SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
                 เรื่อง คําประสม




                       โดย
                นางสุวดี ไตรรงค
    ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

          โรงเรียนหนองงูเหลือมพิทยาคม
   สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา
คํานํา

             เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง คําประสม ฉบับนี้ เปน
เครื่องมือที่จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนวิชาภาษาไทย ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ ๓ นักเรียนสามารถฝกทักษะเพิ่มเติมจากเนื้อหา พรอมทั้ง
ประเมินผลตนเองไดจากเฉลย โดยเนนใหนักเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง สามารถใช
เปนเอกสารประกอบการเรียนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน
             เอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ตองขอขอบพระคุณ
อาจารยสุชีรา ชัชวารุรัตน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ที่กรุณาให
คําปรึกษา แนะนํา และเปนกําลังใจ จนทําใหเอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้มี
คุณคามากยิ่งขึ้น หวังเปนอยางยิ่งวา คงจะเปนประโยชนตอผูเรียนในการศึกษาหา
ความรูในเรื่อง คําประสม กับตนเองหรือกลุมผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพ



                                                 สุวดี ไตรรงค
สารบัญ
                                      หนา
คํานํา
สารบัญ
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน    ๑
สาระสําคัญ                             ๒
จุดประสงคการเรียนรู                  ๒
แบบทดสอบกอนเรียน                      ๓
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน                  ๕
คําประสม                               ๖
แบบฝกกิจกรรม                         ๑๒
เฉลยแบบฝกกิจกรรม                     ๑๕
แบบทดสอบหลังเรียน                     ๑๖
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน                 ๑๘
บรรณานุกรม                            ๒๐
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน



                เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหนักเรียนไดศึกษาไดดวย
ตนเอง โดยนักเรียนจะไดประโยชนจากบทเรียนตามจุดประสงคที่ตั้งไว ดวยการ
ปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้
        ๑. นักเรียนอานจุดประสงคการเรียนรูกอนลงมือศึกษาเอกสารประกอบ
                                             
           การเรียน
        ๒. ทําแบบทดสอบกอนเรียนแลวบันทึกคะแนนไว
        ๓. ศึกษาบทเรียนตามลําดับโดยไมตองรีบรอน เมื่อเขาใจแลวใหทําแบบฝก
           กิจกรรมหรือตอบคําถามทุกขอ
        ๔. เมื่อทํากิจกรรมเสริมความรูแลว ใหนักเรียนตรวจดูเฉลยหนาถัดไป ถา
           ตอบผิดใหกลับไปศึกษาบทเรียนและตอบคําถามอีกครั้ง เมื่อตอบถูกตอง
           แลวจึงศึกษาเรื่องตอไป
        ๕. นักเรียนตองไมดูเฉลยกอนทํากิจกรรมเสริมความรู หรือแบบทดสอบ
           กอนเรียน – หลังเรียน ตองมีความซื่อสัตยตอตนเอง
        ๖. นักเรียนตองศึกษาบทเรียนนี้ดวยตนเอง ถามีปญหาหรือขอสงสัยให
           ปรึกษาผูสอนทันที
        ๗. ใหนกเรียนเขียนคําตอบลงบนกระดาษคําตอบ และหามขีดเขียนขอความ
                  ั
           ใดๆลงในบทเรียนนี้
        ๘. เมื่อศึกษาจบแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคําตอบ
           จากเฉลย แลวนําผลคะแนนที่ไดไปเปรียบเทียบกับคะแนนครั้งกอน
        ๙. สงคืนเอกสารประกอบการเรียนตามกําหนดเวลาและตองรักษาใหอยูใน
           สภาพดีและไมสูญหาย
สาระสําคัญ

           คําประสม คือ คําที่เกิดจากการนําคํามูล
   ตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกันอาจเปนคําไทยแท
   หรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมาย
   ใหมแตยังมีเคาความเดิมอยู



