SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางานได้ ซึ่งจะมี
  สะสมอยู่ในวัตถุ แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) อยู่ในวัตถุที่เคลื่อนที่
2. พลังงานศักย์ (Potential Energy) อยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง ซึ่ง
    สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
    2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง จะอยู่ในวัตถุที่อยู่บนที่สง
                                                       ู
   2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น จะอยู่ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น
1. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) คือ พลังงานอยู่ในวัตถุที่กาลัง
  เคลื่อนที่ โดยพลังงานจลน์ จะขึ้นอยู่กับมวล และอัตราเร็วของวัตถุ ซึง
                                                                    ่
  เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
                                1
                พลังงานจลน์ =       x มวล x อัตราเร็ว 2
                                2
 กาหนดให้ Ek แทนพลังงานจลน์
                        Ek =    1 x m x v2
                                2
                                1
                        Ek =      mv 2 ... (4)
                                2
                     พลังงาน มีหน่วยเป็น จูล (J)
ตัวอย่าง 1 วัตถุหนึ่งมีมวล 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m/s
   ขณะนันวัตถุจะมีพลังงานจลน์เท่าใด
         ้
                        วิธีทา      เราสามารถคานวณหาพลังงานได้
         v = 5 m/s                จากสมการ (4) ดังนี้
                                       1
m = 20 kg                         Ek    mv 2
                                       2
                                       1
                                  E k   20  (52 )
                                       2
                                       1 10
                                  E k   20  25
                                      12
ตัวอย่าง 1 วัตถุหนึ่งมีมวล 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m/s
   ขณะนันวัตถุจะมีพลังงานจลน์เท่าใด
         ้
                        วิธีทา (ต่อ)   E k  10  25
         v = 5 m/s
                                       E k  250 J
m = 20 kg

                  ตอบ วัตถุมีพลังงานจลน์ 250 จูล
ตัวอย่าง 2 วัตถุหนึ่งมีมวล 30 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ขณะนัน
                                                                  ้
   วัตถุจะมีพลังงานจลน์ 600 J อยากทราบว่าวัตถุมีความเร็วเท่าใด
                        วิธีทา       เราสามารถคานวณหาพลังงานได้
      E = 600 J                    จากสมการ (4) ดังนี้
                  v=?
                                        1
 m = 30 kg                         Ek    mv 2
                                        2
                                        1
                                   600   30  ( v 2 )
                                        2
                                 1,200
                                        v2
                                   30
ตัวอย่าง 2 วัตถุหนึ่งมีมวล 30 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ขณะนัน
                                                                  ้
   วัตถุจะมีพลังงานจลน์ 600 J อยากทราบว่าวัตถุมีความเร็วเท่าใด
                         วิธีทา (ต่อ)      40
        E = 600 J                       1,200
                                                  v2
                  v=?                   1 30
 m = 30 kg                                 v 2  40
                                          v     40
                                          v  6.32

                 ตอบ วัตถุความเร็วประมาณ 6.32 เมตรต่อวินาที
2. พลังงานศักย์ (Potential Energy) คือ พลังงานอยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง
  ซึ่งสามารถจาแนกได้ 2 แบบ ดังนี้
   2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง จะอยู่ในวัตถุที่อยู่บนที่สง วัดจากระดับ
                                                      ู
   อ้างอิง พลังงานศักดิ์จะขึนอยู่กับมวล ความสูง และค่า g เมื่อให้
                            ้
   Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
           พลังงานศักย์โน้มถ่วง = มวล x ค่า g x ความสูง
                        Ep = m x g x h
                        Ep = mgh         ... (5)
ตัวอย่าง 3 วัตถุหนึ่งมีมวล 65 kg ตั้งอยู่บนที่สูง 20 m อยากทราบว่า
   วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่าใด
                        วิธีทา      เราสามารถคานวณหาพลังงานได้
     m = 30 kg                    จากสมการ (5) ดังนี้
                                  Ep   =   mgh
             h = 20 m             Ep   =   30 x 9.8 x 20
                                  Ep   =   12,740 J
                                  Ep   =   12.74 kJ

   ตอบ วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วง 12,740 จูล หรือ 12.74 กิโลจูล
ตัวอย่าง 4 ตู้ไม้ใบหนึ่งอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 35 m ถ้าตู้มีพลังงานศักย์โน้ม
   ถ่วง 15,000 J อยากทราบว่าตู้มีมวลเท่าใด
                         วิธีทา         เราสามารถคานวณหาพลังงานได้
 Ep = 15,000 J                        จากสมการ (5) ดังนี้
                                      Ep = mgh
              h = 35 m            15,000 = m x 9.8 x 35
                                  15,000
                                            m
                                  9.8  35
ตัวอย่าง 4 ตู้ไม้ใบหนึ่งอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 35 m ถ้าตู้มีพลังงานศักย์โน้ม
   ถ่วง 15,000 J อยากทราบว่าตู้มีมวลเท่าใด
                         วิธทา (ต่อ)
                            ี
 Ep = 15,000 J                             15,000
                                       m 
                                            343
                                       m = 43.73 kg
              h = 35 m


