SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
อวัยวะรับสัมผัส
Sense organs
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
นัยน์ตากับการมองเห็น
ตาคน ลักษณะกลมอยู่ในเบ้าตา มีเยื่อบางๆ ยึดลูกตาไว้หลวมๆ หนังตาบนปิดชิด
หนังตาล่างเพื่อป้องกันอันตรายให้ลูกตา มีต่อมน้้าตาที่ขอบบนของหางตาซึ่งมีท่อน้้าตา
มาปิดเข้าลูกนัยน์ตาเพื่อหล่อเลี้ยงลูกตาให้ชุ่มชื้นเสมอ น้้าตามีสารช่วยฆ่าจุลินทรีย์และ
มีน้้ามันช่วยเคลือบลูกตา บริเวณหัวตามีช่องให้น้้าตาออกไปยังโพรงจมูกเพื่อขับทิ้ง
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ผนังลูกตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ
1. ชั้นนอก (sclera หรือ sclerotic coat) เป็น fibrous tissue ไม่ยืดหยุ่น
ผนังหนามีสีขาวขุ่นท้าให้ลูกตาคงรูปได้ และมีส่วนใสๆนูนออกมา เรียก กระจกตา
(cornea) มีสารจาก oil gland ท้าให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ
2. ชั้นกลาง (choroid coat) มีหลอดเลือดมาเลี้ยง มีส่วนที่ยื่นออกไปด้านหน้า
เรียกว่า ciliary body ท้าหน้าที่สร้างของเหลวเรียก aqueous humor
ส่งไปในช่องว่างของลูกตาด้านหน้าเลนส์ และมีรงควัตถุแผ่กระจายในชั้นนี้มาก
เพื่อมิให้แสงสว่างทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังโดยตรง และมีม่านตา (iris)
และพิวพิล (pupil) เป็นทางให้แสงเข้าไปภายในตา
3. ชั้นใน (retina) เป็นบริเวณที่มีเซลล์รับแสงซึ่งมีรูปร่างต่างๆกัน คือ
เซลล์รูปแท่ง(rod cell) และเซลล์รูปกรวย(cone cell)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 3โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 4โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
เซลล์รูปแท่ง (rod cell) รูปร่างยาว
เป็นเซลล์รับแสงสว่างที่ไวมากบอกความมืด
และความสว่าง ภายในมีสารสีม่วงแดงชื่อ
โรดอปซิน (rhodopsin) ถ้าพิการหรือ
ท้างานผิดปกติจะเป็นโรคตาบอดกลางคืน (night blindness)
เซลล์รูปกรวย (cone cell) รูปร่างเป็นรูปกรวย เป็นเซลล์ที่บอกความแตกต่าง
ของสีแต่ต้องการแสงสว่างมาก แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ รับแสงสีแดง รับแสงสีเขียว
และรับแสงสีน้้าเงิน เมื่อเซลล์รูปกรวยได้รับการกระตุ้นพร้อมๆ กันด้วยความเข้มของ
แสงต่างๆกัน เกิดการผสมเป็นสีต่างๆขึ้น ถ้าพิการจะเป็นโรคตาบอดสี (colour
blindness) ซึ่งพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยผู้ชายจะมีโอกาสเป็นโรคตาบอดสี
1 ใน 20 ส่วนผู้หญิงจะพบตาบอดสี 1 ใน 200คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 5โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ข้างหนึ่งจะมีเซลล์รูปแท่งประมาณ 125 ล้านเซลล์และเซลล์รูปกรวยประมาณ 7 ล้านเซลล์
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 6โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 7โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
บริเวณเรตินา อาจแบ่งได้เป็น 2 บริเวณ คือ
1. โฟเวีย (fovea) มีเซลล์รูปกรวยหนาแน่นกว่าบริเวณอื่น เห็นภาพชัดเจน
2. จุดบอด (blind spot) ไม่มีเซลล์รับแสงสว่างเลย ภาพที่ตกบริเวณนี้จึง
มองไม่เห็น ซึ่งเป็นบริเวณทางออกของเส้นประสาทตาไปสู่สมอง
ส่วนประกอบอื่นๆ ของนัยน์ตา
1. แก้วตา (lens) หดตัว พองตัว และยืดหยุ่นได้ ด้านในโค้งมากกว่าด้านนอก
มีหน้าที่โฟกัสภาพให้ชัดบนเรตินา
2. ช่องภายในลูกตา (vitreous chamber) มีของเหลวเป็นเมือกใสเหนียว
