบโตของธุรกิจบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ คิดเปนสัดสวนถึง 32.5% ของมูลคาตลาดรวม 210,000-214,900 ลานบาท ในป 2556 และมีอัตราเติบโต 11.5- 14.2% เมื่อเทียบกับปที่ผานมา บริการขอมูลมีสัดสวน 25.8% ของ ตลาดรวม 188,300 ลานบาท แนะตอยอดแอพฯ โซเชียล ดร.บวร ปภัสราทร คณะบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี กลาวในงานสัมมนาใหญประจำป ของซอฟตแวรพารควา การเขามาของสามจีจะเปนชวงเวลาหัวเลี้ยว หัวตอของประเทศในการพัฒนาอุตสาหกรรมไอซีที หลังจากที่ ชวงหาปที่ผานมา อันดับการแขงขันดานไอซีทีของไทยในระดับโลก ลดระดับจากที่ใกลเคียงกับมาเลเซีย สิงคโปร มาอยูระดับเดียวกับ เวียดนามและอินโดนีเซีย เนื่องจากการขาดความพรอมทางดาน โครงสรางพื้นฐานสื่อสารไรสายความเร็วสูง มีรายงานการศึกษาจากตางประเทศพบวา ประเทศที่มี ประชากรเขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบรอดแบนดถึง 25% จะสรางนวัตกรรมไดมากขึ้น ซึ่งจะแตกตางจากประเทศที่ยังขาด ความพรอมการสื่อสารไรสายความเร็วสูง จะตองเพิ่มความพยายาม และทรัพยากรที่มีอยูถึง 15 เทา จึงจะสรางนวัตกรรมไดเทากับ ประเทศที่มีบรอดแบนด เมื่อประเทศไทยมีจำนวนของผูใชบริการมากขึ้น และ มีพื้นที่การใหบริการสามจีครอบคลุมถึง 80% ของจำนวน ประชากรภายในสองปขางหนา จะทำใหแนวโนมคาบริการ ลดลง โดยคาดวาคาบริการโมบายดาตาจะเหลือ 40 บาท ตอหนึ่งกิกะไบทภายในสี่ป จากปจจุบันอยูที่ 300 บาท ตอกิกะไบท หากอัตราคาบริการโมบายดาตาลดลง ก็จะทำให ผูใชนิยมใชโมบายแอพลิเคชั่นและคอนเทนทมากยิ่งขึ้น ซึ่งเพิ่มโอกาสใหกับนักพัฒนาไทยที่่มีนวัตกรรมและรูปแบบ ธุรกิจที่นาสนใจ โดยเฉพาะตอการใชงานบนโซเชียลเน็ทเวิรก เฟซบุค ซึ่งกอนมีสามจีไทยมีจำนวนผูใชเฟซบุคติดอันดับ สิบสี่ของโลก และกรุงเทพฯ ถือวาเปนเมืองที่มีผูใชเฟซบุค สูงสุดของโลก โดยกลุมผูใชสวนใหญอยูในชวง 18-34 ป ซึ่งเปนกลุมที่มีกำลังซื้อ ดร.บวร กลาวตอวา แอพลิเคชั่นที่เกี่ยวกับผูพิการ หรือผูสูงอายุ เชน การใชเซ็นเซอรรวมกับอุปกรณโมบาย เพื่อใชดูแลผูสูงอายุ ไมวาจะเปนการแจงเตือนการหกลม ระบบการแจงเตือนใหรับประทานยา ซึ่งจะมีโอกาสอีกมาก เนื่องจากไทยกำลังเขาสูสังคมของผูสูงอายุ และการใช เทคโนโลยี Internet Of Things ดังกลาว จะชวยพัฒนา คุณภาพชีวิตใหกับผูพิการและผูสูงอายุได โมบายแอพฯ-คลาวด-สามจี ดันอุตสาหกรรมไอซีทีป5656 3NEWSLETTER THAILAND àÃ×èͧ¨Ò¡»¡
  • 4. นอกจากนั้น ดร.บวร ยังแนะดวยวา บริการดิจิทัลทีวีที่ กำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย ทำใหผูรับชมโทรทัศนกวา 22 ลานครัวเรือน ตองใชอุปกรณเซ็ทท็อปบ็อกซที่ภายในใชระบบ ปฏิบัติการลินิกซและแอนดรอยด ก็จะเปดโอกาสใหนักพัฒนา แอพลิเคชั่นตอยอดธุรกิจจากฐานลูกคาในกลุมนี้ไดมากเชนกัน ซอฟตแวรกลุมสื่อสารการเงินเฟอง ดร.ธนชาติ นุมนนท อดีตผูอำนวยการเขตอุตสาหกรรม ซอฟตแวรไทยและผูอำนวยการสถาบันไอเอ็มซีมองวา ตลาดซอฟตแวร ในปนี้จะโตที่สุดในกลุมของการสื่อสารเนื่องจากผูใหบริการโทรศัพท มือถือที่ไดรับใบอนุญาตใหบริการสามจีจะตองลงทุนโครงสราง พื้นฐานไอทีทั้งฮารดแวรและซอฟตแวร กระนั้นการลงทุนซอฟตแวร ของโอเปอเรเตอรสวนใหญยังเปนซอฟตแวรตางประเทศ กลุมบริการการเงินและประกันภัย ยังเปนอีกธุรกิจหนึ่งที่ตอง ลงทุนซอฟตแวรจำนวนมาก เพื่อรับมือการแขงขันที่ดุเดือด และ ธุรกิจในกลุมนี้ตองการโมบายแอพลิเคชั่น มาใหบริการกับลูกคา มากขึ้นดวย ดร.ธนชาติ คาดการณดวยวา แท็บเล็ตและสมารทโฟนจะยัง เติบโตตอเนื่อง โดยเฉพาะผูใชในกรุงเทพฯ ที่จะเริ่มเขาถึงอินเทอรเน็ต โดยใชอุปกรณโมบายมากกวาพีซี ทำใหตลาดโมบายแอพลิเคชั่น ในประเทศโตขึ้น และหลายองคกรธุรกิจเริ่มเขาสูการใชยุทธศาสตร ดานโมบาย หรือ Mobile Enterprise Strategy เพื่อใหบริการลูกคา สวนของเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง จะเปนกระแสแรง ตอเนื่อง องคกรธุรกิจบางแหงเริ่มใชไพรเวท คลาวดภายในองคกร ฝงของผูใชงานจะนิยมการใชพับลิคคลาวดตางประเทศ ดร.ธนชาติ มองวา องคกรตางๆ ในประเทศยังไมพรอมที่จะ พัฒนาซอฟตแวรขึ้นคลาวด เนื่องจากขาดแคลนบุคลากร และ ความพรอมเรื่องกฎระเบียบในประเทศ ทางฝงของบริษัทซอฟตแวรไทย จะเริ่มมีการพัฒนา แอพลิเคชั่น ขึ้นคลาวด แพลทฟอรมของตางประเทศมากขึ้น และคาดการณวา แพลทฟอรมที่บริษัทจะพัฒนามากที่สุด คือ Microsoft Azure เนื่องจากไมโครซอฟทมีสำนักงาน ในประเทศไทย ซึ่งสามารถใหการสนับสนุนโดยตรงกับ ผูพัฒนาในประเทศ ขณะที่แพลทฟอรมตางประเทศอื่นๆ เชน Amazon, Google App Engine และ Force.com จะยังไมมีการ สนับสนุนโดยตรง นอกจากการสนับสนุนผานระบบออนไลน สวนของนักพัฒนาซอฟตแวรไทยจะสนใจพัฒนาโมบาย แอพลิเคชั่นมากขึ้น โดยเฉพาะบนระบบปฎิบัติการวินโดวส 8 และแอนดรอยด เขามองดวยวา โครงการในภาครัฐยังอยูกับกระแส ของ One Tablet Per Child และ Government Cloud ซึ่งนักพัฒนาซอฟตแวรขนาดเล็กอาจไดอานิสงสการทำ โครงการดานอีเลิรนนิ่งและโมบายแอพลิเคชั่น สวนโครงการ ใหญๆ ก็คงอยูกับซิสเต็ม อินทิเกรเตอรรายใหญในประเทศ อดีตผูอำนวยการซอฟตแวรพารคยังคาดการณดวยวา นโยบายรถคันแรกจะทำใหตลาดอีคอมเมิรซขยายตัวขึ้นมาก เนื่องจากสภาพการจราจรที่ติดขัดเพิ่มขึ้น ทำใหผูใชหันมา ช็อปปงและทำธุรกรรมออนไลนผานอุปกรณโมบายมากขึ้น นั่นเอง 4 SOFTWARE PARK