         จุดประสงคการเรียนรู
๑. บอกคําจํากัดความของคําประสมพรอมทั้ง
   ยกตัวอยางได
๒. บอกรูปลักษณของคําประสมได
๓. นําคําประสมมาแตงประโยคได
สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้จุกจะมาชวนเพื่อนๆได
ศึกษาเรือง “ คําประสม ” ลองศึกษาเนื้อหากอน
        ่
นะครับจะทําใหเขาใจเรื่องคําประสมยิ่งขึ้น
คําประสม คือ คําที่เกิดจากการนําคํามูลตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกัน
อาจเปนคําไทยแทหรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมายใหมแตยังมีเคา
ความเดิมอยู เชน



                                        +
                                        =




                                      รถไฟ


 ประเภทของคําประสม
           ๑. คําที่นํามาประสมกันนํามาจากภาษาใดก็ได เชน
              - คําประสมที่เปนคําไทยกับคําไทย เชน แม + บาน = แมบาน พอ
 + ตา = พอตา โรง + เรียน = โรงเรียน
              - คําประสมที่เปนคําไทยกับบาลี เชน ราช + วัง = ราชวัง
 พล + เรือน = พลเรือน รถ + ไฟ = รถไฟ
               - คําประสมระหวางภาษาบาลี สันสกฤตหรือคําที่มาจากภาษาอื่น เชน
 กิจ + ธุระ = กิจธุระ วงศ + ญาติ = วงศญาติ น้ํา + ซุป = น้ําซุป
           ๒. ชนิดของคํามูลที่นํามาผสมกัน อาจเปนนาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ
 บุพบท
                - คําประสมที่มีคํานามเปนตัวตั้ง เชน พอตา ปากจัด คนใช
น้ําหวาน คนนอก ภาคใต
           - คําประสมที่มีคํากริยาเปนตัวตั้ง เชน ยิงปน เชื่อใจ หอหมก จับ
จอง อวดดี
           - คําประสมที่มีคําวิเศษณเปนตัวตั้ง เชน หลายใจ นารัก หวานเย็น
           - คําประสมที่มีคําบุพบทเปนตัวตั้ง เชน ใตเทา ทีนอน ใตดิน
                                                               ่
ลักษณะคําประสม

              คําประสมที่สรางมีลักษณะตางๆ ตามการใช แยกไดเปน ที่ใชเปน
คํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ คําประสมที่ใชเปนคํานาม สวนมากคําตัวตั้งเปน
คํานาม ที่เปนคําอื่นก็มีบาง คําประสมประเภทนี้ใชเปนชื่อสิ่งตางๆ ที่มีความหมาย
จํากัดจําเพาะพอเอยชื่อขึ้นยอมเปนที่รับรูวาเปนชื่อของอะไรหากคํานั้นเปนที่ยอมรับ
ใชกันทั่วไปแลว
       ๑. คําตัวตั้งเปนนามและคําขยายเปนวิเศษณ ไดแก

               มด + แดง คือ มดชนิดหนึ่งตัวสีแดง ไมใชมดตัวสีแดงทั่วๆ ไป
อาจเติมตอเปน มด + แดง +ไฟ ก็ได เปนการบอกประเภทยอยของ มดแดง ลง
ไปอีกทีหนึ่ง

                 รถ + เร็ว คือ รถไฟที่เร็วกวาธรรมดาเพราะไมไดหยุดแวะทุก
สถานี

                   น้ํา + แข็ง คือ น้ําชนิดหนึ่งที่แข็งเปนกอนดวยความเย็นจัดตาม
ธรรมชาติ หรือทําขึ้นที่เราใชอยูทุกวันหมายถึงน้ําที่แข็งเปนกอนดวยกรรมวิธีอยาง
หนึ่ง
      ๒. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนกริยา บางทีมีกรรมมารับดวย ไดแก

                 ผา + ไหว คือ ผาสําหรับไหวที่ฝายชายนําไปใหแกญาติผูใหญ
ฝายหญิง เพื่อแสดงความเคารพในเวลาแตงงาน