มีค่าดัชนีหักเหของแสงสูงมากเรียก vitreous humor
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 8โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 9โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ความผิดปกติของสายตา
สายตาคนปกติมองวัตถุโดยไม่ต้องเพ่ง จะมองเห็นวัตถุชัดในระยะที่ใกล้สุด
ประมาณ 25 เซนติเมตร และระยะไกลสุดที่สามารถเห็นได้ชัดคือ ระยะอนันต์
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คนสายตาสั้น คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะใกล้กว่า 25 เซนติเมตร
สาเหตุของสายตาสั้น คือ
1. กระบอกตายาวเกินไป ท้าให้ภาพที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา)
2. เลนส์ตานูนเกินไปหรือกระจกตาโค้งมากเกินไป ท้าให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตก
ก่อนถึงเรตินา (จอตา)
วิธีแก้คนสายตาสั้น ใช้แว่นที่ท้าด้วยเลนส์เว้า
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 11โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คนสายตายาว คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะไกลกว่า 25 เซนติเมตร
สาเหตุของสายตายาว คือ
1. กระบอกตาสั้นเกินไป ท้าให้ภาพที่ไปตกจะตกเลยเรตินา (จอตา) ออกไป
2. เลนส์ตาแฟบเกินไปหรือกระจกตาโค้งน้อยเกินไป ท้าให้ภาพของวัตถุตกเลย
เรตินา (จอตา) ออกไป
วิธีแก้คนสายตายาว ใช้แว่นท้าด้วยเลนส์นูน
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 12โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
สายตาเอียง เกิดจากความโค้งของกระจกตาหรือเลนส์ ไม่เป็นผิวของทรงกลม
ท้าให้มองเห็นวัตถุชัดเพียงแนวเดียว ซึ่งอาจจะเห็นชัดในแนวดิ่งแต่เห็นไม่ชัดใน
แนวระดับ หรือเห็นชัดในแนวระดับแต่เห็นไม่ชัดในแนวดิ่ง
วิธีแก้สายตาเอียง ใช้แว่นที่ท้าด้วยเลนส์กาบกล้วย ชนิดเว้าและชนิดนูน
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 13โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
หูกับการได้ยินและการทรงตัว
หู เป็นอวัยวะรับเสียง มีหน้าที่รับความถี่ของคลื่นเสียงในระดับต่างๆ และท้าหน้าที่
เกี่ยวกับการทรงตัว แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหูส่วนใน
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 14โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
หูส่วนนอก ประกอบด้วย
1. ใบหู (pinna) ท้าหน้าที่รับคลื่นเสียงจากภายนอกให้ผ่านช่องหู ใบหูเป็น
กระดูกอ่อน
2. รูหู (external auditory canal) มีหน้าที่รวมเสียงไปสู่แก้วหู ภายในมีขน
และต่อมขี้หูท้าหน้าที่สร้างสารคล้ายขี้ผึ้งเคลือบไว้ ป้องกันผนังรูหูไม่ให้แห้ง ถ้ามี
มากจะสะสมรวมกับ ผิวหนังในรูหู และฝุ่นละอองหลุดออกมาเป็นขี้หู
3. เยื่อแก้วหู (eardrum) เป็นเยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูส่วนนอกกับหูส่วนกลาง
เมื่อคลื่นเสียงกระทบเยื่อแก้วหูท้าให้เกิดการสั่นสะเทือน และส่งต่อ
แรงสั่นสะเทือนเข้าไปในหูส่วนกลาง
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 16โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
หูส่วนกลาง ประกอบด้วย
1. กระดูกค้อน (malleus) กระดูกทั่ง (incus)
กระดูกโกลน (stapes) ท้าหน้าที่ ขยายคลื่นเสียง
ให้เพิ่มขึ้น 20 เท่า และส่งต่อแรงสั่นสะเทือนไปยัง
หูส่วนใน
2. หลอดยูสเตเชียน (eustachian tube)
เป็นโพรงต่อระหว่างหูส่วนกลางกับคอหอย มีหน้าที่
ปรับความดันระหว่างภายในกับภายนอกร่างกาย