  • 5. ฟรอสตฯ ยังคาดการณดวยวา บริการโครงสรางพื้นฐานไอที ที่เกี่ยวของกับคลาวดและดาตาเซ็นเตอร จะเติบโตเพิ่มขึ้นดวย ตามปริมาณการใชโมบายแอพลิเคชั่นที่เพิ่มขึ้น กอปรกับมีความ ตองการลงทุนไอทีของธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อสรางความพรอม ตอการเปดเสรีอาเซียน โดยฟรอสตฯ คาดวา ธุรกิจคลาวดจะเติบโต ในปนี้ไดถึง 30% จากปที่ผานมาการใชคลาวดมุงรองรับการ แบ็กอัปขอมูลเทานั้น สวนของดาตาเซ็นเตอรคอนขางมาแรง และเปนผลกระทบ เชิงบวกโดยตรงจากเออีซี ทำใหผูใหบริการดาตาเซ็นเตอร ซึ่งสวนใหญมีความจุของดาตาเซ็นเตอรเหลืออยูไมถึง 25% ตอง ลงทุนและขยายความจุเพื่อรองรับการใชงานที่จะเพิ่มขึ้นดวย ดานการทเนอร อิงค อีกหนึ่งบริษัทวิจัยระดับโลกมองวา ในปนี้โอกาสการเติบโตของธุรกิจไอซีทีในประเทศไทยที่มีผูใหบริการ สื่อสารหารายหลักนั้น จะอยูที่ผูผลิตอุปกรณสื่อสาร และบริการ ดิจิทัลในกลุมคอนซูเมอรและบริการคลาวดในกลุมเอ็นเตอรไพรส การทเนอรแนะวา ประเทศไทยตองเรงพัฒนาทักษะบุคลากร และธุรกิจดิจิทัลคอนเทนทใหเพิ่มมากขึ้น และเปดกวางการใช อินเทอรเน็ตอยางเสรีเพื่อสงเสริมผูประกอบการใหม บริษัทคาดการณวา ประเทศไทยจะมีอัตราผูเขาถึงอินเทอรเน็ต ผานเครือขายประจำที่ หรือฟกซ เน็ตเวิรก อยูที่ 22% ของจำนวน ประชากรในสิ้นป 2555 และมีจำนวนผูใชบรอดแบนดผานฟกซ เน็ตเวิรก คิดเปน 17% ของครัวเรือนในสิ้นปที่ผานมา ซึ่งจะเพิ่ม เปน 28% ภายในป 2559 สวนของสมารทโฟนที่เชื่อมตออินเทอรเน็ตจะเพิ่มขึ้นจาก 4.2 ลานเครื่อง ในป 2554 เปน 22.3 ลานเครื่อง ในป 2559 และ คาดวาราว 30% ของประชากรจะเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานอุปกรณ โมบาย และ 10% ของประชากรจะเชื่อมตอผานฟกซ เน็ตเวิรก สามจี/เออีซี ดันตลาดโต ดร.มนธสินี กีรติไกรนนท ผูจัดการประจำประเทศไทย บริษัท ฟรอสตแอนดซัลลิแวน บริษัทวิจัยระดับโลกมองวา ธุรกิจไอซีทีไทยปนี้ จะไดรับอานิสงสจากการใหบริการสามจี และการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซี โดยจะ สงผลบวกทั้งฮารดแวร โมบายแอพลิเคชั่น และบริการดาน ดาตาเซ็นเตอร ในสวนของฮารดแวรนั้น แท็บเล็ตมีแนวโนมเติบโตสูงขึ้น ไมเพียงเฉพาะความนิยมของคอนซูเมอร แท็บเล็ตจะเติบโต ในกลุมองคกร ซึ่งคาดวาจะมีสัดสวนกวา 10% ของการ ใชงานแท็บเล็ตทั้งหมด ฟากตลาดซอฟตแวร ธุรกิจโมบายแอพลิเคชั่นจะโตขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจากผูใชงานเริ่มยอมรับการจายคาคอนเทนท มากขึ้น จากเดิมมองวาคอนเทนทควรเปนของฟรี ฟรอสตฯ คาดวา จะมีจำนวนแอพลิเคชั่นอีกเกือบ 50% จากปที่แลว หรือประมาณ 2,000 แอพลิเคชั่น ภายในปนี้ และมีมูลคาตลาดรวมสูงถึงหนึ่งพันลานบาท ในขณะที่การมีสามจีทำใหมีการพัฒนาซอฟตแวรมาใช มากขึ้น การเตรียมพรอมสูเออีซีในภาคธุรกิจก็ชวยกระตุนให องคกรใหน้ำหนักลงทุนซอฟตแวรการจัดการองคกรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำงานภายใน โดยเฉพาะการนำ ERP และ ซอฟตแวร Analytics เขามาใชงาน ขณะเดียวกันประเทศไทยเปนแหลง Offshore software outsourcing หลักแหงหนึ่งในเอเชีย ดังนั้นทั้งสามจีและ เออีซีจะสามารถดันตลาดซอฟตแวรไทยใหโตไปเกือบแตะ 10,000 ลานบาท ไดภายในสิ้นปนี้ จาก 8.4 หมื่นลานบาท ในป 2554 NEWSLETTER THAILAND 5
  • 6. äÍ´Õ«Õ¿˜¹¸§ ·çÍ»à·Ã¹´ »‚ÁÐàÊç§ äÍ´Õ«Õ ·Ó¹ÒÂÊÔºà˵ءÒó·Õè¨Ðà¡Ô´¢Öé¹ เปนประจำทุกปที่บริษัท ไอดีซี ประเทศไทย ออกมาเปดเผย การคาดการณแนวโนมที่จะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมไอซีทีไทย ซึ่งแนนอนวาการใชจายของอุตสาหกรรมไอซีทีในปนี้ เติบโตเกือบ สองหลักไดจากอานิสงสของโมบายดีไวซและการใหบริการสามจี นายอรรถพล สาธิตคณิตกุล ผูจัดการฝายงานวิจัย และ ที่ปรึกษาประจำประเทศไทยเผยวา ตลาดไอซีทีซึ่่งนับรวมทั้งไอที และโทรคมนาคมจะสามารถเติบโตไดถึง 9.8% โดยมีมูลคาตลาด ประมาณ 21 พันลานดอลลารสหรัฐ ในป 2556 จากปที่แลว อยูที่ 19 พันลานดอลลารสหรัฐ ประการแรก การใชจายดานไอซีทีของประเทศไทย ยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง ทั้งองคกรธุรกิจและฝงคอนซูเมอร โดยกลุมอุตสาหกรรมหลักที่ยังคงใชจายดานไอซีอยางตอเนื่อง ไดแก อุตสาหกรรมการเงิน การธนาคาร โทรคมนาคม และ กลุมงานภาครัฐฯ โดยเฉพาะการลงทุนเทคโนโลยีที่กำลังเติบโต (อีเมอรจิ้ง) ไดแก บิ๊กดาตาและอานาไลติก เทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง ภาครัฐฯ เองก็มีการลงทุนอยางตอเนื่องดานระบบ สารสนเทศที่จะติดตอกับโครงการ Government Cloud (G-cloud) และ Government Information Network (GIN) เพื่อใหสอดคลองกับแผนสมารท ไทยแลนด (Smart Thailand) นอกจากนี้การเติบโตดานไอซีทีในปนี้ยังไดรับปจจัยหนุนจากการ ลงทุนดานโครงขายสามจี และโครงสรางพื้นฐานทางโทรคมนาคม อยางตอเนื่องอีกดวย ประการที่่สอง บริการขอมูลไรสายยังเปนดาวเดนกลุม สื่อสาร ซึ่งคาดวาโมบายดาตาจะเติบโตในปนี้จะสูงกวา 14% มีมูลคาตลาดไมต่ำกวา1.7 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จากตลาดรวม บริการสื่อสารอยูที่ 8.5 พันลานดอลลารสหรัฐ โตขึ้น 4.4% เนื่องจากการเติบโตของอุปกรณประเภทสมารทดีไวซ และ ความพรอมของโครงขายสามจี ประการที่สาม การเกิดรูปแบบใหมของการ ใหบริการไอทีแบบครบวงจร โดยเปลี่ยนจากงานบริการที่ ผูกติดกับอุปกรณ มาสูรูปแบบบริการที่เนนคุณคาของ กระบวนการทางธุรกิจ และตอบโจทยทางธุรกิจมากขึ้น เชน โมเดลของรูปแบบการใหบริการ Outsourcing 3.0 ที่ใหบริการบริหารจัดการอุปกรณที่มาจากผูผลิต และ สภาพแวดลอมในการใชงานที่ตางกัน (Multi-vendors management service) ในปนี้ไอดีซีคาดการณวา มูลคา ตลาดบริการดานไอทีในไทยจะเติบโตไดถึง 14.2% และ มีมูลคา 1.8 พันลานดอลลารสหรัฐ ประการที่สี่ ไอดีซีมองวา ถึงเวลาสิ้้นสุดยุค แหงการเติบโตที่แข็งแกรงของพีซี โดยเครื่องคอมพิวเตอร สวนบุคคลหรือเดสกท็อป และเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล แบบพกพา หรือแล็ปท็อป ที่เคยมีอัตราเติบโตตอเนื่อง ตัวเลขสองหลักมารวมทศวรรษจะถึงจุดที่เติบโตไดสูงสุด ไมเกิน 4% หรืออาจติดลบ ตั้งแตป 2556 และในป 2555 จะเปนปแรกที่ตลาดพีซีของไทยติดลบ มียอดขายไมถึง สี่ลานเครื่อง แบงเปนเดสกท็อป 1.5 ลานเครื่อง และโนตบุก ต่ำกวา 2.5 ลานเครื่่อง เนื่องจากประเทศไทยมีอัตราการ เขาถึงพีซีตอประชากร 30% ซึ่งถือวาคอนขางสูง ทำให ตลาดผูใชเครื่องแรกลดลง ประกอบกับพฤติกรรมของ ผูบริโภคหันมาซื้อสมารทโฟนและแท็บเล็ต SOFTWARE PARK6 ˹ŒÒµ‹Ò§áË‹§âÍ¡ÒÊ
  • 7. ประการที่เจ็ด การเกิดขึ้นของสภาพแวดลอม สวนบุคคลผานสมารทดีไวซ หรือเปน Personal Ecosystem ซึ่งเกิดจากการที่ผูใชมีหลายอุปกรณ และตองจัดเก็บสำรอง และโอนถายขอมูลออนไลนมากขึ้น โดยใหทุกอุปกรณ สามารถเขาถึงและซิงคขอมูลออนไลนได โดยจะเปนการ จัดเก็บผานพับลิคคลาวดที่ใหบริการเวอรชวล สตอเรจ ประการที่แปด การเติบโตของคลาวดในประเทศ ยังคงเปนไปอยางตอเนื่อง โดยจะเปนการใหบริการพับลิค คลาวดมากขึ้นจากปที่ผานมา และภาครัฐฯ จะเปนตัวกระตุน การใชงานคลาวดผานโครงการ Government Cloud สวนรูปแบบการใชงานของคลาวนในประเทศในปนี้จะ มุงเนนไปที่ Application-as-a-Service (AaaS) ไดแก แอพลิเคชั่นเฉพาะดาน Collaboration และ Productivities เปนหลักจากเดิมความนิยมใชเปนซอฟตแวรทั่่วไป Software as a Service (SaaS) ประการที่เกา การตอบรับจากกลุมองคกรตอ ความตองการโซลูชั่นที่ผนวกโครงสรางพื้นฐานดานไอที หรือ Converged solution ที่รวมเครื่องแมขายสตอเรจเน็ตเวิรก และซอฟตแวรเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และ ควบคุมทรัพยากรดานไอที ไอดีซีคาดการณวา ตลาดระบบโครงสรางพื้นฐานจะ ขยายตัวราว 11% โดยมีจุดเดนที่สำคัญคือ การผนวกระบบ รักษาความปลอดภัยเขาไปเปนหนึ่งโซลูชั่นที่จะนำเสนอใหกับ กลุมลูกคาองคกร ประการที่สิบ ระบบการจัดการและวิเคราะหขอมูล ขนาดใหญยังคงสรางกระแสในอุตสาหกรรมไอที ทั้งองคกร ขนาดใหญและองคกรขนาดกลางที่ไดรับแรงกดดันจากการ แขงขัน โดยเฉพาะกลุมการเงินและสื่อสาร เฮลธแคร ทำให เพิ่มน้ำหนักการลงทุนระบบการวิเคราะหขอมูลขั้นสูง และ ซับซอนและเปนแรงผลักดันใหองคกรธุรกิจใหความสำคัญกับ การบริหารจัดการระบบฐานขอมูล ทั้งดาตาเบสแมเนจเมนท ดาตาแวรเฮาส เพื่อใหองคกรสามารถใชประโยชนจากขอมูล ใหไดสูงสุด ทั้งยังมีปจจัยดานของกระบวนการคอนซูเมอรไรเซชัน ของสมารทโฟนและแท็บเล็ต ประกอบกับการที่องคกรตางๆ ไดอนุญาตใหพนักงานเขาถึงแอพลิเคชั่นผานอุปกรณ สื่อสารเคลื่อนที่ได ทำใหไอดีซีเชื่อวาตลาด Information Management Analytics จะสามารถเติบโตไดถึง 12% ประการที่่หา ตลาดสมารทโฟนและแท็บเล็ตจะกลาย เปนสมรภูมิรบใหม ไอดีซีคาดการณวา ดวยแรงซื้อที่ปรับตัว เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ประกอบกับความพรอมของการใหบริการ สามจี จะทำใหตลาดสมารทโฟนในป 2556 มีแนวโนมที่จะ ขยายตัวไดสูงถึง 40% ดวยยอดจัดสงทั้งหมด 7.3 ลานเครื่อง สวนตลาดแท็บเล็ตเองก็มีแนวโนมที่จะเติบโตในอัตราใกลเคียงกัน โดยมียอดจัดสงทั้งหมดไมต่ำกวา 3.5 ลานเครื่อง ในปนี้ และ เปนปแรกที่แท็บเล็ตแซงหนาโนตบุก ไอดีซี ยังเชื่อดวยวาระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) และ แอนดรอยด (Android) จะตองแขงขันกันอยางดุเดือดและครอง ตลาดหลัก สวนระบบปฏิบัติการที่เกิดใหมอยางวินโดวสโฟน 8 (Windows Phone 8) และแบล็กเบอรรี 