                 ไม + เทา คือ ไมสาหรับเทาเพื่อยันตัว
                                    ํ
คําวา ราชวัง เปน
                                          คําประสมหรือเปลา



      โตะ + กิน + ขาว คือ โตะสําหรับกินขาว
๓. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนคํานามดวยกันไดแก

        เรือน + ตน + ไม คือ เรือนที่ไวตนไมไมใหโดนแดดมาก
                                          

        เกาอี้ + ดนตรี คือ การเลนชิงเกาอี้มีดนตรีประกอบเปนสัญญาณ

        คน + ไข คือ คนที่เจ็บไขไดปวย อยูในความดูแลของแพทย

        แกง + ไก คือ แกงเผ็ดที่ใสไก ไมใชแกงที่ใสไกทั่วๆ ไป

๔. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนบุรพบท ไดแก

        คน + กลาง คือ คนที่ไมเขาขางฝายใด คนที่ติดตอระหวางผูซื้อกับ

                      ผูขาย

         คน + ใน คือ คนในครอบครัว ในวงการ คนสนิท

         เครื่อง + ใน คือ อวัยวะภายในของสัตว ซึ่งมักใชเปนอาหาร ไดแก

                      ตับ ไต ไส ของหมู วัว ควาย เปนตน

         ฝาย + ใน คือ หญิงที่สังกัดอยูในพระราชฐานชั้นใน เปนเจานาย

                       และ ขาราชการ

          ความ + ใน คือ เรืองสวนตัวซึ่งรูกันในระหวางคนสนิทกัน ๒ –
                           ่
๓ คน




                คน + นอก คือ คนนอกครอบครัว นอกวงการ

                ของ + นอก คือ ของไมแท มักใชหมายถึงทองวิทยาศาสตรที่เรียก

                              ทองนอก

               เมือง + นอก คือ ตางกระเทศ มักหมายถึงยุโรป อเมริกา

               นักเรียน + นอก ก็มักหมายถึงนักเรียนที่เรียนในถิ่นทั้งสองนั้น

                ฝาย + หนา คือ เจานายและขาราชการที่ไมใชฝายใน

                ความ + หลัง คือ เรื่องที่ผานมาแลวของแตละคน

                เบี้ย + ลาง คือ อยูใตอานาจ
                                         ํ

                เบี้ย + บน คือ มีอํานาจเหนือ

      ๕. คําตัวตั้งที่ไมใชคํานาม และคําขยายก็ไมจํากัด

อาจเปนเพราะพูดไมเต็มความ คํานามที่เปนคําตัวตั้งจึงหายไป กลาย

เปนคํากริยาบาง คําวิเศษณบาง เปนตัวตั้ง ไดแก

                ตม + ยํา ตม + สม ตม + ขา เปนชื่อแกงแตละอยาง มีลักษณะ
ตางๆ กัน เดิม นาจะมีคํา แกง อยูดวย เพราะขณะนี้ยังมีอีกมาก ที่พูดแกงตมยํา แกง
ตมสม แกง(ไก)ตมขา
เรียง+เบอร คือ ใบตรวจเลขสลากกินแบงของรัฐบาลที่มีเบอรเรียงๆ

                           กันไป เดิมคงจะมีคํา ใบ อยูดวย

               พิมพ + ดีด คือ เครื่องพิมพดีด

               สาม + ลอ คือ รถสามลอ

               สาม + เกลอ (เครื่องยกตอกกระทุงลง มีที่ถือสําหรับยกสามที่)

               สาม + งาม (ไมหรือเหล็กที่แยกเปนสามงาม อาวุธที่มีปลายแหลม

                            เปนสามแฉก)

ขอควรสังเกตเกี่ยวกับคําประสม

         ๑. คําที่ไมเกิดความหมายใหม จัดเปน วลี หรือกลุมคํา เชน

   ลูกหมาตัวนี้ถูกแมทิ้ง เปนวลี เพราะไมเกิดความหมายใหม

   เจาหนาที่กําลังฉีดยากําจัดลูกน้ํา เปนคําประสม เพราะไมไดหมายถึงลูกของน้ํา
           ๒. มักใชคําตอไปนี้นําหนา เชน ชาง นัก ชาว โรง เครือง ของ
                                                                 ่
ที่ ผู การ ความ น้ํา แม ลูก พอ


