SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Télécharger pour lire hors ligne
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
2 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล 
ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater 
ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม 
ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน 
ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน 
2. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ 
ก. คล้ายปีกผีเสื้อ 
ข. คล้ายเมล็ดถั่ว 
ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก 
ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 
3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 
ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม 
ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล 
ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส 
ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม 
4. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร 
ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย 
ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 
5. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด 
ก. อัณฑะ 
ข. ท่อนาอสุจิ 
ค. ต่อมลูกหมาก 
ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
3 
6. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย 
ก. กลางซีรีบรัม 
ข. กลางซีรีเบลลัม 
ค. กลางทาลามัส 
ง. กลางไฮโพทาลามัส 
7. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด 
ก. เซโรโทนิน 
ข. เมลาโทนิน 
ค. เมลาโนไซด์ 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ 
ก. Malatonin 
ข. Testosterone 
ค. Progesterone ง. Gonadotrophin 
9. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร 
ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ 
ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน 
ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง 
ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าสีผิวจางลง 
10. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด 
ก. HCG 
ข. estrogen 
ค. progesterone 
ง. ถูกทุกข้อ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
4 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ค 
2 
ง 
3 
ง 
4 
ก 
5 
ง 
6 
ก 
7 
ข 
8 
ก 
9 
ง 
10 
ค 
ยังได้คะแนนน้อยอยู่ไม่เป็นไรนะครับ 
เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุดการสอนกัน ก่อนนะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
5 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เพื่อให้นักเรียนสามารถ 
1.อธิบายลักษณะของต่อมเพศและต่อมไพเนียลได้ 
2.บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากจากต่อม เพศและต่อมไพเนียลได้ 
3.บอกผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจาก ต่อมเพศและต่อมไพเนียลได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
6 
บัตรคาสั่งที่ 6.1 
ลักษณะของต่อมเพศ 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.1 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
7 
บัตรเนื้อหาที่ 6.1 
ลักษณะของต่อมเพศ 
ต่อมเพศในเพศชาย 
ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com450 × 377 
(20 มีนาคม 2555) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมเพศในเพศหญิงและ เพศชาย มีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร ถ้าอยากรู้เชิญทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
8 
บัตรเนื้อหาที่ 6.1 
ลักษณะของต่อมเพศ 
ลักษณะของต่อมเพศ (Gonad) 
ในเพศชายได้แก่อัณฑะและในเพศหญิงได้แก่รังไข่ซึ่งมีหน้าที่สาคัญ 2 อย่างคือ 
1. สร้างเซลล์สืบพันธุ์ 
2. สร้างฮอร์โมน 
อัณฑะ (Testis) เป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สร้างตัวอสุจิ (Spermatozoa) 
หรือ Sperm และทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย (Androgen หรือ Testosterone) 
มีลักษณะเป็นอวัยวะรูปไข่ ขนาดยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร และกว้างประมาณ 2-3 เซนติเมตร หนักประ มาณ 25 กรัม 
อัณฑะมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา ห้อยอยู่นอกร่างกายในถุง ซึ่งเรียกว่าถุงอัณฑะ 
(Scrotum หรือ Scrotal sac) ถุงอัณฑะนี้จะมีผิวหนังย่นๆคลุมอยู่ด้านนอกสุด 
อัณฑะและถุงอัณฑะ จะอยู่ที่ด้านหลัง องคชาต และอยู่ด้านหน้าของทวารหนัก 