10 (Blackberry 10) จะ ตองทุมสุดตัวเพื่อหาพื้นที่ในตลาดเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต ประการที่หก ความนิยมของสมารทดีไวซเปนแรงกระตุน ใหเกิดการใชงานดิจิทัลคอนเทนท ไมวาจะเปนแอพลิเคชั่น ทางดานธุรกิจ ดานสันทนาการ ไปจนถึงคอนเทนทแอพลิเคชั่น ที่เกี่ยวของกับไลฟสไตลของแตละบุคคล จากผลการศึกษา Consumerscape 360 ระดับภูมิภาค เอเชียแปซิฟกของไอดีซีในปลายป 2555 ที่ผานมาพบวา ทั้งกลุม ผูใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่สมารทโฟนและแท็บเล็ตกวา 55% นิยมดาวนโหลดคอนเทนทแอพลิเคชั่นประเภทเกมสมากเปน อันดับหนึ่ง รองลงมาคือ แอพลิเคชั่นประเภทโซเชียลเน็ตเวิรก และเพลงเปนอันดับสาม โดยการสอบถามโอเปอเรเตอรในไทยพบวา การทองเน็ต และโซเชียลเน็ตเวิรกเปนบริการยอดนิยมของผูใชมือถือ และสถิติ ยังพบดวยวา สัดสวนผูใชที่นิยมซื้อแอพลิเคชั่นกับดาวนโหลดฟรี อยูที่ 1:4 NEWSLETTER THAILAND 7
  • 8. อันดับสุดยอดแนวโนม เทคโนโลยีป 2556 หลายหมวดหมู และในอีกหลายปขางหนาเชื่อวาจะไมมี บริษัทซอฟตแวรใดที่จะสามารถพัฒนาแอพลิเคชั่น ออกมาใหรองรับไดกับทุกอุปกรณ ดังนั้นองคกรจะตอง มีการเลือกใชเครื่องมือการพัฒนาที่หลากหลาย ทั้งนี้คาดวามี 6 สถาปตยกรรมบนระบบโมบาย ไดแก Native, Special, Hybrid, HTML 5, Message และ No Client ที่จะยังคงความนิยมในการใชงาน อยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ในระยะยาวจะมีการเปลี่ยนแปลง จาก Native Apps ไปสู Web Apps เนื่องจาก HTML5 จะมีความสามารถเพิ่มขึ้น แตกระนั้น Native Apps ก็จะไมหายไปและจะยังคงใหประสบการณกับผูใชงาน ที่ดีที่สุด และมีฟเจอรที่ล้ำเลิศ สวนของนักพัฒนาแอพลิเคชั่นตองพัฒนาทักษะ การออกแบบใหมที่ีรองรับการสั่งงานแบบสัมผัส และ ใชงานไดหลากหลายอุปกรณเพื่อตอบรับกับความนิยม ที่เกิดขึ้นได 10เปนประจำทุกปที่การทเนอร อิงค บริษัทวิจัยไอทีระดับโลกไดนำเสนอบทวิเคราะหการ คาดการณ 10 เทคโนโลยียุทธศาสตรและแนวโนมที่สำคัญกับองคกรธุรกิจ ซึ่งในป 2013 นี้ การทเนอรไดใหนิยามเทคโนโลยียุทธศาสตรไววา เปนเทคโนโลยีแนวโนมที่จะสงผลกระทบ ตอองคกรในสามปขางหนา ไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลงดานธุรกิจ หรือไอที และเปน เทคโนโลยีที่ตองใชเงินลงทุนสูง หรือมีความเสี่ยงหากนำเทคโนโลยีมาใชลาชา เทคโนโลยียุทธศาสตรสามารถเปนเทคโนโลยีที่มีอยูเดิมและใชงาน หลากหลาย หรืออาจเปนเทคโนโลยีที่เกิดใหมที่จะสรางโอกาสใหเกิด ความไดเปรียบเชิงยุทธศาสตรทางธุรกิจ สำหรับผูที่กลานำเทคโนโลยี มาใชกอนคนอื่น รวมถึงสามารถที่จะสรางผลกระทบตอแผนระยะยาว ขององคกร โดย 10 เทคโนโลยี และแนวโนมที่สำคัญในเชิงยุทธศาสตร ขององคกรในปนี้ประกอบดวย Mobile Device Battles การทเนอรคาดการณวา ในป 2013 นี้ มือถือจะแซงหนาพีซี ในการเปนอุปกรณเขาถึงเว็บ และภายในป 2015 มากกวา 80% ของ มือถือที่ขายไปในตลาดที่อิ่มตัวจะเปนสมารทโฟน ซึ่งคาดวาวินโดวส โฟน จะมีสัดสวนราว 20% เทานั้น และภายในป 2015 มีเดียแท็บเล็ตจะมีสัดสวนเปนครึ่งหนึ่งของ แล็ปท็อปที่ขายไปในทองตลาด โดยวินโดวส8 จะมีสวนแบงเปนอันดับสาม ตามหลังระบบปฎิบัติการกูเกิล แอนดรอยด และแอปเปล ไอโอเอส กระแส Consumerization หรือการนำเครื่องมือที่ใชในการติดตอ สื่อสารสวนตัวมาใชในการทำงานประจำวัน จะทำใหองคกรไมสามารถ บังคับใหพนักงานเลิกใช หรือเลิกนำไอแพด หรืออุปกรณที่ใชระบบ ปฏิบัติการอื่่นๆ อยางวินโดวส 8 มาใชในองคกร ดังนั้นองคกรตองมี ระบบไอทีที่สามารถสนับสนุนการใชอุปกรณที่หลากหลาย ยุคของพีซีที่่มีวินโดวสเปนแพลทฟอรมหลักครองตลาดนั้น กำลัง จะถูกแทนที่ดวยยุคหลังพีซี (post-PC era) ที่มีโมบายดีไวซหลากหลาย ทำใหวินโดวสลดบทบาทลงเปนเพียงทางเลือก หรือองคประกอบหนึ่ง และไมไดเปนแพลทฟอรมหลักอีกตอไป Mobile Applications and HTML5 ตลาดของเครื่องมือในการพัฒนาแอพลิเคชั่น(mobiledevelopment tools) ทั้งคอนซูเมอรและเอ็นเตอรไพรสแอพลิเคชั่นจะทวีความซับซอน มากขึ้น เนื่องจากมีจำนวนผูคาเครื่องมือพัฒนามากกวา 100 บริษัท โดยปจจุบันการทเนอรไดแยกเครื่องมือพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นออกเปน 8 ·ÔÈ·Ò§á¹Ç⹌Á