                                                        ศึกษาเนื้อหาแลวทํา
                                                        แบบฝกตอเลยนะครับ
แบบฝกกิจกรรม
                               เรื่อง คําประสม


กิจกรรมที่ ๑ บอกคําจํากัดความคําประสมพรอมทั้งยกตัวอยางได
คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามพรอมทั้งยกตัวอยางคําประสมใหถูกตอง




                                   คําประสม
                            หมายถึง................
                            .........................
                            .........................
                            .........................
                            .........................




                                           คําถามงายมาก เพื่อนๆของ
                                           จุกคงทําไดทกคนนะครับ
                                                       ุ
กิจกรรมที่ ๒ บอกรูปลักษณคําประสมไดถูกตอง
คําชี้แจง คําประสมที่กําหนดใหตอไปนี้เกิดจากคําใดประสมกัน

   คําที่                      คําประสม                        เกิดจาก
 ตัวอยาง                       มาหมุน                      นาม + กริยา
     ๑                          แมบาน
    ๒                            มดแดง
    ๓                           ลูกเลี้ยง
    ๔                             กินใจ
    ๕                             ตมยํา
     ๖                        เรือนตนไม
    ๗                            ผาไหว
    ๘                            รถเร็ว
    ๙                           หอหมก
    ๑๐                            สมตํา

        โกะตอบไดทุกขอเลย
                                                พวกเราก็ตอบไดทุกขอ
                                                เหมือนกัน
กิจกรรมที่ ๓ นําคําประสมมาแตงเปนประโยคได
คําชี้แจง ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประสม ๑๐ คํา แลวนําคําประสมนั้นมาแตงเปน
           ประโยค ดังตัวอยางที่กําหนดให

       ตัวอยาง หอหมก = ยายฉันทําหอหมกอรอยมาก

   ลําดับที่       คําประสม                        ประโยค




                 เพื่อนๆมีน้ําใจกับผมมาก
เฉลยแบบฝกกิจกรรม


กิจกรรมที่ ๑
         คําประสม หมายถึง คําที่เกิดจากการนําคํามูลตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกันอาจ
เปนคําไทยแทหรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมายใหมแตยังมีเคาความ
เดิมอยู
         ตัวอยางคําประสม ( คําตอบอยูในดุลยพินิจของผูสอน )

กิจกรรมที่   ๒
      ๑.     นาม + นาม                     ๒. นาม + วิเศษณ
      ๓.     นาม + กริยา                   ๔. กริยา + นาม
      ๕.     กริยา + กริยา                 ๖. นาม + นาม
      ๗.     นาม + กริยา                   ๘. นาม + วิเศษณ
      ๙.     กริยา + กริยา                 ๑๐. นาม + กริยา

กิจกรรมที่ ๓
      ( คําตอบอยูในดุลยพินิจของผูสอน )
บรรณานุกรม

คณาจารยแม็ค . สรุปเขมภาษาไทย ม.๓ . กรุงเทพฯ : ศุภาลัยมีเดีย จํากัด , ๒๕๕๐ .
จิรศักดิ์ กนกอุดม . ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ . กรุงเทพฯ : ประสานมิตรจํากัด ,
           ๒๕๔๘ .
บรรเทา กิตติศักดิ์ . หลักภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย . พิมพครังที่ ๒ .
                                                                   ้
           กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จํากัด , ๒๕๓๖ .
ศึกษาธิการ , กระทรวง . หลักภาษาไทย เลม ๓ . พิมพครั้งที่ ๑๒ . กรุงเทพ ฯ :
           คุรุสภา , ๒๕๔๓ .
เสนีย วิลาวรรณ และ คณะ . หลักภาษาไทย . กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช จํากัด ,
           ๒๕๔๒ .