อัณฑะจะมีเปลือกหุ้มเป็นพังผืดสีขาวเรียกว่า Tunica albuginea ภายในจะมีพังผืดบางๆ แยกเป็นส่วนย่อยๆประมาณ 200 ถึง 400 ส่วนย่อย ภายในแต่ละส่วนย่อยเหล่านี้จะมีท่อยาว ขนาดเล็ก เป็นที่อยู่ของเซลล์ที่จะกลายเป็นตัวอสุจิ (Germ cells) เรียกว่าท่อ Seminiferous tubules ภายในท่อ Seminiferous tubules นอกจากจะมี Germ cells แล้วยังมีเซลล์อีก ชนิดหนึ่งเรียกว่า Sertoli cell ทาหน้าที่สร้างสารฮอร์โมนชื่อ Inhibin (ฮอร์โมนช่วยทาหน้าที่ กากับการสร้างอสุจิ) และทาหน้าที่คล้ายเซลล์พี่เลี้ยงในการร่วมสร้างตัวอสุจิ 
เซลล์อีกชนิดในอัณฑะเรียกว่า อินเตอร์สติเชียลเซลล์มีความสาคัญคือ เป็นเซลล์ 
ที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย (Androgen หรือ Testosterone) ฮอร์โมนเพศชายที่สร้างมาจาก เซลล์นี้ จะมีปริมาณลดลงตามอายุที่มากขึ้น 
ลักษณะของอัณฑะ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
9 
หน้าที่ของอัณฑะ ได้แก่ 
สร้างตัวอสุจิ (Spermatozoa) สร้างฮอร์โมนเพศชายซึ่งจะทาให้เกิดลักษณะ 
ของเพศชาย 
การสร้างตัวอสุจิ จะมีประสิทธิภาพที่อุณหภูมิประมาณ 35-36 องศาเซลเซียส 
ซึ่งต่ากว่าอุณหภูมิภายในร่างกายปกติประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิปกติในร่างกาย คือ 37 องศาเซลเซียส) ดังนั้น อัณฑะจึงต้องห้อยอยู่นอกร่างกายภายในถุงอัณฑะ เพื่อให้ อุณหภูมิต่ากว่าร่างกายปกติ 
ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างระบบสืบพันธุ์ในเพศชาย ที่มา : http:// watchawan.blogspot.com 216 × 168 (20 มีนาคม 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
10 
รังไข่ มี 2 อัน ซึ่งจะอยู่คนละข้างของมดลูกจะมีลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วง หิมพานต์ยาวประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร หนา 1 เซนติเมตร เชื่อมติดกับท่อนาไข่ หรือ ปีกมดลูก เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ ทั้งสองข้างกับมดลูก ทาหน้าที่เป็นทางผ่าน ของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูกและ เป็นบริเวณที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ ท่อนาไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร ภาพแสดงลักษณะรังไข่ในเพศหญิง ที่มา : http:// pakonp.blogspot.com 310 × 249 (20 มีนาคม 2554) หน้าที่ของรังไข่ 1. สร้างไข่สุกเดือนละ1 เซลล์ โดยมีการตกไข่ (Ovulation) ทุกๆ 28 วัน โดยเริ่มจากรังไข่ซ้ายก่อนแล้วสลับด้วยรังไข่ขวา ในเด็กหญิงแรกเกิดมีไข่ในรังไข่ ประมาณ 5 แสนเซลล์ แต่ไข่ที่สุกและสามารถตกไข่ได้ประมาณ 400 เซลล์ เท่านั้น ที่เหลือจะฝ่อไป 2. สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ เอสโทรเจน ควบคุมลักษณะต่างๆ ของเพศหญิง เช่น การตกไข่ สะโพกผาย เสียงแหลม และโปรเจสเตอโรน ทาหน้าที่กระตุ้นมดลูก ให้เตรียมรับไข่ 
ลักษณะของรังไข่
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
11 
บัตรคาถามที่ 6.1 
ลักษณะของต่อมเพศ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ 
ก. คล้ายปีกผีเสื้อ 
ข. คล้ายเมล็ดถั่ว 
ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก 
ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 
2. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร 
ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย 
ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 
3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอวัยวะเพศ 
ก. เจริญเติบโตหลังจากคลอดนับสิบปี 
ข. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน 
ค. ชายบางคนอาจมีเสียงแหลมเล็กเหมือนผู้หญิง 
ง. ในเพศหญิงย่อมมีเฉพาะฮอร์โมนเพศหญิงเท่านั้นควบคุม 
4. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด 
ก. อัณฑะ 
ข. ท่อนาอสุจิ 
ค. ต่อมลูกหมาก 
ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์ 
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของรังไข่ 
ก. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 
ข. เป็นบริเวณที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ 
ค. สร้างตัวอสุจิและผลิตฮอร์โมนเพศหญิง 
ง. เป็นทางผ่านของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูก
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
12 
บัตรเฉลยคาถามที่ 6.1 
ลักษณะของต่อมเพศ 
9vตอ 
1. ง 
2. ก 
3. ง 
4. ง 
5. ค 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ 
เก่งที่สุดเลย
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
13 
บัตรคาสั่งที่ 6.2 
ลักษณะของต่อมไพเนียล 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.2 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