  • 9. Personal Cloud การใชงาน Personal Cloud จะเริ่มเขามาทดแทนการใชพีซี Personal Cloud จะเปนที่ที่ผูใชจัดเก็บขอมูลสวนตัว รวมถึงเปน ศูนยกลางของดิจิทัลไลฟ อีกทั้งเปนศูนยกลางเชื่อมตอเว็บของทุกๆ อุปกรณที่ผูใชงานเลือกใช ซึ่งจะแตกตางกันไปตามชีวิตประจำวัน ของแตละบุคคล Personal Cloud จะนำไปสูแหลงรวมบริการเว็บปลายทาง และคอนเนคติวิตี้ตางๆ ซึ่งจะกลายเปนศูนยกลางของกิจกรรม และการสื่อสารนั่นเอง ผูใชงานจะมองวา บริการคลาวดพกพาติดตัวไปไดและพรอมใช บริการในทุกที่ที่ตองการ และที่สุด Personal Cloud จะขยับจากการ ใชงานในเครื่องพีซีผูใชปลายทางไปสู Cloud-based services ที่ ใหบริการในหลากหลายอุปกรณ Enterprise App Stores เอ็นเตอรไพรสตองเผชิญกับความซับซอนของแอพสโตร ในอนาคต เนื่องจากผูคาเทคโนโลยีจะจำกัดการใชงานเฉพาะกับ อุปกรณของตนเองและจำกัดประเภทของแอพลิเคชั่นในแอพสโตร ดวย ทำใหองคกรตองจัดการกับหลายๆ แอพสโตรซึ่งมีขั้นตอน การชำระเงินที่หลากหลาย ทั้งยังเงื่อนไขการใชงานไลเซนที่แตกตาง กันออกไป การทเนอรคาดวา ภายในป 2014 หลายๆ องคกรจะเสนอ โมบายแอพลิเคชั่นใหกับพนักงานผานแอพลิเคชั่นสโตรขององคกร เอง หรือเรียกวา เอ็นเตอรไพรส แอพสโตร ซึ่งจะทำใหบทบาทของ ไอทีขยับจากการวางแผนสวนกลางไปสูการเปนผูจัดการฝายการตลาด ที่เปนตัวกลางของบริการไปยังผูใช และมีแนวโนมที่จะสรางระบบ นิเวศนของการสนับสนุนผูประกอบการหนาใหมดานแอพลิเคชั่น (Apptrepreneurs) ใหเกิดขึ้น The Internet of Things The Internet of Things (IoT) เปนคอนเซปตที่บรรยายถึงการที่ อินเทอรเน็ตขยายขอบเขตการใชงานเขาไปสูอุปกรณตางๆ มากมาย เชน คอนซูเมอรดีไวซ และสินทรัพยตางๆ ที่จับตองไดโดยอุปกรณ เหลานี้จะสามารถเชื่อมตอเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต องคประกอบหลักของ IoT อยูที่ Embedded sensors ที่เปน เซ็นเซอรจิ๋วที่ฝงอยูในอุปกรณอิเล็กทรอนิกส, Image recognition technologies ที่เทคโนโลยีการรูจำภาพ และ NFC payment ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ใชในการชำระเงินผานระบบไรสาย โดยทั้งหมด จะอยูในอุปกรณโมบาย ดังนั้นตอไปอุปกรณโมบายจะไมไดนิยาม เฉพาะโทรศัพทมือถือหรือแท็บเล็ตเทานั้น สวนของเครือขายของโทรศัพทเคลื่อนที่ ก็จะมีการนำมาใช เพื่อใหบริการที่หลากหลายอุตสาหกรรมรวมกับอุปกรณประเภทใหมๆ ไมวาจะเปนดานเภสัชภัณฑ หรือในธุรกิจยานยนต เปนตน ขณะเดียวกัน สมารทโฟนและอุปกรณอัจฉริยะอื่นๆ ก็จะ ไมจำกัดการใชงานรวมกับเครือขายของโทรศัพทเคลื่อนที่ เทานั้น แตจะสามารถสื่อสารผาน NFC, Bluetooth, LE และ Wi-Fi ไปยังอุปกรณที่หลากหลาย และอุปกรณตอพวงอื่นๆ เชน หนาจอนาิกาขอมือ เฮลธแครเซนเตอร สมารท โปสเตอร และโฮมเอนเทอรเทนเมนต ทั้งยังสรางแอพลิเคชั่น และบริการใหมๆ พรอมกับความทาทายใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น อีกดวย Hybrid IT and Cloud Computing เนื่องจากพนักงานไดรับการรองขอใหทำงานไดมากขึ้น ดวยงบที่นอยลง แผนกไอทีจึงตองสวมหลายบทบาทในการ ประสานกิจกรรมดานไอที ขณะเดียวกัน Cloud Computing ก็เขามามีบทบาทผลักดันการเปลี่ยนแปลงขึ้นไปอีกระดับ ผลสำรวจบริการไอทีโดยการทเนอรเมื่อเร็วๆ นี้ พบวา บทบาทของตัวแทนซื้อขายบริการคลาวดภายในองคกร (Cloud Services Brokerage: CSB) กำลังจะเพิ่มขึ้น เนื่องจาก สวนงานไอทีตระหนักถึงความรับผิดชอบที่ตองชวยปรับปรุง การจัดการ ปรับปรุงการใชงานของบริการคลาวดที่ไดรับ ชวงตอมา ซึ่งมีความหลากหลายและบอยครั้งก็ซับซอน ดังนั้น สวนงานไอทีขององคกรตองเขามามีบทบาท ของการเปน CSB ภายในองคกร ทั้งตองสามารถรักษา และ สรางอิทธิพลภายในองคกร และกลายเปนศูนยกลางที่มีคุณคา ที่ตองเผชิญกับความทาทายดานความตองการใหมๆ ที่ สัมพันธกับการใชคลาวดที่เพิ่มขึ้นใหได Strategic Big Data Big Data กำลังขยับจากโครงการเฉพาะไปสูการสราง อิทธิพลตอโครงสรางสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศในเชิง ยุทธศาสตรขององคกรขนาดใหญ การจัดการปริมาณขอมูล จำนวนมาก ความหลากหลาย ความเร็ว และความซับซอน กำลังผลักดันการเปลี่ยนแปลงจากแนวทางดั้งเดิมในหลายๆ ดาน การตระหนักดังกลาว ทำใหองคกรเลิกการใชแนวคิด ของการมีดาตาแวรเฮาสเดียว ที่ีรวบรวมขอมูลทั้งหมดเพื่อ ใชตัดสินใจ และองคกรกำลังหันมาสูการใชหลายระบบ (Multiple systems) ทั้ง Content management, Data warehouses, Data marts และ Specialized file systems ที่ผูกติดกับดาตาเซอรวิสและเมทาดาตา ซึ่งจะกลายเปน ลอจิคัล เอ็นเตอรไพรส ดาตาแวรเฮาส NEWSLETTER THAILAND 9
  • 10. Actionable Analytics การวิเคราะหกำลังมีบทบาทตอผูใชงานมากขึ้น ทั้งในจุดที่เกิดธุรกรรม และในบริบทตางๆ โดยเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น และตนทุน คาใชจายลดลง ผูนำไอทีจะสามารถจัดหาการใชระบบวิเคราะห และการ จำลองสถานการณเขามาใชในทุกๆ งานทางธุรกิจ อุปกรณโมบายของผูใชจะเชื่อมตอกับเอ็นจินการวิเคราะหผานระบบ คลาวด และที่จัดเก็บขอมูลที่เปนบิ๊กดาตาได ทำใหองคกรมีแนวโนมที่จะ ใชประโยชนจากการวิเคราะหไดเต็มประสิทธิภาพ และจำลองเหตุการณ ในทุกที่และทุกเวลา ความกาวหนาดังกลาวนี้เอง ทำใหองคกรสามารถจำลองเหตุการณ การคาดการณ และการวิเคราะหอื่นๆ โดยเพิ่มขีดความสามารถในการ ตัดสินใจที่ยืดหยุนในเวลาและสถานที่ที่เกิดกระบวนการทางธุรกิจขึ้น In Memory Computing In Memory Computing (IMC) จะชวยสรางโอกาสใหมๆ จากการ เปลี่ยนแปลง โดยขั้นตอนการประมวลผลเดิมที่ใชเวลายาวนานสามารถ ลดเวลาเหลือนาที หรือวินาที ทำใหไดผลลัพธระดับเรียลไทม