SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ฮิตเลอร์กบการเลือกตั้งเยอรมนี
         ั
ลำาดับเหตุการณ์
●   เยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๑
          บิสมาร์ ค
          การรวมชาติ
          มีจกรพรรดิเป็ นประมุข
             ั
                                                             ่
          มีการเลือกตั้ง รัฐสภา Reichstag แต่อานาจสู งสุ ดอยูที่
                                              ำ
             จักรพรรดิ
          ความขัดแย้งกับบิสมาร์ค
การสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๑
●   เยอรมันเป็ นฝ่ ายแพ้
●   มีการปฏิวติภายใน โดยพรรค SPD เป็ นแกนนำา รัฐบาลใหม่เจรจา
             ั
    สงบศึก เยอรมันโดนเงื่อนไขหนักสาหัส
●   ประชาชนส่ วนใหญ่โกรธแค้น มีนกการเมืองฝ่ ายขวาคอยบอกว่า
                                ั
    “ชาวเยอรมันโดนแทงข้างหลัง”
●   ก่อเชื้อความเติบโตของพรรคนาซี
สาธารณรัฐไวมาร์
●   รัฐบาลใหม่ของเยอรมันก่อตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ที่เป็ น
    ประชาธิปไตย เป็ นสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข
●                           ่
    แต่ภายในเต็มไปด้วยความวุนวาย พรรคการเมืองต่างๆใช้วธีการ
                                                      ิ
    รุ นแรงในการต่อสู้
●   เงื่อนไขของสนธิสญญาแวร์ซายส์นาไปสู่ ความไม่มีเสถียรภาพ
                    ั            ำ
สาธารณรัฐไวมาร์
●   นักการเมืองกระพือความเกลียดชังด้วยการประณามชาวยิวและนักการเมือง
    ฝ่ ายซ้ายที่ถกกล่าวหาว่า เข้าข้างสนธิสญญา และ “แทงประชาชนข้างหลัง”
                 ู                        ั
●   ฮิตเลอร์ข้ ึนมาเป็ นผูนาพรรค DAP (แรงงานเยอรมัน) แล้วเปลี่ยนชื่อเป็ น
                          ้ ำ
    NSDAP (แรงงานสังคมชาตินิยมเยอรมัน – Nationalsozialistische Deutsche
    Arbeiterpartei)
●   ฮิตเลอร์เป็ นนักการเมืองที่มีพรสวรรค์ในการพูดชักจูงใจคนสู งมาก จับเอา
    ประเด็นที่โหมความรู้สึกคนมาเป็ นประเด็นการเมือง
พรรคนาซีกับพรรคอื่นๆ
●   บรรยากาศการแข่งขันทางการเมืองในเยอรมนี ยุคสาธารณรัฐไวมาร์
    รุ นแรงมาก แต่ละพรรคมีฝ่าย “รุ นแรง” (เมืองไทยเรี ยกว่า “การ์ ด”)
    เอาไว้ป้องกันตัวกับไประรานฝ่ ายอื่น
●   มีเรื่ องกระทบกระทั้งถึงตายกันเสมอๆ
●   ฝ่ ายรุ นแรงของพรรคนาซีเรี ยกว่า SA ของพรรคคอมมิวนิสต์เรี ยกว่า
    “Red Front” (แนวร่ วมแดง) ของ SPD เรี ยกว่า “Free
    Corps” (กองพันเสรี )
ปั ญหาเศรษฐกิจ
●   ช่วงสาธารณรัฐไวมาร์เยอรมันประสบปัญหามากมาย ที่หนักมากๆ
    ได้แก่ปัญหาเงินเฟ้ อ คนเยอรมันต้องหอบเงินใส่ รถเข็นออกไปซื้ อ
                                   ่