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 17โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
หูส่วนใน ประกอบด้วย
1.คอเคลีย (cochlea) เป็นท่อขดคล้ายก้นหอยภายในมีของเหลวและปลายประสาท
รับเสียง  พลังงานไฟฟ้า  ศูนย์รับเสียงในสมอง
2.หลอดครึ่งวงกลม (semi circular canal) เป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอดวาง
ตั้งฉากกัน ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ ที่โคนหลอดมีกระเปาะโป่งออกมาเป็นที่อยู่ของ
หมู่เซลล์รับความรู้สึก รับรู้การเคลื่อนไหวในแนวราบและการหมุนตัว ประสาทรับฟัง
น้ากระแสประสาทไปยังก้านสมอง และไปยังเซรีเบลลัมซึ่งจะส่งกระแสประสาท
กระตุ้นการท้างานของ กล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการทรงตัว เพื่อรับรู้เกี่ยวกับต้าแหน่งและ
ความสมดุลของร่างกาย เพื่อให้เกิดการตอบสนองอย่างเหมาะสมและรวดเร็ว
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 18โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 19โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 20โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 21โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 22โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
จมูกกับการดมกลิ่น
จมูกแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้
1. ส่วนเวสติบูลาร์ (vestibular region) เป็นส่วนแรกของลมหายใจเข้า
ภายในมีขนจมูกส้าหรับกรองฝุ่นละออง และต่อมน้้ามัน
2. ส่วนหายใจ (respiratory region) ภายในมีต่อมเมือกและหลอดเลือดฝอย
3. ส่วนดมกลิ่น (olfactory region) ภายในมีเซลล์รับกลิ่น (olfactory
cell) ติดต่อกับออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) และเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 1 ท้าหน้าที่เกี่ยวกับการรับกลิ่น
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 23โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 24โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 25โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ลิ้นกับการรับรส
ด้านบนของลิ้นมีปุ่มเล็กๆ จ้านวนมาก เรียก พาพิลลา (papilla) ภายใน
พาพิลลาประกอบด้วยตุ่มรับรส (taste bud) หลายอันท้าหน้าที่รับรส
ตุ่มรับรสบนลิ้นมี 1 ตุ่ม สามารถรับรสได้ 1 รส ซึ่งรสพื้นฐานที่ตุ่มรับรส
สามารถรับได้แบ่งออกเป็น 5 รสคือ รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสขม และ
รสยูมามิ ซึ่งตุ่มเหล่านี้กระจายไปทั่วลิ้น ในบริเวณที่ต่างๆ กัน
เมื่อเซลล์รับรสบริเวณตุ่มรับรสได้รับการกระตุ้น จะเกิดกระแสประสาทส่งไป
ตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และคู่ที่ 9 ส่งไปยังศูนย์รับรสในเซรีบรัม
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 26โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 27โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
ผิวหนังเป็น nerve organ ที่มีพื้นที่มากที่สุด มีปลายประสาทมาก
ปลายประสาทแต่ละเส้นรับความรู้สึกจากสิ่งเร้าต่างชนิดกัน ซึ่งปลายประสาท
ท้าหน้าที่รับความรู้สึกต่าง ๆ จะอยู่บริเวณชั้นผิวหนังที่แตกต่างกัน
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 28โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 29โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 30โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