หรือเกือบ เรียลไทม กับผูใชงานทั้งภายในและภายนอกองคกร ในรูปของคลาวด เซอรวิส โดยขอมูลเหตุการณหลายลานครั้งจะถูกสแกนโดยใชเวลาเพียง หลายสิบมิลลิวินาที เพื่อตรวจหาความสัมพันธและรูปแบบที่จะชี้นำไปสู โอกาสใหมๆ หรือภัยคุกคาม "หากมีเหตุเกิดขึ้น" ความสามารถของการประมวลผลธุรกรรมที่เกิดขึ้นพรอมๆ กัน หลายแอพลิเคชั่น ผนวกกับศักยภาพของซอฟตแวรดานการวิเคราะห โดยใชชุดขอมูลเดียวกันนั้นจะเปดโอกาสใหมๆ ใหกับองคกรในการสราง นวัตกรรมธุรกิจ ทั้งนี้จะมีบริษัทผูคาเทคโนโลยีหลายรายที่นำเสนอโซลูชัน In Memory ในอีกสองปขางหนา ทำใหแนวทางดังกลาวมีการใชงานอยางแพรหลาย Integrated Ecosystems ตลาดกำลังเคลื่อนสู Integrated System และ Ecosystems และจะเริ่มถอยหางจากความหลากหลาย ของระบบ (Heterogeneous) แรงผลักดันดังกลาว เกิดจากความตองการของผูใชที่ตองการลดคาใชจาย ใหต่ำลง ใชงานไดงายขึ้น และมีความปลอดภัย เพิ่มขึ้น แนวโนมดังกลาวทำใหผูคาเทคโนโลยีสามารถ ควบคุม solution stack ไดมากขึ้น และรักษาระดับ การขาย การทำกำไรไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งเสนอโซลูชั่น ที่ครบวงจรในสภาพแวดลอมที่ควบคุมได โดยที่ ไมตองเพิ่มฮารดแวร แนวโนมดังกลาวจะแยกออกเปนสามระดับ ไดแก 1. อะพลายแอนซที่รวมฮารดแวร และ ซอฟตแวร 2. ซอฟตแวรและบริการที่เปนแพ็กเกจ สำหรับอินฟราสตัคเจอร และ 3. แอพลิเคชั่น เวิรกโหลด ตลาดกลางของคลาวด (Cloud-based marketplaces) และตัวแทนซื้อขายจะอำนวย ความสะดวกการซื้อ การบริโภค ใหสามารถใชจาก หลายๆ ผูใหบริการได รวมถึงโครงสรางพื้นฐาน สำหรับบริษัทผูพัฒนาซอฟตแวร และแอพลิเคชั่น รันไทม ในโลกของโมบายเวนเดอรอยางแอปเปล กูเกิล และไมโครซอฟทจะผลักดันการควบคุม Ecosystems แบบเบ็ดเสร็จในหลายระดับ โดยขยายการใชงาน ไคลเอนทผานแอพลิเคชั่น SOFTWARE PARK10
  • 11. อีกทัั้งนักการตลาดจะเริ่่่มใชสื่่อออนไลนในการทำตลาด แบบเฉพาะเจาะจงมากขึ้น โดยเฉพาะโซเชียลมีเดีย เชน เฟซบุคที่สามารถเลือกสื่อสารกับกลุมเปาหมายไดอยางชัดเจน อายุ เพศ หรือความสนใจ หรือเว็บไซต Group Buying ที่สามารถดึงลูกคาเขามาในราน นอกจากนี้เทคโนโลยีของการโฆษณาออนไลนที่พัฒนาขึ้น สามารถรูได เพศ หรือความตองการของผูใชงานเว็บไซต และ จะจดจำไปเรื่อยๆ (จาก Cookies) หรือเรียกวา Retargeting Ads เชน คลิกโฆษณารองเทาแตยังไมซื้อ หลังจากนั้นโฆษณา รองเทาชิ้นนั้นจะไปปรากฏขึ้นมาตลอดในเว็บอื่นๆ ขณะเดีียวกันนักการตลาดยังใชสื่อโซเชียลมีเดียในการ ทำการตลาดผานคอนเทนท (Content Marketing) เพื่อให ตรงใจผูบริโภคมากกวาการทำโฆษณาสินคาโดยตรง เนื่องจาก ผูบริโภคใชเวลากับสื่อออนไลนมากกวาการรับชมทีวี และ ดูโฆษณาผานสื่อดั้งเดิม ดังนั้นคอนเทนทจึงตองมีคุณภาพ และนาสนใจ เพื่อดึงดูดใหแบรนดสินคาเขามาเปนผูสนับสนุน (สปอนเซอร) ในรายการ หรือสอดแทรกในเนื้อหาเพื่อสราง การจดจำใหกับผูบริโภค นอกจากนัั้นแนวโนมที่ผูโฆษณาจะเลือกใชคียเวิรดใหมๆ ในโฆษณาทางทีวี หรือสิ่งพิมพมากขึ้น และจะตองทำใหงาย ตอการจดจำ เพื่อนำไปคนหาตอในเสิรช เอ็นจิน ที่ตรงกับ ไลฟสไตลของผูบริโภคยุคใหมที่คนหาขอมูลของสินคา และ บริการผานชองทางออนไลนกอนการตัดสินใจซื้อ อีกทั้งคียเวิรด จะตองไมซ้ำกับคูแขง เพื่อใหผลการคนหาอยูในอันดับตนๆ โดยไมแยงกับคูแขง เชน “เกลียดรอนใน” “ไมหนีบปาก” ของ น้ำจับเลี้ยงแบรนดเพียวริคุ และ “เปดพนไฟ” ของขนมซันสแนค ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´ Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚ 56 ÇÔ´ÕâÍ-ÁÑŵÔÊ¡ÃÕ¹ áÍ´ Ê‹ÍऌÒÃØ‹§ »‚ 56ความแพรหลายของอินเทอรเน็ตความเร็งสูงในประเทศไทย หนุนธุรกิจดิจิทัล แอดเวอรไทซิ่งในประเทศไทยพุง 50% แตะ 4.5 พันลานบาท นายศิวัตร เชาวรียวงษ ประธานเจาหนาที่บริหาร เอ็ม อินเตอรแอคชั่นและนายกสมาคมโฆษณาดิจิทัลแหงประเทศไทย มองวา แนวโนมการใชจายสื่อโฆษณาออนไลนคาดเติบโต 50% หรือมีมูลคา 4,500 ลานบาท จากปที่ผานมามีมูลคาราว 3,000 ลานบาท เติบโต 30-40% การเติบโตดังกลาวยังสูงกวา อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมโฆษณา ซึ่งคาดเติบโตราว 8% จากมูลคา 1.2 แสนลานบาท ในปที่ผานมา เขามองถึงแนวโนมดวยวา ปนี้้การโฆษณาวิดีโอจะเขามา มีบทบาทมากขึ้นในหลายรูปแบบ ตั้งแตฉายกอนดูคลิป/ ภาพยนตร (Pre-roll Ads), ฉายระหวางภาพยนตร (Mid-roll Ads), ทำโฆษณาเปนหนัง (Long-Form Video) เชน AXE Dude นอกจากนี้บางรายก็ทำโฆษณาทางทีวีใหเกิดกระแส พูดตอ หรือแชรตอในโลกโซเชียลมีเดีย เชน โฆษณาของ ไทยประกันชีวิต NEWSLETTER THAILAND 11 ¡ÃÐáÊäÍ·Õ