    กาแฟกิน ราคากาแฟตอนซื้ ออยูที่ 50,000 มาร์ คบนเมนู แต่ตอนกิน
    เสร็ จแล้วอาจขึ้นไปเป็ น 500,000 มาร์คได้ง่ายๆ
●   ก่อนเกิดวิกฤตหนึ่งดอลลาร์สหรัฐแลกได้ 4 มาร์ค แต่ระหว่าง
    เงินเฟ้ อต้องเป็ นหลายๆพันล้านมาร์ค ถึงจะได้มา 1 ดอลลาร์
●   เกิดจากภาระหนี้ ตามสนธิสญญาแวร์ซายส์
                            ั
การเลือกตั้ง
●   ระบบเลือกตั้งของสาธารณรัฐไวมาร์เป็ นแบบสัดส่ วนทั้งหมด
    พรรคการเมืองเสนอรายชื่อคนจะเป็ น สส. แล้วประชาชนเลือกพรรค
    พรรคได้จานวน สส. ตามสัดส่ วนคะแนนเสี ยงที่ได้
            ำ
●   ทำาให้เกิดพรรคเล็กพรรคน้อยเต็มไปหมด และก็เป็ นเหตุหนึ่งให้
    พรรคนาซีกาวขึ้นมาอยูเ่ วทีระดับชาติได้
                ้
●   พรรคฝ่ ายขวาหลายๆพรรคหาเสี ยงด้วยการโจมตี รธน. ไวมาร์ อย่าง
    โจ่งแจ้ง
พรรคคอมมิวนิ สต์
●   อีกหนึ่งหนึ่งที่อาจทำาให้คนเริ่ มหันมาสนใจพรรคนาซี ได้แก่การก่อตัวของพรรค
    คอมมิวนิสต์ (KPD)
●   พรรคนี้รับนโยบายจากพรรคคอมฯโซเวียต ซึ่งบอกให้ต่อสู้กบพรรค SPD
                                                        ั
●              ็ั       ั
    นอกจากนี้ กยงต่อสู้กบพรรคนาซีอย่างรุ นแรง ผลัดกันยิงอีกฝ่ ายตายหลายรอบ
●   พรรคนาซีเอาสมาชิกที่โดนแนวร่ วมแดงยิงตายชื่อ Horst Wessel มาเป็ นตัวชูธงใน
    การต่อสู้
●   คนเยอรมันจำานวนมากกลัวพรรค KPD เพราะกลัวจะโดนสหภาพโซเวียตครอบงำา
วิธีการหาเสียงกับต่อสู้
●   พรรคนาซีมี “อัจฉริ ยะ” ในการปลุกระดม ปั่ นกระแส ปลุกจิตวิทยา
    กลุ่มชน ได้แก่โจเซฟ ก็อบเบล (Joseph Goebbels)
●   ใช้เพลง ใช้การ์ ดมาเดินตบเท้า มีธงสัญลักษณ์ ข้อความที่หาเสี ยง
    เข้าใจง่าย ตรงกับจุดอ่อนทางอารมณ์ของคนเยอรมันในสมัยนั้น
●       ำ                  ำ
    ที่สาคัญคือมี “เสื้ อน้าตาล” หรื อหน่วย SA เป็ นฝ่ ายรุ นแรง คอย
    ก่อกวน ทำาร้ายคู่แข่งทางการเมืองตลอด
●                ั
    ทั้งพรรคนาซีกบพรรค KPD ใช้วธีการเดียวกัน
                               ิ
ผลการเลือกตั้ง
●   พรรคนาซีถูกแบนไปหลายปี เนื่องจากไปพยายามก่อรัฐประหาร
    Beer Hall Putsch ทำาให้ฮิตเลอร์ถูกขังคุก
●   พอกลับมาลงสนามเลือกปี ค.ศ. 1928 พรรคได้สดส่ วนเพียง 3%
                                                ั
    พรรคที่ได้สดส่ วนมากที่สุดคือ SPD ได้ 30% พรรคฝ่ ายขวา DNVP
               ั
    ได้ 14.2% พรรคคาธอลิค Center Party ได้ 12.1 พรรคคอมฯได้
    10.6%
ผลการเลือกตั้ง                     1930
●   สองปี ถัดมาสภาถูกยุบ เลือกตั้งใหม่ในปี 1930 พรรคนาซีกระโดด
    ขึ้นมาเป็ นอันดับสอง ได้สดส่ วน 18.25% พรรคอันดับหนึ่งยังเป็ น
                             ั
    SPD ได้ 24.5% พรรคคอมมิวนิสต์ได้อนดับสาม ที่ 13.13%
                                         ั
●   การที่พรรคนิยมความรุ นแรงได้รับเลือกมามากเป็ นสัญญาณแสดง
    ว่าการเมืองเยอรมันมีความไม่ปกติเป็ นอย่างมาก
ผลการเลือกตั้ง                     1932/1
●   ผลพวงของวิกฤติเศรษฐกิจ ทำาให้เยอรมนีเต็มไปด้วยความรุ นแรง
    ทางการเมือง พรรคนาซีเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็ นพรรค
                             ็ั                      ่
    สัดส่ วนสูงสุ ดในสภา แต่กยงไม่ได้เสี ยงข้างมากอยูดี พรรคอื่นๆทุก
    พรรคในสภาไม่ยอมร่ วมงานกับพรรคนาซี
●   ผลคือสภาไม่มีบทบาทในการเมืองอีกต่อไป เนื่องจากประธานาธิบดี
    สามารถออกกฤษฎีกาเพือปกครองประเทศได้โดยไม่ตองพึ่งสภา
                       ่                          ้
ผลการเลือกตั้ง                   1932/1
●   พรรคนาซี 37.27%
●   พรรค SPD 27.58%
●   พรรค KPD 14.32%
●   พรรค Center Party 12.44%
●   ในระยะนี้ประธาธิบดี Paul Hindenburg มีอายุ 85 ปี แล้ว หลงๆลืมๆ
    ฟังแต่คนรอบข้าง Hindenburg แต่งตั้ง Franz von Papen เป็ นนายก
    ซึ่งยุบสภาทันที
ผลการเลือกตั้ง                    1932/2
●   การเลือกตั้งครั้งนี้พรรคนาซีได้สดส่ วนลดลงอย่างเห็นได้ชด แต่ยง
                                    ั                      ั     ั
    เป็ นพรรคสัดส่ วนสูงสุ ดอยู่
●   พรรคนาซีได้ 33% พรรค SPD 20.4% พรรค KPD 16.86% พรรค
    Center Party 11.93%
●   ในช่วงนี้มีแรงกดดันประธานาธิบดี Hindenburg ให้แต่งตั้งฮิตเลอร์
    เป็ นนายกฯ โดยมี von Papen กับนักธุรกิจอุตสาหกรรมจำานวนหนึ่ง
    เป็ นแกนนำา พรรคนาซีจบมือกับพรรค DNVP ทำาให้ได้สดส่ วน
                          ั                            ั
    ประมาณ 41%
สรุป
●   การก้าวเข้ามามีอานาจของฮิตเลอร์และพรรคนาซี ไม่ได้มาจากเสี ยงข้างมาก
                    ำ
●   ฮิตเลอร์ไม่เคยตกลงร่ วมมือทำางานในรัฐบาลผสมกับพรรคอื่น เงื่อนไขที่ฮิตเลอร์มีมา
    ตลอดคือตนเองต้องเป็ นนายกหรื อผูนาสู งสุ ดเท่านั้น
                                     ้ ำ
●   การที่ฮิตเลอร์ข้ ึนมาเป็ นนายกได้ ก็ดวยแรงสนับสนุนของฝ่ ายขวา ที่ตองการยืมมือฮิตเลอ
                                         ้                            ้
    ร์มากำาจัดพรรคฝ่ ายซ้าย
●   แต่พอฮิตเลอร์ข้ ึนมามีอานาจ ก็รวบอำานาจไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว จนเกิดสงครามโลกครั้งที่
                           ำ
    สองขึ้น
●   ฮิตเลอร์มองกลไกทางกฎหมายเป็ นเพียงเครื่ องมือสู่ อานาจเท่านั้น พอได้อานาจก็โยนทิ้ง
                                                      ำ                  ำ
    ไป
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี

More Related Content

More from Soraj Hongladarom

ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นSoraj Hongladarom
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandSoraj Hongladarom
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economySoraj Hongladarom
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsSoraj Hongladarom
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยSoraj Hongladarom
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาSoraj Hongladarom
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนSoraj Hongladarom
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์Soraj Hongladarom
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacySoraj Hongladarom
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนSoraj Hongladarom
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการSoraj Hongladarom
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningSoraj Hongladarom
 
Language, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsLanguage, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsSoraj Hongladarom
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าSoraj Hongladarom
 
พัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณพัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณSoraj Hongladarom
 
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and TechnologyIntroducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and TechnologySoraj Hongladarom
 

More from Soraj Hongladarom (20)

ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailand
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economy
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษา
 
Human dignity
Human dignityHuman dignity
Human dignity
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational Surrogacy
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียน
 
Thai science bitec
Thai science   bitecThai science   bitec
Thai science bitec
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการ
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
 
Two concepts liberty
Two concepts libertyTwo concepts liberty
Two concepts liberty
 
Language, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, LaughsLanguage, Reality, Emptiness, Laughs
Language, Reality, Emptiness, Laughs
 
Disenhancement Problem
Disenhancement ProblemDisenhancement Problem
Disenhancement Problem
 
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่าสื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า
 
พัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณพัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณ
 
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and TechnologyIntroducing the Center for Ethics of Science and Technology
Introducing the Center for Ethics of Science and Technology
 

ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี

  • 2. ลำาดับเหตุการณ์ ● เยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๑ บิสมาร์ ค การรวมชาติ มีจกรพรรดิเป็ นประมุข ั ่ มีการเลือกตั้ง รัฐสภา Reichstag แต่อานาจสู งสุ ดอยูที่ ำ จักรพรรดิ ความขัดแย้งกับบิสมาร์ค
  • 3. การสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๑ ● เยอรมันเป็ นฝ่ ายแพ้ ● มีการปฏิวติภายใน โดยพรรค SPD เป็ นแกนนำา รัฐบาลใหม่เจรจา ั สงบศึก เยอรมันโดนเงื่อนไขหนักสาหัส ● ประชาชนส่ วนใหญ่โกรธแค้น มีนกการเมืองฝ่ ายขวาคอยบอกว่า ั “ชาวเยอรมันโดนแทงข้างหลัง” ● ก่อเชื้อความเติบโตของพรรคนาซี
  • 4. สาธารณรัฐไวมาร์ ● รัฐบาลใหม่ของเยอรมันก่อตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ที่เป็ น ประชาธิปไตย เป็ นสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข ● ่ แต่ภายในเต็มไปด้วยความวุนวาย พรรคการเมืองต่างๆใช้วธีการ ิ รุ นแรงในการต่อสู้ ● เงื่อนไขของสนธิสญญาแวร์ซายส์นาไปสู่ ความไม่มีเสถียรภาพ ั ำ
  • 5. สาธารณรัฐไวมาร์ ● นักการเมืองกระพือความเกลียดชังด้วยการประณามชาวยิวและนักการเมือง ฝ่ ายซ้ายที่ถกกล่าวหาว่า เข้าข้างสนธิสญญา และ “แทงประชาชนข้างหลัง” ู ั ● ฮิตเลอร์ข้ ึนมาเป็ นผูนาพรรค DAP (แรงงานเยอรมัน) แล้วเปลี่ยนชื่อเป็ น ้ ำ NSDAP (แรงงานสังคมชาตินิยมเยอรมัน – Nationalsozialistische Deutsche Arbeiterpartei) ● ฮิตเลอร์เป็ นนักการเมืองที่มีพรสวรรค์ในการพูดชักจูงใจคนสู งมาก จับเอา ประเด็นที่โหมความรู้สึกคนมาเป็ นประเด็นการเมือง
  • 6. พรรคนาซีกับพรรคอื่นๆ ● บรรยากาศการแข่งขันทางการเมืองในเยอรมนี ยุคสาธารณรัฐไวมาร์ รุ นแรงมาก แต่ละพรรคมีฝ่าย “รุ นแรง” (เมืองไทยเรี ยกว่า “การ์ ด”) เอาไว้ป้องกันตัวกับไประรานฝ่ ายอื่น ● มีเรื่ องกระทบกระทั้งถึงตายกันเสมอๆ ● ฝ่ ายรุ นแรงของพรรคนาซีเรี ยกว่า SA ของพรรคคอมมิวนิสต์เรี ยกว่า “Red Front” (แนวร่ วมแดง) ของ SPD เรี ยกว่า “Free Corps” (กองพันเสรี )
  • 7. ปั ญหาเศรษฐกิจ ● ช่วงสาธารณรัฐไวมาร์เยอรมันประสบปัญหามากมาย ที่หนักมากๆ ได้แก่ปัญหาเงินเฟ้ อ คนเยอรมันต้องหอบเงินใส่ รถเข็นออกไปซื้ อ ่ กาแฟกิน ราคากาแฟตอนซื้ ออยูที่ 50,000 มาร์ คบนเมนู แต่ตอนกิน เสร็ จแล้วอาจขึ้นไปเป็ น 500,000 มาร์คได้ง่ายๆ ● ก่อนเกิดวิกฤตหนึ่งดอลลาร์สหรัฐแลกได้ 4 มาร์ค แต่ระหว่าง เงินเฟ้ อต้องเป็ นหลายๆพันล้านมาร์ค ถึงจะได้มา 1 ดอลลาร์ ● เกิดจากภาระหนี้ ตามสนธิสญญาแวร์ซายส์ ั
  • 8. การเลือกตั้ง ● ระบบเลือกตั้งของสาธารณรัฐไวมาร์เป็ นแบบสัดส่ วนทั้งหมด พรรคการเมืองเสนอรายชื่อคนจะเป็ น สส. แล้วประชาชนเลือกพรรค พรรคได้จานวน สส. ตามสัดส่ วนคะแนนเสี ยงที่ได้ ำ ● ทำาให้เกิดพรรคเล็กพรรคน้อยเต็มไปหมด และก็เป็ นเหตุหนึ่งให้ พรรคนาซีกาวขึ้นมาอยูเ่ วทีระดับชาติได้ ้ ● พรรคฝ่ ายขวาหลายๆพรรคหาเสี ยงด้วยการโจมตี รธน. ไวมาร์ อย่าง โจ่งแจ้ง
  • 9. พรรคคอมมิวนิ สต์ ● อีกหนึ่งหนึ่งที่อาจทำาให้คนเริ่ มหันมาสนใจพรรคนาซี ได้แก่การก่อตัวของพรรค คอมมิวนิสต์ (KPD) ● พรรคนี้รับนโยบายจากพรรคคอมฯโซเวียต ซึ่งบอกให้ต่อสู้กบพรรค SPD ั ● ็ั ั นอกจากนี้ กยงต่อสู้กบพรรคนาซีอย่างรุ นแรง ผลัดกันยิงอีกฝ่ ายตายหลายรอบ ● พรรคนาซีเอาสมาชิกที่โดนแนวร่ วมแดงยิงตายชื่อ Horst Wessel มาเป็ นตัวชูธงใน การต่อสู้ ● คนเยอรมันจำานวนมากกลัวพรรค KPD เพราะกลัวจะโดนสหภาพโซเวียตครอบงำา
  • 10. วิธีการหาเสียงกับต่อสู้ ● พรรคนาซีมี “อัจฉริ ยะ” ในการปลุกระดม ปั่ นกระแส ปลุกจิตวิทยา กลุ่มชน ได้แก่โจเซฟ ก็อบเบล (Joseph Goebbels) ● ใช้เพลง ใช้การ์ ดมาเดินตบเท้า มีธงสัญลักษณ์ ข้อความที่หาเสี ยง เข้าใจง่าย ตรงกับจุดอ่อนทางอารมณ์ของคนเยอรมันในสมัยนั้น ● ำ ำ ที่สาคัญคือมี “เสื้ อน้าตาล” หรื อหน่วย SA เป็ นฝ่ ายรุ นแรง คอย ก่อกวน ทำาร้ายคู่แข่งทางการเมืองตลอด ● ั ทั้งพรรคนาซีกบพรรค KPD ใช้วธีการเดียวกัน ิ
  • 11. ผลการเลือกตั้ง ● พรรคนาซีถูกแบนไปหลายปี เนื่องจากไปพยายามก่อรัฐประหาร Beer Hall Putsch ทำาให้ฮิตเลอร์ถูกขังคุก ● พอกลับมาลงสนามเลือกปี ค.ศ. 1928 พรรคได้สดส่ วนเพียง 3% ั พรรคที่ได้สดส่ วนมากที่สุดคือ SPD ได้ 30% พรรคฝ่ ายขวา DNVP ั ได้ 14.2% พรรคคาธอลิค Center Party ได้ 12.1 พรรคคอมฯได้ 10.6%
  • 12. ผลการเลือกตั้ง 1930 ● สองปี ถัดมาสภาถูกยุบ เลือกตั้งใหม่ในปี 1930 พรรคนาซีกระโดด ขึ้นมาเป็ นอันดับสอง ได้สดส่ วน 18.25% พรรคอันดับหนึ่งยังเป็ น ั SPD ได้ 24.5% พรรคคอมมิวนิสต์ได้อนดับสาม ที่ 13.13% ั ● การที่พรรคนิยมความรุ นแรงได้รับเลือกมามากเป็ นสัญญาณแสดง ว่าการเมืองเยอรมันมีความไม่ปกติเป็ นอย่างมาก
  • 13. ผลการเลือกตั้ง 1932/1 ● ผลพวงของวิกฤติเศรษฐกิจ ทำาให้เยอรมนีเต็มไปด้วยความรุ นแรง ทางการเมือง พรรคนาซีเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็ นพรรค ็ั ่ สัดส่ วนสูงสุ ดในสภา แต่กยงไม่ได้เสี ยงข้างมากอยูดี พรรคอื่นๆทุก พรรคในสภาไม่ยอมร่ วมงานกับพรรคนาซี ● ผลคือสภาไม่มีบทบาทในการเมืองอีกต่อไป เนื่องจากประธานาธิบดี สามารถออกกฤษฎีกาเพือปกครองประเทศได้โดยไม่ตองพึ่งสภา ่ ้
  • 14. ผลการเลือกตั้ง 1932/1 ● พรรคนาซี 37.27% ● พรรค SPD 27.58% ● พรรค KPD 14.32% ● พรรค Center Party 12.44% ● ในระยะนี้ประธาธิบดี Paul Hindenburg มีอายุ 85 ปี แล้ว หลงๆลืมๆ ฟังแต่คนรอบข้าง Hindenburg แต่งตั้ง Franz von Papen เป็ นนายก ซึ่งยุบสภาทันที
  • 15. ผลการเลือกตั้ง 1932/2 ● การเลือกตั้งครั้งนี้พรรคนาซีได้สดส่ วนลดลงอย่างเห็นได้ชด แต่ยง ั ั ั เป็ นพรรคสัดส่ วนสูงสุ ดอยู่ ● พรรคนาซีได้ 33% พรรค SPD 20.4% พรรค KPD 16.86% พรรค Center Party 11.93% ● ในช่วงนี้มีแรงกดดันประธานาธิบดี Hindenburg ให้แต่งตั้งฮิตเลอร์ เป็ นนายกฯ โดยมี von Papen กับนักธุรกิจอุตสาหกรรมจำานวนหนึ่ง เป็ นแกนนำา พรรคนาซีจบมือกับพรรค DNVP ทำาให้ได้สดส่ วน ั ั ประมาณ 41%
  • 16. สรุป ● การก้าวเข้ามามีอานาจของฮิตเลอร์และพรรคนาซี ไม่ได้มาจากเสี ยงข้างมาก ำ ● ฮิตเลอร์ไม่เคยตกลงร่ วมมือทำางานในรัฐบาลผสมกับพรรคอื่น เงื่อนไขที่ฮิตเลอร์มีมา ตลอดคือตนเองต้องเป็ นนายกหรื อผูนาสู งสุ ดเท่านั้น ้ ำ ● การที่ฮิตเลอร์ข้ ึนมาเป็ นนายกได้ ก็ดวยแรงสนับสนุนของฝ่ ายขวา ที่ตองการยืมมือฮิตเลอ ้ ้ ร์มากำาจัดพรรคฝ่ ายซ้าย ● แต่พอฮิตเลอร์ข้ ึนมามีอานาจ ก็รวบอำานาจไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว จนเกิดสงครามโลกครั้งที่ ำ สองขึ้น ● ฮิตเลอร์มองกลไกทางกฎหมายเป็ นเพียงเครื่ องมือสู่ อานาจเท่านั้น พอได้อานาจก็โยนทิ้ง ำ ำ ไป