                           ตอบ ตู้มีมวล 43.73 kg
2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น
                                      ่
เช่น สปริง เมื่อออกแรงดึงจะทาให้สปริงยืดออก ดังรูป
     เมื่อ F คือ แรงดึง
           S คือ ระยะยืด

                                 F


                                S
2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น
                                      ่
เช่น สปริง เมื่อออกแรงดึงจะทาให้สปริงยืดออก ดังรูป เมื่อ F คือ
แรงดึง S คือ ระยะยืด ซึ่งสปริงก็มีความแข็งแตกต่างกัน โดย
เรียกว่า เป็นค่าคงทีของสปริง (k) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดึงกับ
                    ่
ระยะยืดของสปริงเขียนได้ดังนี้
           แรงดึง = ค่าคงทีสปริง x ระยะยืด
                           ่

                      F =       k x S
                      F =       kS      ... (6)
2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น
                                      ่
โดยจะขึ้นอยู่กับขนาดแรงดึง และค่าคงทีของสปริง (ค่านิจสปริง : k)
                                        ่
Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
                              1
       พลังงานศักย์ยืดหยุ่น = 2   x ค่าคงที่สปริง x ระยะยืด2

                    Ep = 1        x k x s2
                             2

                    Ep =     1 ks2
                                        ... (7)
                             2
ตัวอย่าง 5 สปริงตัวหนึ่งถูกดึงออกด้วยแรง 300 N ทาให้สปริงยืดออก
   10 cm อยากทราบว่าสปริงมีค่าคงทีสปริงเท่าใด
                                     ่
                        วิธทา
                           ี        เราสามารถคานวณค่าคงที่สปริง
                                 ได้จากสมการ (6) ดังนี้
               F = 300 N
                                     F  kS

          S = 10 cm             300 N
                                        k
                                0.10 m
                                    k  3,000 N/m


            ตอบ ค่าคงทีของสปริงมีคา 3,000 นิวตัน/เมตร
                       ่          ่
ตัวอย่าง 6 จากข้อ (5) พลังงานศักย์ยืดหยุ่นในสปริงมีคาเท่าใด
                                                    ่

                       วิธทา
                          ี         เราสามารถคานวณค่าคงที่สปริง
                                 ได้จากสมการ (7) ดังนี้
                F = 300 N                  1 2
                                     E p  kS
                                           2
                                           1 1,500
                                     E p   3,000  (0.1) 2
          S = 10 cm                       12
                                     E p  1,500  0.01
                                    E p  150 J

            ตอบ พลังงานศักย์ยืดหยุ่นในสปริงมีค่า 150 จูล

Contenu connexe

Tendances

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

Tendances (20)

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 

Similaire à พลังงาน (Energy)

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.NewNew AcademicCenter
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energyKrumeaw
 

Similaire à พลังงาน (Energy) (20)

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
1 5 work and energy
1 5 work and energy1 5 work and energy
1 5 work and energy
 

Plus de นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

Plus de นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

พลังงาน (Energy)