14 
บัตรเนื้อหาที่ 6.2 
ลักษณะของต่อมไพเนียล 
ต่อมไพเนียล 
ที่มา:http:// endocrinesystem409.blogspot.com 
426 × 376 (20 มีนาคม 2554) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมไพเนียล มีลักษณะ อย่างไร ถ้าอยากรู้เชิญทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
15 
บัตรเนื้อหาที่ 6.2 
ลักษณะของต่อมไพเนียล 
ต่อมไพเนียล คือ นาฬิกาชีวภาพที่มีอยู่ในตัวคนเราทุกคน 
ต่อมไพเนียลเป็นต่อมขนาดเล็ก 2 ต่อม อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม 
(Cerebrum) ด้านซ้ายและขวา สร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) ทาหน้าที่ยับยั้ง 
การเจริญเติบโตของต่อมเพศในช่วงก่อนวัยรุ่น และมีผลต่อการเข้าสู่วัยรุ่นว่าจะเร็วหรือช้า 
เป็นต่อมอยู่เหนือสมอง เป็นต่อมที่มีความสาคัญ ตอนกลางวันจะสร้างเซโรโทนิน 
กระตุ้นให้เราลุกตื่นขึ้นทางาน กลางคืนจะสร้าง เมลาโทนิน ทาให้เรารู้สึกง่วงนอน 
อยากพักผ่อน 
ต่อมไพเนียลจะส่งคาสั่งเชื่อมโยงไปยังต่อม และอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย 
อีกทอดหนึ่ง โดยอาศัยเส้นใยประสาท สารสื่อนาประสาท ควบคุมต่อมใต้สมอง 
ซึ่งควบคุมต่อทอดไปยังต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต รังไข่ และอัณฑะอีกด้วย 
องค์ประกอบของต่อมไพเนียล 
ต่อมไพเนียล (Pineal gland) เจริญมาจากเปลือกที่หุ้มมาจาก pia mater 
มี septa แทรกในเนื้อต่อม ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิดคือ 
1. Pinealocytes เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ 
2. Neuroglial cells เป็นเซลล์ขนาดเล็กมีนิวเคลียสติดสีเข้มกว่าเซลล์ 
ชนิดแรก อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนซีรีบรัม ซ้ายและขวา 
ภาพแสดงลักษณะของต่อมไพเนียล ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
16 
บัตรคาถามที่ 6.2 
ลักษณะของต่อมไพเนียล 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย 
ก. กลางซีรีบรัม 
ข. กลางซีรีเบลลัม 
ค. กลางทาลามัส 
ง. กลางไฮโพทาลามัส 
2. ต่อมไพเนียลมีลักษณะสาคัญอย่างไร 
ก. ตอนกลางวันจะสร้างเมลาโทนิน 
ข. ตอนกลางวันจะสร้างเซโรโทนิน 
ค. ตอนกลางคืนจะสร้างเซโรโทนิน 
ง. ตอนกลางคืนจะสร้างเมลาโทนิน และเซโรโทนิน 
3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล 
ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater 
ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม 
ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน 
ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน 
4. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด 
ก. เซโรโทนิน 
ข. เมลาโทนิน 
ค. เมลาโนไซด์ 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
5. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 
ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม 
ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล 
ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส 
ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
17 
บัตรเฉลยคาถามที่ 6.2 
ลักษณะของต่อมไพเนียล 
9vตอ 
1. ก 
2. ข 
3. ค 
4. ข 
5. ง 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ 
เก่งที่สุดเลย
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
18 
บัตรคาสั่งที่ 6.3 
ชนิดของฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.3 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
19 
บัตรเนื้อหาที่ 6.3 
ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
ฮอร์โมนจากต่อมเพศ 
ฮอร์โมนที่ต่อมเพศสร้างเป็นสารพวกสเตอรอยด์ (Steroid hormone) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย (อัณฑะ) 
และฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง (รังไข่) โดยได้รับการกระตุ้นจาก FSH 
และ LH 
ฮอร์โมนจากอัณฑะ 
แหล่งที่ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนในอัณฑะ คือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ 
(Interstitial cell) ฮอร์โมนที่สร้าง คือ แอนโดรเจน (Androgen) ประกอบด้วยฮอร์โมน 
หลายชนิดที่สาคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) มีหน้าที่ควบคุม 
การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย 
(Male secondary characteristic) ให้เด็กชายเข้าสู่วัยหนุ่มแสดงลักษณะเพศชาย 
ให้เด่นชัดขึ้น เช่น 
1. เสียงห้าว 
2. มีลูกกระเดือก 
3. ไหล่กว้าง สะโพกแคบ 
4. กล้ามเนื้อเจริญเติบโตขึ้นและเห็นเด่นชัด 
5. มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ รักแร้ หน้าแข้ง แขน ขา มีหนวดและเครา 
6. ชอบการต่อสู้แข่งขัน และกระตุ้นให้เกิดความสนใจในเพศหญิง 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
สร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมน 
แต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร อยากรู้มาทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
20 
ฮอร์โมนจากรังไข่ 
แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง คือ รังไข่ ฮอร์โมนที่สร้าง ได้แก่ 
1. อีสโทรเจน (Estrogen) สร้างจากฟอลิเคิล (Follicle) มีหน้าที่ 
1.1 กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิลและควบคุมลักษณะที่สอง 
ของการเป็นเพศหญิง (Female secondary characteristic) เช่น เสียงแหลม 
สะโพกผาย มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ รักแร้ อวัยวะเพศและเต้านมใหญ่ขึ้น มดลูกมีขนาด 
ใหญ่ขึ้น รักสวยรักงาม จิตใจอ่อนโยน ไม่ชอบการต่อสู้ 
1.2 กระตุ้นการเจริญของอวัยวะเพศ กระตุ้นมดลูก และท่อนาไข่ 
1.3 กระตุ้นการสร้างน้านม ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่รังไข่และ 
เยื่อบุมดลูก 
1.4 กระตุ้นการหลั่ง LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าเพื่อให้ 
มีการตกไข่ 
1.5 ทางานร่วมกับฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน กระตุ้นให้เกิด 
การหนาตัวของผนังมดลูกด้านในเพื่อเตรียมรับการตั้งครรภ์ 
แผนภาพแสดงการทางานร่วมกันของอีสโทรเจน และ โพรเจสเทอโรน 
ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2554)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
21 
2. โพรเจสเทอโรน (Progesterone) สร้างจากคอร์พัสลูเทียม 
(Corpuslutium) มีหน้าที่ 
2.1 ทาให้เยื่อบุมดลูกพร้อมในการฝังตัวของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว 
2.2 ส่งเสริมการทางานของฮอร์โมนอินซูลิน เพิ่มการสะสมไกลโคเจน 
2.3 ทาให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น 
2.4 ทาให้มูกที่ปากมดลูกเหนียว เข้มขึ้น ป้องกันไม่ให้อสุจิตัวอื่น 
สามารถว่ายมาผสมกับไข่ที่ผสมแล้วได้สะดวก 
2.5 ป้องกันไม่ให้มดลูกหดรัดตัวระหว่างตั้งครรภ์ 
2.6 ทางานร่วมกับอีสโทรเจน โดยอีสโทรเจนจะทาให้มีการเจริญ 
ของท่อน้านม(duct) หลังจากนั้นอีสโทรเจนจะให้โพรเจสเทอโรนร่วมทางานทาให้ 
ท่อน้านมและถุงน้านม(alveoli)เจริญอย่างสมบูรณ์ เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นตึงตัวขึ้น 
(glandular development) แต่ระดับของอีสโทรเจนที่สูงในระหว่างตั้งครรภ์จะยับยั้ง 
การทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้าไม่ให้หลั่งโพรแลกตินด้วย 
ภาพแสดงการกระตุ้นการสร้างน้านมของอีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน 
ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
22 
ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล 
เมลาโทนิน เป็นสารที่สร้างจากต่อมไร้ท่อชื่อ ไพเนียล แกลนด์ 
[Pineal gland] จึงจัดเป็นฮอร์โมนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายของคนสร้างได้เอง 
ปกติเมลาโทนินจะถูกสร้างมากในเวลากลางคืน และน้อยในเวลากลางวัน 
คือ มีวัฏจักรประจาวัน (circadian rhythym) กล่าวคือ เมื่อแสงสว่างส่องผ่านนัยน์ตา 
ในเวลากลางวัน ไพเนียลแกลนด์ จะหยุดผลิตเมลาโทนินทันที ที่ได้รับแสงสว่าง 
แต่จะสร้างสารที่เรียกว่า เซโรโทนิน (serotonin) ซึ่งเป็นสารที่ทาให้ร่างกายมีชีวิตชีวา 
กระฉับกระเฉงขึ้น จึงมีการนา เมลาโทนินไปใช้ในผู้ที่นอนหลับยาก และปรับเวลา 
นอนหลับในการเดินทางไกลข้าม 3-6 โซนเวลาหรือที่เรียกว่า (jet lag) 
ตามปกติ ต่อมไพเนียล ผลิต เมลาโทนิน โดยเฉลี่ยคืนละ 1-3 มิลลิกรัม 
ปริมาณการสร้างเมลาโทนินจะลดลงตามวัย โดยอายุ 5-6 ปี จะมีระดับเมลาโทนินสูงสุด 
และลดลง ในวัยหนุ่มสาว เมื่อถึงวัยกลางคน (40 ปีขึ้นไป) จะลดลงเป็นครึ่งหนึ่งของ 
ระดับเดิม และจะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อเข้าสู่วัยชรา ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ยาตัวนี้เป็นที่ต้องการ 
ของผู้ที่ไม่ประสงค์จะชราก่อนวัย หรือที่เรียกว่า วัยทอง ซึ่งเป็นวัยที่ความกระฉับกระเฉง 
ลดน้อยลง ความเสื่อมโทรมของร่างกายจะเกิดมากขึ้น 
โดยสรุป เมลาโทนิน ในคนมีหน้าที่ดังนี้ 
1. การพัฒนาระบบอวัยวะสืบพันธุ์ มีบางคนเชื่อว่าเมลาโทนิน 
มีผลต่อการสร้างโกนาโดโทรฟิน รีลิสซิ่งฮอร์โมน (GnRH) แม้ว่ายังไม่มีข้อสรุปชัดเจน 
เกี่ยวข้องกับขบวนการหลั่งของเมลาโทนิน แต่มีความเชื่อว่าน่าจะระงับการหลั่ง 
โกนาโดโทฟิน รีลิสซิ่งฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส 