Contenu connexe

Tendances

แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 

Tendances (20)

แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
M6thai2552
M6thai2552M6thai2552
M6thai2552
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
 
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทยข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
ข้อสอบวัดความรู้วิชาภาษาไทย
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 

Similaire à kumprasom

(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
AdjectivesKrooTa
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o netgoyjokes
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยMmÕEa Meennie
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2Nona Khet
 

Similaire à kumprasom (20)

(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
Adjectives
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
Thai o net
Thai o netThai o net
Thai o net
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
5.thai o-net-m6-49
5.thai o-net-m6-495.thai o-net-m6-49
5.thai o-net-m6-49
 
5.thai o-net-m6-49
5.thai o-net-m6-495.thai o-net-m6-49
5.thai o-net-m6-49
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 

kumprasom

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เรื่อง คําประสม โดย นางสุวดี ไตรรงค ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนหนองงูเหลือมพิทยาคม สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา
  • 2. คํานํา เอกสารประกอบการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง คําประสม ฉบับนี้ เปน เครื่องมือที่จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนวิชาภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปที่ ๓ นักเรียนสามารถฝกทักษะเพิ่มเติมจากเนื้อหา พรอมทั้ง ประเมินผลตนเองไดจากเฉลย โดยเนนใหนักเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง สามารถใช เปนเอกสารประกอบการเรียนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน เอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ตองขอขอบพระคุณ อาจารยสุชีรา ชัชวารุรัตน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนชุมชนวัดรวง ที่กรุณาให คําปรึกษา แนะนํา และเปนกําลังใจ จนทําใหเอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้มี คุณคามากยิ่งขึ้น หวังเปนอยางยิ่งวา คงจะเปนประโยชนตอผูเรียนในการศึกษาหา ความรูในเรื่อง คําประสม กับตนเองหรือกลุมผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพ สุวดี ไตรรงค
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน ๑ สาระสําคัญ ๒ จุดประสงคการเรียนรู ๒ แบบทดสอบกอนเรียน ๓ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน ๕ คําประสม ๖ แบบฝกกิจกรรม ๑๒ เฉลยแบบฝกกิจกรรม ๑๕ แบบทดสอบหลังเรียน ๑๖ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑๘ บรรณานุกรม ๒๐
  • 4. คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหนักเรียนไดศึกษาไดดวย ตนเอง โดยนักเรียนจะไดประโยชนจากบทเรียนตามจุดประสงคที่ตั้งไว ดวยการ ปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้ ๑. นักเรียนอานจุดประสงคการเรียนรูกอนลงมือศึกษาเอกสารประกอบ  การเรียน ๒. ทําแบบทดสอบกอนเรียนแลวบันทึกคะแนนไว ๓. ศึกษาบทเรียนตามลําดับโดยไมตองรีบรอน เมื่อเขาใจแลวใหทําแบบฝก กิจกรรมหรือตอบคําถามทุกขอ ๔. เมื่อทํากิจกรรมเสริมความรูแลว ใหนักเรียนตรวจดูเฉลยหนาถัดไป ถา ตอบผิดใหกลับไปศึกษาบทเรียนและตอบคําถามอีกครั้ง เมื่อตอบถูกตอง แลวจึงศึกษาเรื่องตอไป ๕. นักเรียนตองไมดูเฉลยกอนทํากิจกรรมเสริมความรู หรือแบบทดสอบ กอนเรียน – หลังเรียน ตองมีความซื่อสัตยตอตนเอง ๖. นักเรียนตองศึกษาบทเรียนนี้ดวยตนเอง ถามีปญหาหรือขอสงสัยให ปรึกษาผูสอนทันที ๗. ใหนกเรียนเขียนคําตอบลงบนกระดาษคําตอบ และหามขีดเขียนขอความ ั ใดๆลงในบทเรียนนี้ ๘. เมื่อศึกษาจบแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคําตอบ จากเฉลย แลวนําผลคะแนนที่ไดไปเปรียบเทียบกับคะแนนครั้งกอน ๙. สงคืนเอกสารประกอบการเรียนตามกําหนดเวลาและตองรักษาใหอยูใน สภาพดีและไมสูญหาย
  • 5. สาระสําคัญ คําประสม คือ คําที่เกิดจากการนําคํามูล ตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกันอาจเปนคําไทยแท หรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมาย ใหมแตยังมีเคาความเดิมอยู จุดประสงคการเรียนรู ๑. บอกคําจํากัดความของคําประสมพรอมทั้ง ยกตัวอยางได ๒. บอกรูปลักษณของคําประสมได ๓. นําคําประสมมาแตงประโยคได
  • 6. สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้จุกจะมาชวนเพื่อนๆได ศึกษาเรือง “ คําประสม ” ลองศึกษาเนื้อหากอน ่ นะครับจะทําใหเขาใจเรื่องคําประสมยิ่งขึ้น
  • 7. คําประสม คือ คําที่เกิดจากการนําคํามูลตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกัน อาจเปนคําไทยแทหรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมายใหมแตยังมีเคา ความเดิมอยู เชน + = รถไฟ ประเภทของคําประสม ๑. คําที่นํามาประสมกันนํามาจากภาษาใดก็ได เชน - คําประสมที่เปนคําไทยกับคําไทย เชน แม + บาน = แมบาน พอ + ตา = พอตา โรง + เรียน = โรงเรียน - คําประสมที่เปนคําไทยกับบาลี เชน ราช + วัง = ราชวัง พล + เรือน = พลเรือน รถ + ไฟ = รถไฟ - คําประสมระหวางภาษาบาลี สันสกฤตหรือคําที่มาจากภาษาอื่น เชน กิจ + ธุระ = กิจธุระ วงศ + ญาติ = วงศญาติ น้ํา + ซุป = น้ําซุป ๒. ชนิดของคํามูลที่นํามาผสมกัน อาจเปนนาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ บุพบท - คําประสมที่มีคํานามเปนตัวตั้ง เชน พอตา ปากจัด คนใช
  • 8. น้ําหวาน คนนอก ภาคใต - คําประสมที่มีคํากริยาเปนตัวตั้ง เชน ยิงปน เชื่อใจ หอหมก จับ จอง อวดดี - คําประสมที่มีคําวิเศษณเปนตัวตั้ง เชน หลายใจ นารัก หวานเย็น - คําประสมที่มีคําบุพบทเปนตัวตั้ง เชน ใตเทา ทีนอน ใตดิน ่ ลักษณะคําประสม คําประสมที่สรางมีลักษณะตางๆ ตามการใช แยกไดเปน ที่ใชเปน คํานาม คํากริยา และคําวิเศษณ คําประสมที่ใชเปนคํานาม สวนมากคําตัวตั้งเปน คํานาม ที่เปนคําอื่นก็มีบาง คําประสมประเภทนี้ใชเปนชื่อสิ่งตางๆ ที่มีความหมาย จํากัดจําเพาะพอเอยชื่อขึ้นยอมเปนที่รับรูวาเปนชื่อของอะไรหากคํานั้นเปนที่ยอมรับ ใชกันทั่วไปแลว ๑. คําตัวตั้งเปนนามและคําขยายเปนวิเศษณ ไดแก มด + แดง คือ มดชนิดหนึ่งตัวสีแดง ไมใชมดตัวสีแดงทั่วๆ ไป อาจเติมตอเปน มด + แดง +ไฟ ก็ได เปนการบอกประเภทยอยของ มดแดง ลง ไปอีกทีหนึ่ง รถ + เร็ว คือ รถไฟที่เร็วกวาธรรมดาเพราะไมไดหยุดแวะทุก สถานี น้ํา + แข็ง คือ น้ําชนิดหนึ่งที่แข็งเปนกอนดวยความเย็นจัดตาม ธรรมชาติ หรือทําขึ้นที่เราใชอยูทุกวันหมายถึงน้ําที่แข็งเปนกอนดวยกรรมวิธีอยาง หนึ่ง ๒. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนกริยา บางทีมีกรรมมารับดวย ไดแก ผา + ไหว คือ ผาสําหรับไหวที่ฝายชายนําไปใหแกญาติผูใหญ ฝายหญิง เพื่อแสดงความเคารพในเวลาแตงงาน ไม + เทา คือ ไมสาหรับเทาเพื่อยันตัว ํ
  • 9. คําวา ราชวัง เปน คําประสมหรือเปลา โตะ + กิน + ขาว คือ โตะสําหรับกินขาว ๓. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนคํานามดวยกันไดแก เรือน + ตน + ไม คือ เรือนที่ไวตนไมไมใหโดนแดดมาก  เกาอี้ + ดนตรี คือ การเลนชิงเกาอี้มีดนตรีประกอบเปนสัญญาณ คน + ไข คือ คนที่เจ็บไขไดปวย อยูในความดูแลของแพทย แกง + ไก คือ แกงเผ็ดที่ใสไก ไมใชแกงที่ใสไกทั่วๆ ไป ๔. คําตัวตั้งเปนคํานาม คําขยายเปนบุรพบท ไดแก คน + กลาง คือ คนที่ไมเขาขางฝายใด คนที่ติดตอระหวางผูซื้อกับ ผูขาย คน + ใน คือ คนในครอบครัว ในวงการ คนสนิท เครื่อง + ใน คือ อวัยวะภายในของสัตว ซึ่งมักใชเปนอาหาร ไดแก ตับ ไต ไส ของหมู วัว ควาย เปนตน ฝาย + ใน คือ หญิงที่สังกัดอยูในพระราชฐานชั้นใน เปนเจานาย และ ขาราชการ ความ + ใน คือ เรืองสวนตัวซึ่งรูกันในระหวางคนสนิทกัน ๒ – ่
  • 10. ๓ คน คน + นอก คือ คนนอกครอบครัว นอกวงการ ของ + นอก คือ ของไมแท มักใชหมายถึงทองวิทยาศาสตรที่เรียก ทองนอก เมือง + นอก คือ ตางกระเทศ มักหมายถึงยุโรป อเมริกา นักเรียน + นอก ก็มักหมายถึงนักเรียนที่เรียนในถิ่นทั้งสองนั้น ฝาย + หนา คือ เจานายและขาราชการที่ไมใชฝายใน ความ + หลัง คือ เรื่องที่ผานมาแลวของแตละคน เบี้ย + ลาง คือ อยูใตอานาจ ํ เบี้ย + บน คือ มีอํานาจเหนือ ๕. คําตัวตั้งที่ไมใชคํานาม และคําขยายก็ไมจํากัด อาจเปนเพราะพูดไมเต็มความ คํานามที่เปนคําตัวตั้งจึงหายไป กลาย เปนคํากริยาบาง คําวิเศษณบาง เปนตัวตั้ง ไดแก ตม + ยํา ตม + สม ตม + ขา เปนชื่อแกงแตละอยาง มีลักษณะ ตางๆ กัน เดิม นาจะมีคํา แกง อยูดวย เพราะขณะนี้ยังมีอีกมาก ที่พูดแกงตมยํา แกง ตมสม แกง(ไก)ตมขา