  • 12. ดานนายจักรพันธ พวงแกว กรรมการผูจัดการธุรกิจ มีเดีย ออนไลน บริษัท ทอปสเปซ (ประเทศไทย) ระบุเสริมวา หลังการเปดใหบริการสามจีอยางเต็มรูปแบบจะยิ่งสงผล ตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภคอยางมากอีกครั้ง โดยไลฟสไตลการใชสมารทโฟน หรือสมารทดีไวซจะเพิ่มขึ้น ทำใหพฤติกรรมการเสพสื่อออนไลนจะขยายตัวสูง และเมื่อเครือขายมีความเร็วสูงขึ้้นการบริโภคคอนเทนท วิดีโอก็จะมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งนักการตลาดก็เชื่อวาการ โฆษณาออนไลนก็จะไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นตามไปดวย โดยเฉพาะการใชวิดีโอพรีโรลล หรือการใชคลิปวิดีโอสั้นๆ เปนสื่อโฆษณากอนการรับชมคอนเทนท โดยวิดีโอพรีโรลล จะใชโปรโมตสิ่งที่อยูในกระแสสังคม หรือคลิปวิดีโอที่ไดรับ ความนิยมในขณะนั้น รวมไปถึงเพลงตางๆ ตามกระแสนิยม เขามองดวยวา ปนี้้ภาคธุรกิจไทยจะใหสัดสวนงบโฆษณา ออนไลนเพิ่มมากขึ้นราว 9% ของงบรวมโฆษณาองคกรจาก ปที่ผานมาใชงบออนไลนสัดสวนเฉลี่ย 5-7% ขณะที่บริษัท ขามชาติจะใหน้ำหนักออนไลน แอดเวอรไทซิ่งมากกวา 10% ของงบรวม กลุมอุตสาหกรรมที่จะใชดิจิทัลมีเดียมาขับเคลื่อนเปน จำนวนมากคือ กลุมยานยนต กลุมผลิตภัณฑอุปโภคบริโภค และกลุมอุปกรณไอที สวนของนางสาวพรทิพย กองชุน หัวหนาฝายการตลาด กูเกิลประเทศไทยมองวา ปจจุบัน 84% ของจำนวนผูใชบริการ ผูซื้อสินคาที่นิยมคนหาขอมูลในออนไลนกอนตัดสินใจซื้อ พฤติกรรมดังกลาว ทำใหเกิดคำศัพทดานการตลาดใหม มาจากกูเกิล คือ Zero Moment Of Truth หรือ ZMOT โดยเปน ชวงที่ลูกคาจะมีปฏิสัมพันธกับแบรนดกอนหนาที่จะไปถึงรานคา จริง อยางการเริ่มคนหาขอมูลสินคาที่ตัวเองสนใจ เชน การดู รีวิว, เรตติ้งจากเว็บไซต และโซเชียลมีเดียตางๆ หรือแมกระทั่ง การสแกน Barcode จากโทรศัพท ซึ่งแรงผลักดันสำคัญที่ทำให เกิด ZMOT คือ การเติบโตของบรอดแบนดอินเทอรเน็ต และ เครื่องมือที่ใชเชื่อมตออยางสมารทโฟนและแท็บเล็ตนั่นเอง และเมื่ออุปกรณสมารทดีไวซเขามามีอิทธิพลตอชีวิต ประจำวันของผูบริโภคยุคใหม นักการตลาดและเจาของสินคา และบริการ ตองออกแบบและทำเว็บไซตที่รองรับกลุมสมารท ดีไวซดวย โดยเฉพาะใหเนื้อหาทั้งหมดแสดงผลในหนาจอเดียว เพื่อความรวดเร็วในการแสดงผลขอมูลและสะดวกในการอาน รายละเอียด นอกจากนั้นยังพบวา ผูบริโภคจะใชเวลาในหลากหลาย หนาจอมากขึ้น ทั้งโทรทัศน คอมพิวเตอร สมารทโฟน แท็บเล็ต จะเกิดกระแสที่เรียกวา Multi-screen ซึ่งการพัฒนาคอนเทนท หรือแอพลิเคชั่น ตองรองรับแนวโนมดังกลาวดวย รวมถึง การตลาดและโฆษณาออนไลน SOFTWARE PARK12
  • 13. หลังการคร่ำหวอดในวงการซอฟตแวรไทยมาตลอด 8 ป บริษัท ฟวชั่น โซลูชั่น จำกัด ยกระดับการใหบริการพัฒนาระบบงานตาม ความตองการของลูกคาดวยการเขาสูมาตรฐานการพัฒนาซอฟตแวร ระดับโลก CMMI หรือ Capability Maturity Model Integration คุณศุภกิจ ยงวิทิตสถิต กรรมการผูจัดการบริษัท ฟวชั่น โซลูชั่น จำกัด เลาวา บริษัทมองหาเฟรมเวิรกของการพัฒนาซอฟตแวรมานาน และเมื่อไดโอกาสการเปนหนึ่งบริษัทที่ไดรับทุนสนับสนุน และความรู ในเรื่องมาตรฐาน CMMI ผานโครงการ SPI@ease ของซอฟตแวรพารค ทำใหไมลังเลใจเลยที่จะเลือกใชเฟรมเวิรกของ CMMI บริษัทไดใชเวลาอยางมุงมั่นตลอดหนึ่งป จนทำใหผานการตรวจ ประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน CMMI-DEV Maturity Level 3 เมื่อกลางป ในปที่ผานมา ดวยการใหบริการรับงานพัฒนาระบบตามความตองการ ของลูกคาทั้งราชการและเอกชน ครอบคลุมทั้งการพัฒนาเอ็นเตอรไพรส แอพลิเคชั่น บิสิเนส อินทิลิเจนท และเซคเคียวริตี้ ทำใหบริษัทตอง เผชิญกับโจทยงานที่หลากหลายภายใตเวลาที่จำกัดที่ตองสงมอบงาน ใหเปนไปตามกำหนด “หลังไดรับ CMMI เราไดเห็นผลลัพธทันทีวาการพัฒนาโปรแกรม ตนแบบ Prototype พรอมการสงมอบโครงการไดตรงตามกำหนด มากขึ้นถึง 90% จากเดิมที่การสงมอบจะลาชาไป 4-8 เดือน" บริษัทสามารถติดตามการพัฒนาในแตละขั้นตอนไดอยางชัดเจน ตั้งแตการทำรีไควรเมนท กำหนดสเปก อิมพลีเมนทโครงการ เรื่อยไป จนถึงการทำเอกสาร ทำใหลดความผิดพลาดในแตละขั้นตอน 70-80% พรอมการจัดเก็บขอมูลสถิติการพัฒนาในโครงการตางๆ อยางเปนระบบ การเก็บขอมูลสถิติดังกลาว ทำใหบริษัทประเมินตนทุนการรับ พัฒนาโครงการไดอยางแมนยำมากขึ้นดวย ซึ่งในอดีตบริษัทขาดการ จัดเก็บขอมูลสถิติที่เปนระบบและเกิดการสูญเสียระหวางกระบวนการ พัฒนา ทำใหตนทุนเพิ่มจากที่คาดการณไว 20-30% เขายอมรับดวยวา การทำมาตรฐานนั้้นไมใชเรื่่องงายเลย เพิ่ม ภาระงานใหกับพนักงาน ซึ่งบริษัทและผูบริหารองคกรตองทำความเขาใจ กับพนักงาน โดยเฉพาะการตระหนักรูถึงประโยชนจริงๆ ที่พนักงาน จะไดรับจากการทำ CMMI เพื่อใหไดรับความรวมมือ รวมแรงรวมใจ ที่จะทำใหองคกรผานการประเมินไปไดอยางราบรื่น ยิ่่่งไปกวานั้นความตั้งใจของพนักงานนั่นเองที่จะทำใหการทำ CMMI เขาเปนสวนหนึ่่งของวัฒนธรรมและกระบวนการทำงาน ในองคกรอยางแทจริง ทั้งนี้บริษัทไมไดมุงหวังการเขาสู CMMI เพื่่อเปด ตลาดตางประเทศ แตมุงหวังการปรับปรุงกระบวนการ ภายในที่่จะนำไปสูการเพิ่่มคุณภาพงานความพึงพอใจ ของลูกคา และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน รวมไปถึงตนทุน และการสงมอบงานที่ตรงกำหนดเวลา