2. ควบคุมการทางานของอวัยวะสืบพันธุ์ โดยจะมีการยับยั้งการหลั่ง 
ฮอร์โมนเพศ เช่น ในช่วงที่มีฤดูหนาวที่มีกลางคืนยาวนาน ผู้หญิงชาวเอสกิโม 
จะไม่มีประจาเดือน และถ้ามีฮอร์โมนนี้มากจะทาให้เป็นหนุ่มสาวช้ากว่าที่ควร 
ในผู้ชายจะมีอัณฑะขนาดเล็กลงได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
23 
3. ส่งเสริมการนอนหลับและกิจกรรมต่างๆ ใช้ในการรักษาผู้ที่มีปัญหา 
การนอนไม่หลับ (sleep disorder) เช่น ผู้ทางานเป็นกะ (shift workers ) หรือ 
ผู้สูงอายุที่นอนไม่หลับ (elderly insomnia) แก้ไขการหลงเวลาจากการเดินทาง 
โดยเครื่องบิน (jet lag) เมื่อไปในประเทศที่เวลาไม่เหมือนกัน เช่น เมื่อเดินทาง 
จากประเทศไทยไปประเทศสหรัฐอเมริกาที่เวลาห่างกันประมาณ 12 ชั่วโมง จะทาให้ 
เวลากลางวันและกลางคืนสลับกัน ซึ่งจะทาให้นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะได้ 
ถ้าได้รับฮอร์โมนเมลาโทนินจะทาให้ปัญหาเหล่านี้หายไปหรือน้อยลง 
4. การรักษาโรคที่เกี่ยวกับอารมณ์ มีงานวิจัยหาความสัมพันธ์ระหว่าง 
เมลาโทนินและภาวะซึมเศร้า พบว่าในประเทศที่มีฤดูหนาวที่ยาวนาน จะมีผู้ที่มีอาการ 
ซึมเศร้ามาก อากาศสลัวๆ ซึ่งเมลาโทนินหลั่งมากขึ้น และเป็นเหตุผลอธิบายว่า 
ทาไมเราจึงรู้สึกสดชื่นในวันที่ท้องฟ้าสดใส มากกว่าในช่วงที่มีอากาศสลัวๆ 
5. ชะลอการชราภาพ มีรายงานกล่าวถึงเมลาโทนินว่าเป็นตัวต้าน 
ออกซิเดชัน (antioxidation) เป็นสารที่ป้องกันไม่ให้เซลล์ในร่างกายถูกทาลาย 
จากสารที่เป็นอนุมูล อิสระ (free radicals) ซึ่งมักจะไปทาปฏิกิริยาเป็นลูกโซ่และ 
ทาลายเซลล์อื่นได้มาก ทาให้เกิดโรคเรื้อรัง เช่น มะเร็ง หลอดเลือดหัวใจขาดเลือด 
ซึ่งถ้ามีสารอนุมูลอิสระที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมมาก จะทาอันตราย 
ต่อเนื้อเยื่อต่างๆ ต่อเยื่อบุผิวเซลล์ ทาให้เซลล์ไม่สามารถแบ่งตัว หรือซ่อมแซม 
ส่วนที่สึกหรอ ทาให้เกิดการชราภาพของเซลล์ เมลาโทนินจะไปจับหรือกาจัด 
อนุมูลอิสระเหล่านี้ได้ดีและปกป้องเซลล์จากการทาลายของไขมันในเยื่อหุ้มเซลล์ได้ 
ภาพแสดงการทางานของต่อมไพเนียล 
ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
24 
เมลาโทนินในสัตว์ 
ในสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่า เช่น ตัวกิ้งก่า 3 ตา ปลาปากกลมบางชนิด 
พบว่าต่อมไพเนียลไม่ได้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แต่มีกลุ่มเซลล์ที่ไวต่อแสง 
คล้ายกับกลุ่มเซลล์รับแสงในชั้นเรตินาของนัยน์ตาคน 
ในสัตว์เลือดเย็นบางชนิด เช่น กบ ฮอร์โมนเมลาโทนิน สามารถเปลี่ยนสีผิว 
ให้จางลงโดยมีผลทาให้รงควัตถุ ที่ผิวหนังรวมตัวกันรอบๆ นิวเคลียส (ทางานตรงข้าม 
กับ MSH จากต่อม ใต้สมองส่วนกลาง และ ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
เพราะจะทาให้สีผิวเข้มขึ้น) 
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ฮอร์โมนเมลาโทนิน จะทาหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโต 
ของอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ให้เติบโตเร็วเกินไป 
ในสัตว์ที่ถูกขังในที่มืด หรือตาบอด พบว่าจะสร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน เพิ่มขึ้น 
สรุปได้ว่าการสร้างเมลาโทนินถูกกระตุ้นโดยความมืดและการหลั่งจะถูกยับยั้ง 
โดยแสงสว่าง นั่นคือเมื่อมีแสงสว่าง ต่อมไพเนียลจะหลั่งเมลาโทนินน้อยลง 
ถ้าไม่มีแสงสว่างจะมีผลให้มีการผลิตเมลาโทนินมากขึ้น 
การหลั่งของเมลาโทนินในรอบประมาณ 24 ชั่วโมง (circadian rhythm) 
ของคนวัยเจริญพันธุ์ ในเวลากลางคืนจะมีการสร้างเมลาโทนินมาก โดยจะเริ่มสร้าง 
ตั้งแต่เวลา 21.00 - 22.00 น. และมีการสร้างมากขึ้นเรื่อยๆจนถึงระดับสูงสุดเวลา 
02.00 - 04.00 น. 
กราฟแสดงการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินน 
ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
25 
บัตรคาถามที่ 6.3 
ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร 
ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ 
ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน 
ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง 
ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าทาให้สีผิวจางลง 
2. ในสัตว์ชนิดใดต่อมไพเนียล ไม่ได้ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แต่ทาหน้าที่อย่างอื่น 
ก. สัตว์ปีก ต่อมทาหน้าที่กะระยะทาง 
ข. สัตว์น้าทาหน้าที่แทนตาในขณะว่ายน้า 
ค. สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า ต่อมทาหน้าที่เป็นลูกตาที่สาม 
ง. สัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ต่อมทาหน้าที่คล้ายเยื่อเรตินา 
3. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด 
ก. HCG 
ข. estrogen 
ค. progesterone 
ง. ถูกทุกข้อ 
4. ในยาคุมกาเนิดมีการใช้ฮอร์โมนประเภทใดผสม 
ก. อิสโทรเจน 
ข. โพรเจสเตอโรน 
ค. เทสโทสเตอโรน 
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 
5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ 
ก. Malatonin 
ข. Testosterone 
ค. Progesterone ง. Gonadotrophin
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
26 
บัตรเฉลยคาถามที่ 6.3 
ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
1.ง 
2.ง 
3.ค 
4.ง 
5.ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
27 
บัตรคาสั่งที่ 6.4 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.4 ใช้เวลา 10 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
28 
บัตรเนื้อหาที่ 6.4 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเพศชาย 
ฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) ซึ่งจะทาหน้าที่หลายอย่าง คือ ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ 
ทาให้อัตราการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศเพิ่มขึ้น กระตุ้นการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเอ็นไซม์ ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนเพศชาย ถ้าเกิดความผิดปกติ 
ในอัณฑะมีผลดังนี้ 
1) ในเด็ก – ถ้าขาดจะทาให้อวัยวะสืบพันธุ์ไม่เจริญ การแสดงลักษณะทาง เพศที่สองผิดปกติ เป็นหนุ่มช้ากว่าปกติ หรืออาจเป็นกระเทย 
2) ในเด็ก – ถ้ามีมากเกินจะทาให้อวัยวะสืบพันธุ์เจริญเร็ว และการแสดง ลักษณะทางเพศที่สองเป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ 
3) ในผู้ใหญ่ – ถ้าขาดจะทาให้เป็นหมัน 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน 
จากต่อมเพศ และต่อมไพเนียล จะเป็นอย่างไร 
อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
29 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเพศหญิง 
ฮอร์โมนเพศหญิง ที่สาคัญคือ อีสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเตอโรน 
(Progesterone) 
ฮอร์โมนอีสโทรเจน จะเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์และ 
ลักษณะต่างๆของความเป็นเพศหญิง ส่วนฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน จะเกี่ยวข้องกับ 
การตั้งครรภ์คือ ระงับไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์ป้องกันไม่ให้มีประจาเดือนระหว่าง 
ตั้งครรภ์ ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูกชั้นในเพื่อรองรับการฝังตัวของไข่ 
ที่ถูกผสม และกระตุ้นต่อมน้านมให้เจริญเติบโต 
ถ้ารังไข่ถูกตัดออกจะทาให้ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนดังกล่าวได้ 
เกิดผลดังต่อไปนี้ 
1) ในเด็ก – อวัยวะสืบพันธุ์ไม่เจริญ การแสดงลักษณะทางเพศที่สองผิดปกติ 
เป็นสาวช้ากว่าปกติ ไม่มีการตกไข่ เป็นประจาเดือนช้า 
2) ในผู้ใหญ่ – ไม่มีประจาเดือน เพราะไม่มีฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน 
จากคอร์ปัสลูเทียมซึ่งเกิดจากการตกไข่ 
ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในช่วงต่างๆของรอบประจาเดือน 
ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
30 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเมลาโทนิน 
การใช้เมลาโทนิน มีผลการทดลองในสัตว์เท่านั้น 
สาหรับในคนแม้ว่าจะมีประโยชน์ระยะสั้นแต่ยังขาดข้อมูลการทดลอง 
ในเรื่องของความปลอดภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะยาว 
ผลข้างเคียงของเมลาโทนิน คือ ถ้าร่างกายได้รับฮอร์โมนเมลาโทนินมาก 
จะทาให้อ่อนเพลีย ความคิดเลอะเลือนในตอนเช้า หลับมากเกินปกติ ฝันร้ายตื่น กลางดึก ปวดศีรษะ ความรู้สึกทางเพศลดลงและซึมเศร้า 
ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนเมลาโทนิน จะทาให้เป็นโรคนอนไม่หลับ 
ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินในร่างกายของคนในวัยต่าง ๆ ที่มา : http//www.novabizz.com 450 × 350 (20 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
31 
บัตรคาถามที่ 6.4 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตัวอักษรหน้าข้อความทางด้านขวามือมาวางลงใน 
ของข้อความทางด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ถ้าขาดมีอาการนอนไม่หลับ ก. อีสโทรเจน 
2. ถ้าขาดทาให้เพศชายเป็นหมัน ข. โพรเจสเทอโรน 
3. เป็นสาวช้ากว่าปกติ ไม่มีประจาเดือน ค. เทสโทสเตอโรน 
4. กระตุ้นต่อมน้านมให้เจริญเติบโต ขณะตั้งครรภ์ ง. เมลาโทนิน 
5. เป็นฮอร์โมนควบคุมลักษณะที่สองของเพศหญิง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
32 
บัตรเฉลยคาถามที่ 6.4 
ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล 