  • 1.
  • 2. พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางานได้ ซึ่งจะมี สะสมอยู่ในวัตถุ แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) อยู่ในวัตถุที่เคลื่อนที่ 2. พลังงานศักย์ (Potential Energy) อยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง ซึ่ง สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด คือ 2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง จะอยู่ในวัตถุที่อยู่บนที่สง ู 2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น จะอยู่ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น
  • 3. 1. พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) คือ พลังงานอยู่ในวัตถุที่กาลัง เคลื่อนที่ โดยพลังงานจลน์ จะขึ้นอยู่กับมวล และอัตราเร็วของวัตถุ ซึง ่ เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 1 พลังงานจลน์ = x มวล x อัตราเร็ว 2 2 กาหนดให้ Ek แทนพลังงานจลน์ Ek = 1 x m x v2 2 1 Ek = mv 2 ... (4) 2 พลังงาน มีหน่วยเป็น จูล (J)
  • 4. ตัวอย่าง 1 วัตถุหนึ่งมีมวล 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m/s ขณะนันวัตถุจะมีพลังงานจลน์เท่าใด ้ วิธีทา เราสามารถคานวณหาพลังงานได้ v = 5 m/s จากสมการ (4) ดังนี้ 1 m = 20 kg Ek  mv 2 2 1 E k   20  (52 ) 2 1 10 E k   20  25 12
  • 5. ตัวอย่าง 1 วัตถุหนึ่งมีมวล 20 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 m/s ขณะนันวัตถุจะมีพลังงานจลน์เท่าใด ้ วิธีทา (ต่อ) E k  10  25 v = 5 m/s E k  250 J m = 20 kg ตอบ วัตถุมีพลังงานจลน์ 250 จูล
  • 6. ตัวอย่าง 2 วัตถุหนึ่งมีมวล 30 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ขณะนัน ้ วัตถุจะมีพลังงานจลน์ 600 J อยากทราบว่าวัตถุมีความเร็วเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาพลังงานได้ E = 600 J จากสมการ (4) ดังนี้ v=? 1 m = 30 kg Ek  mv 2 2 1 600   30  ( v 2 ) 2 1,200  v2 30
  • 7. ตัวอย่าง 2 วัตถุหนึ่งมีมวล 30 kg เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ขณะนัน ้ วัตถุจะมีพลังงานจลน์ 600 J อยากทราบว่าวัตถุมีความเร็วเท่าใด วิธีทา (ต่อ) 40 E = 600 J 1,200  v2 v=? 1 30 m = 30 kg v 2  40 v 40 v  6.32 ตอบ วัตถุความเร็วประมาณ 6.32 เมตรต่อวินาที
  • 8. 2. พลังงานศักย์ (Potential Energy) คือ พลังงานอยู่ในวัตถุที่อยู่นิ่ง ซึ่งสามารถจาแนกได้ 2 แบบ ดังนี้ 2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง จะอยู่ในวัตถุที่อยู่บนที่สง วัดจากระดับ ู อ้างอิง พลังงานศักดิ์จะขึนอยู่กับมวล ความสูง และค่า g เมื่อให้ ้ Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ พลังงานศักย์โน้มถ่วง = มวล x ค่า g x ความสูง Ep = m x g x h Ep = mgh ... (5)
  • 9. ตัวอย่าง 3 วัตถุหนึ่งมีมวล 65 kg ตั้งอยู่บนที่สูง 20 m อยากทราบว่า วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาพลังงานได้ m = 30 kg จากสมการ (5) ดังนี้ Ep = mgh h = 20 m Ep = 30 x 9.8 x 20 Ep = 12,740 J Ep = 12.74 kJ ตอบ วัตถุมีพลังงานศักย์โน้มถ่วง 12,740 จูล หรือ 12.74 กิโลจูล
  • 10. ตัวอย่าง 4 ตู้ไม้ใบหนึ่งอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 35 m ถ้าตู้มีพลังงานศักย์โน้ม ถ่วง 15,000 J อยากทราบว่าตู้มีมวลเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาพลังงานได้ Ep = 15,000 J จากสมการ (5) ดังนี้ Ep = mgh h = 35 m 15,000 = m x 9.8 x 35 15,000  m 9.8  35
  • 11. ตัวอย่าง 4 ตู้ไม้ใบหนึ่งอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 35 m ถ้าตู้มีพลังงานศักย์โน้ม ถ่วง 15,000 J อยากทราบว่าตู้มีมวลเท่าใด วิธทา (ต่อ) ี Ep = 15,000 J 15,000 m  343 m = 43.73 kg h = 35 m ตอบ ตู้มีมวล 43.73 kg
  • 12. 2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น ่ เช่น สปริง เมื่อออกแรงดึงจะทาให้สปริงยืดออก ดังรูป เมื่อ F คือ แรงดึง S คือ ระยะยืด F S
  • 13. 2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น ่ เช่น สปริง เมื่อออกแรงดึงจะทาให้สปริงยืดออก ดังรูป เมื่อ F คือ แรงดึง S คือ ระยะยืด ซึ่งสปริงก็มีความแข็งแตกต่างกัน โดย เรียกว่า เป็นค่าคงทีของสปริง (k) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดึงกับ ่ ระยะยืดของสปริงเขียนได้ดังนี้ แรงดึง = ค่าคงทีสปริง x ระยะยืด ่ F = k x S F = kS ... (6)
  • 14. 2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานทีอยู่ในวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่น ่ โดยจะขึ้นอยู่กับขนาดแรงดึง และค่าคงทีของสปริง (ค่านิจสปริง : k) ่ Ep แทนพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 1 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น = 2 x ค่าคงที่สปริง x ระยะยืด2 Ep = 1 x k x s2 2 Ep = 1 ks2 ... (7) 2
  • 15. ตัวอย่าง 5 สปริงตัวหนึ่งถูกดึงออกด้วยแรง 300 N ทาให้สปริงยืดออก 10 cm อยากทราบว่าสปริงมีค่าคงทีสปริงเท่าใด ่ วิธทา ี เราสามารถคานวณค่าคงที่สปริง ได้จากสมการ (6) ดังนี้ F = 300 N F  kS S = 10 cm 300 N  k 0.10 m k  3,000 N/m ตอบ ค่าคงทีของสปริงมีคา 3,000 นิวตัน/เมตร ่ ่
  • 16. ตัวอย่าง 6 จากข้อ (5) พลังงานศักย์ยืดหยุ่นในสปริงมีคาเท่าใด ่ วิธทา ี เราสามารถคานวณค่าคงที่สปริง ได้จากสมการ (7) ดังนี้ F = 300 N 1 2 E p  kS 2 1 1,500 E p   3,000  (0.1) 2 S = 10 cm 12 E p  1,500  0.01 E p  150 J ตอบ พลังงานศักย์ยืดหยุ่นในสปริงมีค่า 150 จูล