ซึ่งในระยะยาวจะสรางความแข็งแกรงที่รองรับการเปด เสรีอาเซียนได คุณศุภกิจบอกดวยวา บริษัทจะขยายผลเขาสู การขอมาตรฐาน CMMI-DEV Maturity Level 4 ในอีก สองปขางหนาดวย ซึ่งยอมรับวาการเขาสูมาตรฐาน ตองใชงบประมาณไมนอยเลยอยางนอย 1.5-2 ลานบาท กระนั้นก็ไมเกินกำลังของบริษัทซอฟตแวรขนาดกลาง ที่มีรายไดตอปมากกวาหาสิบลานบาท โครงการ SPI@ ease ของซอฟตแวรพารค เปน ตัวเรงที่สำคัญซึ่งทำใหประเทศไทยมีจำนวนบริษัทที่ไดรับ มาตรฐาน CMMI มากที่สุด ขึ้นเปนอันดับ 1 ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออันดับ 6 ของเอเชีย และ อันดับ 15 ของโลก แซงหนาประเทศมาเลเซียที่รั้งอันดับ หนึ่งเดิม และทิ้งหางเวียดนาม สิงคโปร และฟลิปปนส มากขึ้น ฟวชั่น โซลูชั่น ลุย CMMI เพิ่มขีดแขงขันรับเออีซี NEWSLETTER THAILAND 13 àÍʾÕäÍ ¤Í¹à¹ÍÏ
  • 14. บริษัทวิจัยระดับโลกการทเนอร เผยเทคนิคการรับมือระบบไอที ในองคกร ในยุคหลังพีซีที่พนักงานองคกรและคอนซูเมอรตางก็เพิ่ม การใชงานอุปกรณพกพาที่จะเขาถึงแอพลิเคชั่นและคอนเทนท นักวิเคราะหแนะวา ซีไอโอตองประเมินความตองการใชโมบาย แอพลิเคชั่นใน 18 เดือนขางหนา ทั้งธุรกิจกับพนักงาน B2E ธุรกิจไปยัง คอนซูเมอร B2C และธุรกิจกับธุรกิจ B2B ทั้งตองประเมินประสิทธิภาพ การทำงานบนระบบโมบายที่มีอยู และแอพลิเคชั่นที่อยูระหวางพัฒนา นอกจากนั้น ตองอิมพลีเมนทเครื่องมือที่เปนเฟรมเวิรกของ สถาปตยกรรมระบบที่รองรับ context-aware apps ในอนาคตได นักพัฒนาแอพลิเคชัั่นตองเรียนรูการใชเครื่องมือที่เนนออกแบบ ยูสเซอรอินเทอรเฟซที่เนนโมบายเปนศูนยกลาง ทดแทนการพัฒนา แอพฯ ที่มุงออกแบบเดสกท็อปเปนศูนยกลาง ซึ่งอินเทอรเฟซแหงอนาคต ก็หนีไมพนการรองรับการสั่งงานหนาจอสัมผัส และการสั่งงานดวยการ ใชทาทาง รวมถึงการใชออดิโอและวิดีโอ เชน การใชคำสั่งเสียงเพื่อการ คนหา และสั่งงานแอพลิเคชั่น หรือการใชวิดีโอที่นำไปสูการใชระบบ รูจำใบหนา และการใชทาทางเคลื่อนไหวในอากาศ การทเนอรมองวา ทั้งองคกรและนักพัฒนาเองอาจตองทำโรดแมป ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ที่รองรับเทคนิคของยูสเซอร อินเทอรเฟซแบบใหมๆ ทั้งทัช ออดิโอ วิดีโอ ทาทางคนหาโซเชียล และคอนเท็กซ อีกทั้งการพัฒนาตองคำนึงถึงปจจัยการปฏิสัมพันธโตตอบระหวาง ประสบการณการใชงานแอพลิเคชั่นที่ทำงานรองรับหลายอุปกรณเขากับ สถาปตยกรรมระบบของแอพลิเคชั่นนั้นๆ การออกแบบแอพลิเคชั่นตองทำงาย เนนความสามารถการทำงาน และโตตอบกับผูใชงาน ทั้งตองเชื่อมการทำงานระหวางแอพลิเคชั่น เพื่อใหการประสานงานดานโอเปอเรชั่นได นอกจากนั้น องคกรธุรกิจตองจัดสรรทรัพยากรไปในโครงการ ดานโมบายแอดเวอรไทซิ่งที่มุงเนนบนสมารทโฟนและแท็บเล็ต ซึ่งการทเนอรคาดวา โครงการโมบายจะแซงหนาโครงการที่เปนเนทีฟพีซี ในสัดสวน 4 ตอ 1 ภายในป 2558 การใชเครื่องมือการพัฒนาแอพลิเคชั่นนั้น ตองตรวจสอบให แอพลิเคชั่นที่ทำงานตางอุปกรณหลายหนาจอ บนระบบปฏิบัติการที่ หลากหลายทำงานไดอยางถูกตอง โดยองคกรตองลงทุนเครื่องมือพัฒนาโมบายแอพลิเคชั่นที่ทำงาน ไดจริง และนำระบบทดสอบอัตโนมัติและแผนการสนับสนุนมาใช รวมถึงการใช HTML5 เปนเครื่องมือหลัก เนื่องจากรองรับ การทำงานตางอุปกรณและตางยูสเซอร อินเทอรเฟซได อีกขอมูลหนึ่งที่นาสนใจจากการสำรวจความคิดเห็น ของผูนำไอทีในองคกรชั้นนำตางๆ จำนวน 334 คน โดยคอมพิวเตอรเวิลดที่เผยผลสิบทักษะไอทีซึ่งเปนที่ ตองการของซีไอโอในป 2556 อันดับแรก การเขียนโปรแกรมและพัฒนาแอพลิเคชั่น ที่ซีไอโอคงมองหานักพัฒนาที่สรางโครงการไอทีใหมๆ เพื่อเพิ่มโปรดักสติวี้และลดคาใชจายใหกับองคกร ตามมาดวยการบริหารโครงการ เมื่อมีโครงการไอที ใหมๆ เพิ่ม ยอมตองการผูที่มาติดตามความคืบหนา และจัดการโครงการใหเปนไปตามเปาหมายที่วางไว และการสนับสนุนแกไขปญหาดานเทคนิคและเฮลพเดสก โดยองคกรตองการคนที่เขามาแกไขปญหาหลังจากที่มี การติดตั้งระบบใหมๆ ใชงาน อันดับสี่ ดานเซคเคียวริตี้ ความปลอดภัยระบบไอที โดยเฉพาะความชำนาญเฉพาะดานในการปองกันการ โจมตีระบบ อันดับหา บิสิเนส อินทิลิเจนท และการวิเคราะห ทั้งผูมีความรูดานเทคนิค และความสามารถวิเคราะห ขอมูลที่มีอยูเพื่อสรางความไดเปรียบเชิงธุรกิจได อันดับหก ทักษะดานคลาวด และการใชซอฟตแวร ในรูปของการใหบริการ SaaS ซึ่งเปนไปตามกระแส ความตองการใชงานเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง อันดับเจ็ด เวอรชวลไลเซชั่น โดยเฉพาะผูบริหาร ระบบ Administrator อันดับแปด ดานอุปกรณเครือขายที่ทักษะนี้ยังเปน ที่ขาดแคลนในอุตสาหกรรม อันดับเกา การบริหารจัดการอุปกรณและแอพลิเคชั่น โมบาย เนื่องจากมีจำนวนพนักงานเริ่มนำอุปกรณสวนตัว ทั้งสมารทโฟนและแท็บเล็ตเขามาเชื่อมตอระบบไอทีของ องคกรมากขึ้น และอันดับสิบ เทคนิคระดับสูงที่ใชในดาตาเซ็นเตอร โดยเฉพาะการบริหารจัดการดาตาเซ็นเตอร สตอเรจ และดาตาแบ็กอัป เปดคูมือซ�ไอโอ รับมือยุค Post PC SOFTWARE PARK14 ½†ÒÇԡĵԫÕäÍâÍ