Contenu connexe

Tendances

การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 

Tendances (20)

การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 

Similaire à sense organs

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572CUPress
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.panneet
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831CUPress
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้ โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้ PhoomsakAnurak
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1Cat Capturer
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 

Similaire à sense organs (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 8
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
หู
หูหู
หู
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.
ภาพดิจิตอลกับสื่อการสอน.
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้ โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
N sdis 126_60_9
N sdis 126_60_9N sdis 126_60_9
N sdis 126_60_9
 
090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1090620141832TU75R29HASW1
090620141832TU75R29HASW1
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 

Plus de Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 

Plus de Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

sense organs

  • 1. อวัยวะรับสัมผัส Sense organs คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 2. นัยน์ตากับการมองเห็น ตาคน ลักษณะกลมอยู่ในเบ้าตา มีเยื่อบางๆ ยึดลูกตาไว้หลวมๆ หนังตาบนปิดชิด หนังตาล่างเพื่อป้องกันอันตรายให้ลูกตา มีต่อมน้้าตาที่ขอบบนของหางตาซึ่งมีท่อน้้าตา มาปิดเข้าลูกนัยน์ตาเพื่อหล่อเลี้ยงลูกตาให้ชุ่มชื้นเสมอ น้้าตามีสารช่วยฆ่าจุลินทรีย์และ มีน้้ามันช่วยเคลือบลูกตา บริเวณหัวตามีช่องให้น้้าตาออกไปยังโพรงจมูกเพื่อขับทิ้ง คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 3. ผนังลูกตาประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ 1. ชั้นนอก (sclera หรือ sclerotic coat) เป็น fibrous tissue ไม่ยืดหยุ่น ผนังหนามีสีขาวขุ่นท้าให้ลูกตาคงรูปได้ และมีส่วนใสๆนูนออกมา เรียก กระจกตา (cornea) มีสารจาก oil gland ท้าให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ 2. ชั้นกลาง (choroid coat) มีหลอดเลือดมาเลี้ยง มีส่วนที่ยื่นออกไปด้านหน้า เรียกว่า ciliary body ท้าหน้าที่สร้างของเหลวเรียก aqueous humor ส่งไปในช่องว่างของลูกตาด้านหน้าเลนส์ และมีรงควัตถุแผ่กระจายในชั้นนี้มาก เพื่อมิให้แสงสว่างทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังโดยตรง และมีม่านตา (iris) และพิวพิล (pupil) เป็นทางให้แสงเข้าไปภายในตา 3. ชั้นใน (retina) เป็นบริเวณที่มีเซลล์รับแสงซึ่งมีรูปร่างต่างๆกัน คือ เซลล์รูปแท่ง(rod cell) และเซลล์รูปกรวย(cone cell) คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 3โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 5. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) รูปร่างยาว เป็นเซลล์รับแสงสว่างที่ไวมากบอกความมืด และความสว่าง ภายในมีสารสีม่วงแดงชื่อ โรดอปซิน (rhodopsin) ถ้าพิการหรือ ท้างานผิดปกติจะเป็นโรคตาบอดกลางคืน (night blindness) เซลล์รูปกรวย (cone cell) รูปร่างเป็นรูปกรวย เป็นเซลล์ที่บอกความแตกต่าง ของสีแต่ต้องการแสงสว่างมาก แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ รับแสงสีแดง รับแสงสีเขียว และรับแสงสีน้้าเงิน เมื่อเซลล์รูปกรวยได้รับการกระตุ้นพร้อมๆ กันด้วยความเข้มของ แสงต่างๆกัน เกิดการผสมเป็นสีต่างๆขึ้น ถ้าพิการจะเป็นโรคตาบอดสี (colour blindness) ซึ่งพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยผู้ชายจะมีโอกาสเป็นโรคตาบอดสี 1 ใน 20 ส่วนผู้หญิงจะพบตาบอดสี 1 ใน 200คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 5โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 6. ข้างหนึ่งจะมีเซลล์รูปแท่งประมาณ 125 ล้านเซลล์และเซลล์รูปกรวยประมาณ 7 ล้านเซลล์ คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 6โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 8. บริเวณเรตินา อาจแบ่งได้เป็น 2 บริเวณ คือ 1. โฟเวีย (fovea) มีเซลล์รูปกรวยหนาแน่นกว่าบริเวณอื่น เห็นภาพชัดเจน 2. จุดบอด (blind spot) ไม่มีเซลล์รับแสงสว่างเลย ภาพที่ตกบริเวณนี้จึง มองไม่เห็น ซึ่งเป็นบริเวณทางออกของเส้นประสาทตาไปสู่สมอง ส่วนประกอบอื่นๆ ของนัยน์ตา 1. แก้วตา (lens) หดตัว พองตัว และยืดหยุ่นได้ ด้านในโค้งมากกว่าด้านนอก มีหน้าที่โฟกัสภาพให้ชัดบนเรตินา 2. ช่องภายในลูกตา (vitreous chamber) มีของเหลวเป็นเมือกใสเหนียว มีค่าดัชนีหักเหของแสงสูงมากเรียก vitreous humor คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 8โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 10. ความผิดปกติของสายตา สายตาคนปกติมองวัตถุโดยไม่ต้องเพ่ง จะมองเห็นวัตถุชัดในระยะที่ใกล้สุด ประมาณ 25 เซนติเมตร และระยะไกลสุดที่สามารถเห็นได้ชัดคือ ระยะอนันต์ คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 11. คนสายตาสั้น คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะใกล้กว่า 25 เซนติเมตร สาเหตุของสายตาสั้น คือ 1. กระบอกตายาวเกินไป ท้าให้ภาพที่ไปตกจะตกก่อนถึงเรตินา (จอตา) 2. เลนส์ตานูนเกินไปหรือกระจกตาโค้งมากเกินไป ท้าให้ภาพของวัตถุที่ไปตกจะตก ก่อนถึงเรตินา (จอตา) วิธีแก้คนสายตาสั้น ใช้แว่นที่ท้าด้วยเลนส์เว้า คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 11โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 12. คนสายตายาว คือ คนที่มองวัตถุได้ชัดเจนในระยะไกลกว่า 25 เซนติเมตร สาเหตุของสายตายาว คือ 1. กระบอกตาสั้นเกินไป ท้าให้ภาพที่ไปตกจะตกเลยเรตินา (จอตา) ออกไป 2. เลนส์ตาแฟบเกินไปหรือกระจกตาโค้งน้อยเกินไป ท้าให้ภาพของวัตถุตกเลย เรตินา (จอตา) ออกไป วิธีแก้คนสายตายาว ใช้แว่นท้าด้วยเลนส์นูน คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 12โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 13. สายตาเอียง เกิดจากความโค้งของกระจกตาหรือเลนส์ ไม่เป็นผิวของทรงกลม ท้าให้มองเห็นวัตถุชัดเพียงแนวเดียว ซึ่งอาจจะเห็นชัดในแนวดิ่งแต่เห็นไม่ชัดใน แนวระดับ หรือเห็นชัดในแนวระดับแต่เห็นไม่ชัดในแนวดิ่ง วิธีแก้สายตาเอียง ใช้แว่นที่ท้าด้วยเลนส์กาบกล้วย ชนิดเว้าและชนิดนูน คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 13โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 14. หูกับการได้ยินและการทรงตัว หู เป็นอวัยวะรับเสียง มีหน้าที่รับความถี่ของคลื่นเสียงในระดับต่างๆ และท้าหน้าที่ เกี่ยวกับการทรงตัว แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหูส่วนใน คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 14โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 15. หูส่วนนอก ประกอบด้วย 1. ใบหู (pinna) ท้าหน้าที่รับคลื่นเสียงจากภายนอกให้ผ่านช่องหู ใบหูเป็น กระดูกอ่อน 2. รูหู (external auditory canal) มีหน้าที่รวมเสียงไปสู่แก้วหู ภายในมีขน และต่อมขี้หูท้าหน้าที่สร้างสารคล้ายขี้ผึ้งเคลือบไว้ ป้องกันผนังรูหูไม่ให้แห้ง ถ้ามี มากจะสะสมรวมกับ ผิวหนังในรูหู และฝุ่นละอองหลุดออกมาเป็นขี้หู 3. เยื่อแก้วหู (eardrum) เป็นเยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูส่วนนอกกับหูส่วนกลาง เมื่อคลื่นเสียงกระทบเยื่อแก้วหูท้าให้เกิดการสั่นสะเทือน และส่งต่อ แรงสั่นสะเทือนเข้าไปในหูส่วนกลาง คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 17. หูส่วนกลาง ประกอบด้วย 1. กระดูกค้อน (malleus) กระดูกทั่ง (incus) กระดูกโกลน (stapes) ท้าหน้าที่ ขยายคลื่นเสียง ให้เพิ่มขึ้น 20 เท่า และส่งต่อแรงสั่นสะเทือนไปยัง หูส่วนใน 2. หลอดยูสเตเชียน (eustachian tube) เป็นโพรงต่อระหว่างหูส่วนกลางกับคอหอย มีหน้าที่ ปรับความดันระหว่างภายในกับภายนอกร่างกาย คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 17โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 18. หูส่วนใน ประกอบด้วย 1.คอเคลีย (cochlea) เป็นท่อขดคล้ายก้นหอยภายในมีของเหลวและปลายประสาท รับเสียง  พลังงานไฟฟ้า  ศูนย์รับเสียงในสมอง 2.หลอดครึ่งวงกลม (semi circular canal) เป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอดวาง ตั้งฉากกัน ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ ที่โคนหลอดมีกระเปาะโป่งออกมาเป็นที่อยู่ของ หมู่เซลล์รับความรู้สึก รับรู้การเคลื่อนไหวในแนวราบและการหมุนตัว ประสาทรับฟัง น้ากระแสประสาทไปยังก้านสมอง และไปยังเซรีเบลลัมซึ่งจะส่งกระแสประสาท กระตุ้นการท้างานของ กล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการทรงตัว เพื่อรับรู้เกี่ยวกับต้าแหน่งและ ความสมดุลของร่างกาย เพื่อให้เกิดการตอบสนองอย่างเหมาะสมและรวดเร็ว คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 18โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 23. จมูกกับการดมกลิ่น จมูกแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1. ส่วนเวสติบูลาร์ (vestibular region) เป็นส่วนแรกของลมหายใจเข้า ภายในมีขนจมูกส้าหรับกรองฝุ่นละออง และต่อมน้้ามัน 2. ส่วนหายใจ (respiratory region) ภายในมีต่อมเมือกและหลอดเลือดฝอย 3. ส่วนดมกลิ่น (olfactory region) ภายในมีเซลล์รับกลิ่น (olfactory cell) ติดต่อกับออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb) และเส้นประสาท สมองคู่ที่ 1 ท้าหน้าที่เกี่ยวกับการรับกลิ่น คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 23โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 26. ลิ้นกับการรับรส ด้านบนของลิ้นมีปุ่มเล็กๆ จ้านวนมาก เรียก พาพิลลา (papilla) ภายใน พาพิลลาประกอบด้วยตุ่มรับรส (taste bud) หลายอันท้าหน้าที่รับรส ตุ่มรับรสบนลิ้นมี 1 ตุ่ม สามารถรับรสได้ 1 รส ซึ่งรสพื้นฐานที่ตุ่มรับรส สามารถรับได้แบ่งออกเป็น 5 รสคือ รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รสขม และ รสยูมามิ ซึ่งตุ่มเหล่านี้กระจายไปทั่วลิ้น ในบริเวณที่ต่างๆ กัน เมื่อเซลล์รับรสบริเวณตุ่มรับรสได้รับการกระตุ้น จะเกิดกระแสประสาทส่งไป ตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และคู่ที่ 9 ส่งไปยังศูนย์รับรสในเซรีบรัม คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 26โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
  • 28. ผิวหนังกับการรับความรู้สึก ผิวหนังเป็น nerve organ ที่มีพื้นที่มากที่สุด มีปลายประสาทมาก ปลายประสาทแต่ละเส้นรับความรู้สึกจากสิ่งเร้าต่างชนิดกัน ซึ่งปลายประสาท ท้าหน้าที่รับความรู้สึกต่าง ๆ จะอยู่บริเวณชั้นผิวหนังที่แตกต่างกัน คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 28โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร