SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
1

แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน วัฒนธรรมประเทศอาเซียน

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3
2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39

2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43

คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้

ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วัฒนธรรมประเทศอาเซียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Culture of AEC
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3
2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในอนาคตประเทศไทยของเราจะก้าวสู่ประชาคมอาเซียน จึงจาเป็นที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อม
ให้กับนักเรียนตลอดจนประชาชนชาวไทย เพื่อที่เราจะได้มีความเข้าใจวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ คณะผู้จัดได้เลือก
นาเสนอวัฒนธรรมของแต่ละประเทศเพราะวัฒนธรรมสามารถบ่งบอกถึงความเป็นมา บ่งบอกรากฐานของแต่ละ
ประเทศได้เป็นอย่างดี
ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงได้เลือกนาเสนอวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน นอกจากนี้เรายัง
ได้เพิ่มวัฒนธรรมของประเทศจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีอีกด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทาโครงงาน
2. เพื่อศึกษาวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาวัฒนธรรมและสังคมของกลุ่มประเทศอาเซียน อันได้แก่
1.บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
2.ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
(The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR)
5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
6.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
3

7.สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
8.ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
9.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam)
10.สหภาพพม่า (Union of Myanmar)
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
วัฒนธรรมอาเซียน 10 ประเทศ
1. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศกัมพูชา
* ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่งกาย
และท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี
พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ เป็นระบาที่กาเนิดขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดที่กากับโดย Marchel Camus
ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า L"Oiseau du Paradis ก็คือ The Bird of Paradise
* เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของ
กัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการแสดงความสานึกในพระคุณของ แม่น้าที่นาความอุดมสมบูรณ์ มาให้
โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ การ แสดงขบวนเรือประดับไฟ เและขบวนพาเหรด บริเวณทะเลสาบ
"โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่า 15 ค่า จนถึงแรม 1 ค่า เดือน
พฤศจิกายน
3. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศบรูไน
บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกาย ที่
คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น
สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว เสื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง
กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ การทักทาย จะจับ
มือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ ยื่นมือให้บุรุษจับ การชี้นิ้วไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และ
จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชาย และไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาะคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังการสั่งอาหาร ที่
เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทานเนื้อหมู และถือ
เป็นกฏที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดในการห้ามดื่มสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไนช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มี
วัฒนธรรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกรณีที่เป็น ร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพิ่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว
3. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์
*อาติหาน (Ati - Atihan)
จัดขึ้นเพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะ แห่งหนึ่งใน
ฟิลิปปินส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบ *เทศกาลอาติชนเผ่า เอตาส แล้วออกมารา
รื่นเริงบนท้องถนนในเมือง
คาลิบู (Kalibu)
* เทศกาลซินูล็อก (Sinulog)
งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปีเป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย
(Santo Nino)โดยจะจัดแสดงดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเมือง เซบู (Cebu)
4

* เทศกาลดินาญัง (Dinayang)
งานนี้จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะ จัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4
ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย (Iloilo)
4. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า
เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีการผสานวัฒนธรรมเหล่านี้เข้ากับวัฒนธรรมของ
ตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณีสาคัญ เช่น
* ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long) หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และ
ชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
* งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่
สนุกสนาน และได้ทาบุญสร้างกุศลด้วย
5. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม
ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนและฝรั่งเศส เวียดนามมีเทศกาลที่สาคัญ ได้แก่
* เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี
ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สาคัญที่สุดดขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์เป็นการเฉลิมฉลอง
ความเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
* เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ยะโก๋
ญวนหรือบันตรังทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อ
พระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสาหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดูดวงจันทร์ ขบวนของโคมไฟและ
โคมไฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สาหรับความเจริญรุ่งเรือง; ในช่วงเทศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวง
จันทร์ (Banh Trung พฤ.) เพื่อเพื่อนและครอบครัว ในเวลากลางคืนเด็กจะเดินขบวนในถนนร้องเพลงในขณะที่ส่ง
มอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟ เหล่านี้จีนมีเทียนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน
6. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม
มีชนพื้นเมืองหลายชาติพันธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทาให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป
* วายัง กูลิต (Wayang Kilit) เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของอินโดนีเซีย และถือเป็นศิลปะ
การ แสดงที่งดงามและวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอื่น เพราะรวมศิลปะหลายด้านไว้ด้วยกัน โดยฉบับดั้งเดิมใช้หุ่นเชิดที่
ทาด้วย หนังสัตว์นิยมใช้วงดนตรีพื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง
* ระบาบารอง (Barong Dance) ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหล มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัว
ละคร โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการต่อสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่าย
ความดี กับรังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด
* ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่
ต้องการ ให้ติดสี และใช้วิธีการแต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งกายของ
หนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุม ศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพัน
รอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า “ปาเต๊ะ” คือส่วนที่ต้องนุ่ง ให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ในผ้า
ผืนเดียวกันนั่นเอง
5

7. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์
สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติหลากหลายศาสนา ทาให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรรมที่หลาก
หลาย สาหรับเทศกาลที่สาคัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น
* เทศกาลตรุษจีน เทศกาลปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์
* เทศกาล Good Friday จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการสละชีวิตของพระเยซูบนไม้กางเขนของชาวคริตส์ใน
เดือนเมษายน
* เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธ
ในเดือนพฤษภาคม
* เทศกาล Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ
รอมฏอนในเดือนตุลาคม
* เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน
8.ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย
ด้วยเหตุที่มีหลายชนชาติอยู่รวมกันทาให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลายผสมผสานกัน ซึ่งมี
ทั้งการผสานวัฒนธรรมจากชนชาติอื่น และการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มในแต่ละพื้นที่
* การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็นการ
ฟ้อนราที่ได้รับอิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิงชายจานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบ
อาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว
* เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน
พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทา
เกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองด้วย
9. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของลาว
วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสานของไทยมาก
* ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลา และมีราวงบัดสลบ
(Budsiob) ซึ่งเป็นการเต้นที่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการร่วมสนุกกันของ
ชาวลาวใน งานมงคลต่างๆ
* การตักบาตรข้าวเหนียว
ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว
เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า “ถวายจังหัน” โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่า
และผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สาหรับเป็นผ้ากราบพระเหมือนกัน
10. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย
ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มีเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และ
ผูกพัน อยู่กับพระพุทธศาสนา
* การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นการแสดงถึงความมี สัมมา
คารวะและให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมีความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือ กล่าวลา
ด้วย
6

* โขน เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสาคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง พระ และ
เทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่าราและท่าทางประกอบทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่อง ที่นิยม
แสดงคือ รามเกียรติ์
* สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้า
ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น
สาดน้าเพื่อความสนุกสนานด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต แล้วรวบรวมเป็นบล็อก
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
0 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
1
2
3
4
5
6
7
8

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่
1

คิดหัวข้อโครงงาน
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
จัดทาโครงร่างงาน
ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
ปรับปรุงทดสอบ
การทาเอกสารรายงาน
ประเมินผลงาน
นาเสนอโครงงาน

2

3

4

5

6

7

8

/
/
/
/
/
/
/
/

9

1
0

ผู้รับผิดชอบ
1
1

12

1
3

1
4

1
5

16

17

ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
ผู้จัดทา
7

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมในอาเซียน 10 ประเทศ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สังคมศึกษาและวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
2556.วัฒนธรรมประเทศอาเซียน.(ออนไลน์). แหล่งทีมา :
่
http://www.ceted.org/tutorceted/index.html. 25 พฤศจิกายน 2556.

Contenu connexe

Similaire à Projectm6 x

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Yukari Samana
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
Phichittra18
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟน
Chatika Ruankaew
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
apiromrut
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
Tor Jt
 
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdfพิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
WarongWonglangka
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
pentanino
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
Jar 'zzJuratip
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
Siriluk Singka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Pang' Infinity
 

Similaire à Projectm6 x (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟน
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdfพิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
พิพิธภัณฑ์งานหัตถกรรม จักรสาน ผ้า และเครื.pdf
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
เอกสารประกอบการเรียน เล่ม 3-สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์เผยแพร่
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
ชาวม้งผู้สร้างสรรค์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Projectm6 x

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน วัฒนธรรมประเทศอาเซียน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3 2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วัฒนธรรมประเทศอาเซียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Culture of AEC ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. วิลาสินี คาจันทร์ เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 3 2. ศิริพักตร์ มั่นคง เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในอนาคตประเทศไทยของเราจะก้าวสู่ประชาคมอาเซียน จึงจาเป็นที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อม ให้กับนักเรียนตลอดจนประชาชนชาวไทย เพื่อที่เราจะได้มีความเข้าใจวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ คณะผู้จัดได้เลือก นาเสนอวัฒนธรรมของแต่ละประเทศเพราะวัฒนธรรมสามารถบ่งบอกถึงความเป็นมา บ่งบอกรากฐานของแต่ละ ประเทศได้เป็นอย่างดี ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาจึงได้เลือกนาเสนอวัฒนธรรมของแต่ละประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน นอกจากนี้เรายัง ได้เพิ่มวัฒนธรรมของประเทศจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีอีกด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทาโครงงาน 2. เพื่อศึกษาวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาวัฒนธรรมและสังคมของกลุ่มประเทศอาเซียน อันได้แก่ 1.บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 2.ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) 3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) 4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR) 5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) 6.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
  • 3. 3 7.สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore) 8.ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) 9.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) 10.สหภาพพม่า (Union of Myanmar) หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) วัฒนธรรมอาเซียน 10 ประเทศ 1. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศกัมพูชา * ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอดแบบการ แต่งกาย และท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แรก คือ เจ้าหญิงบุพผาเทวี พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ เป็นระบาที่กาเนิดขึ้นเพื่อ เข้าฉากภาพยนตร์เกี่ยวกับนครวัดที่กากับโดย Marchel Camus ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า L"Oiseau du Paradis ก็คือ The Bird of Paradise * เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของ กัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการแสดงความสานึกในพระคุณของ แม่น้าที่นาความอุดมสมบูรณ์ มาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ การ แสดงขบวนเรือประดับไฟ เและขบวนพาเหรด บริเวณทะเลสาบ "โตนเลสาบ" ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่า 15 ค่า จนถึงแรม 1 ค่า เดือน พฤศจิกายน 3. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศบรูไน บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการแต่งกาย ที่ คล้ายคลึงกัน รวมทั้งยังมีวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่น สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว เสื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ การทักทาย จะจับ มือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ ยื่นมือให้บุรุษจับ การชี้นิ้วไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และ จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชาย และไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาะคู่เจรจาที่เป็นชาวมุสลิมควรระมัดระวังการสั่งอาหาร ที่ เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทานเนื้อหมู และถือ เป็นกฏที่ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดในการห้ามดื่มสุรา อาจขอให้ คู่เจรจาชาวบรูไนช่วยเลือกร้านอาหาร ทั้งนี้บรูไนไม่มี วัฒนธรรมการให้ทิปในร้านอาหาร ในกรณีที่เป็น ร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพิ่มร้อยละ 10 อยู่แล้ว 3. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์ *อาติหาน (Ati - Atihan) จัดขึ้นเพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะ แห่งหนึ่งใน ฟิลิปปินส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบ *เทศกาลอาติชนเผ่า เอตาส แล้วออกมารา รื่นเริงบนท้องถนนในเมือง คาลิบู (Kalibu) * เทศกาลซินูล็อก (Sinulog) งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปีเป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino)โดยจะจัดแสดงดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเมือง เซบู (Cebu)
  • 4. 4 * เทศกาลดินาญัง (Dinayang) งานนี้จัดขึ้นเพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะ จัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมือง อิโลอิโย (Iloilo) 4. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของพม่า เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากจีน อินเดีย และไทยมานาน จึงมีการผสานวัฒนธรรมเหล่านี้เข้ากับวัฒนธรรมของ ตนจนเป็นเอกลักษณ์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา จึงเกิดประเพณีสาคัญ เช่น * ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long) หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน และ ชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว * งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี ซึ่งแต่ละที่มักนิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิมฉลองที่ สนุกสนาน และได้ทาบุญสร้างกุศลด้วย 5. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะได้รับอิทธิพลจากจีนและฝรั่งเศส เวียดนามมีเทศกาลที่สาคัญ ได้แก่ * เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาที่สาคัญที่สุดดขึ้นในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์เป็นการเฉลิมฉลอง ความเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย * เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ยะโก๋ ญวนหรือบันตรังทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อแสดงความเคารพต่อ พระจันทร์ จะมีการเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสาหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาที่ดูดวงจันทร์ ขบวนของโคมไฟและ โคมไฟ ดวงจันทร์จะถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สาหรับความเจริญรุ่งเรือง; ในช่วงเทศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของดวง จันทร์ (Banh Trung พฤ.) เพื่อเพื่อนและครอบครัว ในเวลากลางคืนเด็กจะเดินขบวนในถนนร้องเพลงในขณะที่ส่ง มอบโคมไฟจีนสีในมือ โคมไฟ เหล่านี้จีนมีเทียนที่ส่องสว่างสวยงามตามท้องถนน 6. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม มีชนพื้นเมืองหลายชาติพันธุ์กระจายกันอยู่ตามเกาะ ทาให้วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องที่แตกต่างกันไป * วายัง กูลิต (Wayang Kilit) เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของอินโดนีเซีย และถือเป็นศิลปะ การ แสดงที่งดงามและวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอื่น เพราะรวมศิลปะหลายด้านไว้ด้วยกัน โดยฉบับดั้งเดิมใช้หุ่นเชิดที่ ทาด้วย หนังสัตว์นิยมใช้วงดนตรีพื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง * ระบาบารอง (Barong Dance) ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหล มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัว ละคร โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการต่อสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่าย ความดี กับรังดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด * ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียที่มีวิธีการทาโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ ต้องการ ให้ติดสี และใช้วิธีการแต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกนิยมใช้เป็นเครื่องแต่งกายของ หนุ่มสาว โดยใช้เป็นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุม ศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าที่ใช้นุ่งโดยการพัน รอบตัว ซึ่งส่วนที่เรียกว่า “ปาเต๊ะ” คือส่วนที่ต้องนุ่ง ให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสันต่างไปจากส่วนอื่นๆ ในผ้า ผืนเดียวกันนั่นเอง
  • 5. 5 7. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติหลากหลายศาสนา ทาให้ประเทศนี้มีศิลปวัฒนธรรมที่หลาก หลาย สาหรับเทศกาลที่สาคัญของสิงคโปร์ก็จะเป็นเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาเช่น * เทศกาลตรุษจีน เทศกาลปีใหม่ของชาวจีนที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ * เทศกาล Good Friday จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการสละชีวิตของพระเยซูบนไม้กางเขนของชาวคริตส์ใน เดือนเมษายน * เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธ ในเดือนพฤษภาคม * เทศกาล Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือ รอมฏอนในเดือนตุลาคม * เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน พฤศจิกายน 8.ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย ด้วยเหตุที่มีหลายชนชาติอยู่รวมกันทาให้ดินแดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่แตกต่างหลากหลายผสมผสานกัน ซึ่งมี ทั้งการผสานวัฒนธรรมจากชนชาติอื่น และการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชนแต่ละกลุ่มในแต่ละพื้นที่ * การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็นการ ฟ้อนราที่ได้รับอิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิงชายจานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์ แบบ อาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้าไปเร็ว * เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อในการ ทา เกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิมฉลองด้วย 9. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของลาว วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสานของไทยมาก * ด้านดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ โดยมี วงดนตรีคือ วงหมอลา และมีราวงบัดสลบ (Budsiob) ซึ่งเป็นการเต้นที่มีท่าตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็นระเบียบถือเป็นการร่วมสนุกกันของ ชาวลาวใน งานมงคลต่างๆ * การตักบาตรข้าวเหนียว ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วัด เรียกว่า “ถวายจังหัน” โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่า และผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชายนุ่งกางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สาหรับเป็นผ้ากราบพระเหมือนกัน 10. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รับอิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะวันตก แต่มีเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม ประณีต และ ผูกพัน อยู่กับพระพุทธศาสนา * การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นการแสดงถึงความมี สัมมา คารวะและให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมีความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ หรือ กล่าวลา ด้วย
  • 6. 6 * โขน เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสาคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง พระ และ เทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่าราและท่าทางประกอบทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์และบทเจรจาส่วนเรื่อง ที่นิยม แสดงคือ รามเกียรติ์ * สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมีการ รดน้า ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้าเพื่อความสนุกสนานด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต แล้วรวบรวมเป็นบล็อก เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อินเทอร์เน็ต งบประมาณ 0 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ขั้นตอน สัปดาห์ที่ 1 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล จัดทาโครงร่างงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรับปรุงทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงาน นาเสนอโครงงาน 2 3 4 5 6 7 8 / / / / / / / / 9 1 0 ผู้รับผิดชอบ 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา ผู้จัดทา
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ศึกษาและผู้ที่สนใจ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมในอาเซียน 10 ประเทศ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สังคมศึกษาและวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 2556.วัฒนธรรมประเทศอาเซียน.(ออนไลน์). แหล่งทีมา : ่ http://www.ceted.org/tutorceted/index.html. 25 พฤศจิกายน 2556.