  • 11. เรียง+เบอร คือ ใบตรวจเลขสลากกินแบงของรัฐบาลที่มีเบอรเรียงๆ กันไป เดิมคงจะมีคํา ใบ อยูดวย พิมพ + ดีด คือ เครื่องพิมพดีด สาม + ลอ คือ รถสามลอ สาม + เกลอ (เครื่องยกตอกกระทุงลง มีที่ถือสําหรับยกสามที่) สาม + งาม (ไมหรือเหล็กที่แยกเปนสามงาม อาวุธที่มีปลายแหลม เปนสามแฉก) ขอควรสังเกตเกี่ยวกับคําประสม ๑. คําที่ไมเกิดความหมายใหม จัดเปน วลี หรือกลุมคํา เชน ลูกหมาตัวนี้ถูกแมทิ้ง เปนวลี เพราะไมเกิดความหมายใหม เจาหนาที่กําลังฉีดยากําจัดลูกน้ํา เปนคําประสม เพราะไมไดหมายถึงลูกของน้ํา ๒. มักใชคําตอไปนี้นําหนา เชน ชาง นัก ชาว โรง เครือง ของ ่ ที่ ผู การ ความ น้ํา แม ลูก พอ ศึกษาเนื้อหาแลวทํา แบบฝกตอเลยนะครับ
  • 12. แบบฝกกิจกรรม เรื่อง คําประสม กิจกรรมที่ ๑ บอกคําจํากัดความคําประสมพรอมทั้งยกตัวอยางได คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามพรอมทั้งยกตัวอยางคําประสมใหถูกตอง คําประสม หมายถึง................ ......................... ......................... ......................... ......................... คําถามงายมาก เพื่อนๆของ จุกคงทําไดทกคนนะครับ ุ
  • 13. กิจกรรมที่ ๒ บอกรูปลักษณคําประสมไดถูกตอง คําชี้แจง คําประสมที่กําหนดใหตอไปนี้เกิดจากคําใดประสมกัน คําที่ คําประสม เกิดจาก ตัวอยาง มาหมุน นาม + กริยา ๑ แมบาน ๒ มดแดง ๓ ลูกเลี้ยง ๔ กินใจ ๕ ตมยํา ๖ เรือนตนไม ๗ ผาไหว ๘ รถเร็ว ๙ หอหมก ๑๐ สมตํา โกะตอบไดทุกขอเลย พวกเราก็ตอบไดทุกขอ เหมือนกัน
  • 14. กิจกรรมที่ ๓ นําคําประสมมาแตงเปนประโยคได คําชี้แจง ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประสม ๑๐ คํา แลวนําคําประสมนั้นมาแตงเปน ประโยค ดังตัวอยางที่กําหนดให ตัวอยาง หอหมก = ยายฉันทําหอหมกอรอยมาก ลําดับที่ คําประสม ประโยค เพื่อนๆมีน้ําใจกับผมมาก
  • 15. เฉลยแบบฝกกิจกรรม กิจกรรมที่ ๑ คําประสม หมายถึง คําที่เกิดจากการนําคํามูลตั้งแต ๒ คําขึ้นไปมารวมกันอาจ เปนคําไทยแทหรือคําที่มาจากภาษอื่นก็ได แลวเกิดความหมายใหมแตยังมีเคาความ เดิมอยู ตัวอยางคําประสม ( คําตอบอยูในดุลยพินิจของผูสอน ) กิจกรรมที่ ๒ ๑. นาม + นาม ๒. นาม + วิเศษณ ๓. นาม + กริยา ๔. กริยา + นาม ๕. กริยา + กริยา ๖. นาม + นาม ๗. นาม + กริยา ๘. นาม + วิเศษณ ๙. กริยา + กริยา ๑๐. นาม + กริยา กิจกรรมที่ ๓ ( คําตอบอยูในดุลยพินิจของผูสอน )
  • 16. บรรณานุกรม คณาจารยแม็ค . สรุปเขมภาษาไทย ม.๓ . กรุงเทพฯ : ศุภาลัยมีเดีย จํากัด , ๒๕๕๐ . จิรศักดิ์ กนกอุดม . ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ . กรุงเทพฯ : ประสานมิตรจํากัด , ๒๕๔๘ . บรรเทา กิตติศักดิ์ . หลักภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย . พิมพครังที่ ๒ . ้ กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จํากัด , ๒๕๓๖ . ศึกษาธิการ , กระทรวง . หลักภาษาไทย เลม ๓ . พิมพครั้งที่ ๑๒ . กรุงเทพ ฯ : คุรุสภา , ๒๕๔๓ . เสนีย วิลาวรรณ และ คณะ . หลักภาษาไทย . กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช จํากัด , ๒๕๔๒ .