1.ง 
2.ค 
3.ก 
4.ข 
5.ก 
เก่งมาก ๆ 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
33 
แบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ 
ก. คล้ายปีกผีเสื้อ 
ข. คล้ายเมล็ดถั่ว 
ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก 
ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 
2. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร 
ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ 
ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย 
ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 
3. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด 
ก. อัณฑะ 
ข. ท่อนาอสุจิ 
ค. ต่อมลูกหมาก 
ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์ 
4. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย 
ก. กลางซีรีบรัม 
ข. กลางซีรีเบลลัม 
ค. กลางทาลามัส 
ง. กลางไฮโพทาลามัส 
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล 
ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater 
ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม 
ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน 
ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
34 
6. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด 
ก. เซโรโทนิน 
ข. เมลาโทนิน 
ค. เมลาโนไซด์ 
ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 
7. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 
ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม 
ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล 
ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส 
ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม 
8. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร 
ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ 
ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน 
ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง 
ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าสีผิวจางลง 
9. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด 
ง. HCG 
จ. estrogen 
ฉ. progesterone 
ง. ถูกทุกข้อ 
10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ 
ก. Malatonin 
จ. Testosterone 
ฉ. Progesterone ช. Gonadotrophin
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
35 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ง 
2 
ก 
3 
ง 
4 
ก 
5 
ค 
6 
ข 
7 
ง 
8 
ง 
9 
ค 
10 
ก 
เก่งมาก ๆ ครับ ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม 
ศึกษาชุดการสอนต่อไปเลยนะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 
36 
บรรณานุกรม 
เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. 
____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : 
ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. 
ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. 
นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : 
โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. 
ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : 
ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. 
ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: 
เจริญดีการพิมพ์, 2536. 
สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต 
อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. 
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. 
กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. 
สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 
____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. 
____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. 
http:// endocrinesystem409.blogspot.com 426 × 376 (20 มีนาคม 2555) 
http:// watchawan.blogspot.com 216 × 168 (20 มีนาคม 2555) 
http:// pakonp.blogspot.com 310 × 249 (20 มีนาคม 2555) 
http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555) 
http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555) 
http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555) 
http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) 
http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) 
http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) 
http//www.novabizz.com 450 × 350 (20 มีนาคม 2555)

Contenu connexe

Tendances

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 

Tendances (20)

ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 

En vedette

ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชAomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05Prachoom Rangkasikorn
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 

En vedette (20)

ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูก
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 

Similaire à ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล

ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละTeraphat Aroonpairoj
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)AunyapatThanasinborw
 

Similaire à ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล (20)

06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
ใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdfใบความรู้ที่1pdf
ใบความรู้ที่1pdf
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
[ห้อง 343] การเกิดฝาแฝด กลุ่ม 4 (1,8,17,27)
 

ชุดการสอนที่ 6 ต่อมเพศและไพเนียล

  • 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน 2. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ ก. คล้ายปีกผีเสื้อ ข. คล้ายเมล็ดถั่ว ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม 4. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 5. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด ก. อัณฑะ ข. ท่อนาอสุจิ ค. ต่อมลูกหมาก ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์
  • 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 3 6. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย ก. กลางซีรีบรัม ข. กลางซีรีเบลลัม ค. กลางทาลามัส ง. กลางไฮโพทาลามัส 7. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด ก. เซโรโทนิน ข. เมลาโทนิน ค. เมลาโนไซด์ ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ ก. Malatonin ข. Testosterone ค. Progesterone ง. Gonadotrophin 9. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าสีผิวจางลง 10. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด ก. HCG ข. estrogen ค. progesterone ง. ถูกทุกข้อ
  • 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ค 2 ง 3 ง 4 ก 5 ง 6 ก 7 ข 8 ก 9 ง 10 ค ยังได้คะแนนน้อยอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุดการสอนกัน ก่อนนะครับ
  • 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1.อธิบายลักษณะของต่อมเพศและต่อมไพเนียลได้ 2.บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากจากต่อม เพศและต่อมไพเนียลได้ 3.บอกผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจาก ต่อมเพศและต่อมไพเนียลได้
  • 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 6 บัตรคาสั่งที่ 6.1 ลักษณะของต่อมเพศ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.1 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 7 บัตรเนื้อหาที่ 6.1 ลักษณะของต่อมเพศ ต่อมเพศในเพศชาย ที่มา : http:// www.myfirstbrain.com450 × 377 (20 มีนาคม 2555) พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมเพศในเพศหญิงและ เพศชาย มีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร ถ้าอยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  • 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 8 บัตรเนื้อหาที่ 6.1 ลักษณะของต่อมเพศ ลักษณะของต่อมเพศ (Gonad) ในเพศชายได้แก่อัณฑะและในเพศหญิงได้แก่รังไข่ซึ่งมีหน้าที่สาคัญ 2 อย่างคือ 1. สร้างเซลล์สืบพันธุ์ 2. สร้างฮอร์โมน อัณฑะ (Testis) เป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สร้างตัวอสุจิ (Spermatozoa) หรือ Sperm และทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย (Androgen หรือ Testosterone) มีลักษณะเป็นอวัยวะรูปไข่ ขนาดยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร และกว้างประมาณ 2-3 เซนติเมตร หนักประ มาณ 25 กรัม อัณฑะมี 2 ข้าง ซ้ายและขวา ห้อยอยู่นอกร่างกายในถุง ซึ่งเรียกว่าถุงอัณฑะ (Scrotum หรือ Scrotal sac) ถุงอัณฑะนี้จะมีผิวหนังย่นๆคลุมอยู่ด้านนอกสุด อัณฑะและถุงอัณฑะ จะอยู่ที่ด้านหลัง องคชาต และอยู่ด้านหน้าของทวารหนัก อัณฑะจะมีเปลือกหุ้มเป็นพังผืดสีขาวเรียกว่า Tunica albuginea ภายในจะมีพังผืดบางๆ แยกเป็นส่วนย่อยๆประมาณ 200 ถึง 400 ส่วนย่อย ภายในแต่ละส่วนย่อยเหล่านี้จะมีท่อยาว ขนาดเล็ก เป็นที่อยู่ของเซลล์ที่จะกลายเป็นตัวอสุจิ (Germ cells) เรียกว่าท่อ Seminiferous tubules ภายในท่อ Seminiferous tubules นอกจากจะมี Germ cells แล้วยังมีเซลล์อีก ชนิดหนึ่งเรียกว่า Sertoli cell ทาหน้าที่สร้างสารฮอร์โมนชื่อ Inhibin (ฮอร์โมนช่วยทาหน้าที่ กากับการสร้างอสุจิ) และทาหน้าที่คล้ายเซลล์พี่เลี้ยงในการร่วมสร้างตัวอสุจิ เซลล์อีกชนิดในอัณฑะเรียกว่า อินเตอร์สติเชียลเซลล์มีความสาคัญคือ เป็นเซลล์ ที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย (Androgen หรือ Testosterone) ฮอร์โมนเพศชายที่สร้างมาจาก เซลล์นี้ จะมีปริมาณลดลงตามอายุที่มากขึ้น ลักษณะของอัณฑะ
  • 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 9 หน้าที่ของอัณฑะ ได้แก่ สร้างตัวอสุจิ (Spermatozoa) สร้างฮอร์โมนเพศชายซึ่งจะทาให้เกิดลักษณะ ของเพศชาย การสร้างตัวอสุจิ จะมีประสิทธิภาพที่อุณหภูมิประมาณ 35-36 องศาเซลเซียส ซึ่งต่ากว่าอุณหภูมิภายในร่างกายปกติประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิปกติในร่างกาย คือ 37 องศาเซลเซียส) ดังนั้น อัณฑะจึงต้องห้อยอยู่นอกร่างกายภายในถุงอัณฑะ เพื่อให้ อุณหภูมิต่ากว่าร่างกายปกติ ภาพแสดงลักษณะโครงสร้างระบบสืบพันธุ์ในเพศชาย ที่มา : http:// watchawan.blogspot.com 216 × 168 (20 มีนาคม 2554)
  • 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 10 รังไข่ มี 2 อัน ซึ่งจะอยู่คนละข้างของมดลูกจะมีลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วง หิมพานต์ยาวประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร หนา 1 เซนติเมตร เชื่อมติดกับท่อนาไข่ หรือ ปีกมดลูก เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างรังไข่ ทั้งสองข้างกับมดลูก ทาหน้าที่เป็นทางผ่าน ของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูกและ เป็นบริเวณที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ ท่อนาไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร ภาพแสดงลักษณะรังไข่ในเพศหญิง ที่มา : http:// pakonp.blogspot.com 310 × 249 (20 มีนาคม 2554) หน้าที่ของรังไข่ 1. สร้างไข่สุกเดือนละ1 เซลล์ โดยมีการตกไข่ (Ovulation) ทุกๆ 28 วัน โดยเริ่มจากรังไข่ซ้ายก่อนแล้วสลับด้วยรังไข่ขวา ในเด็กหญิงแรกเกิดมีไข่ในรังไข่ ประมาณ 5 แสนเซลล์ แต่ไข่ที่สุกและสามารถตกไข่ได้ประมาณ 400 เซลล์ เท่านั้น ที่เหลือจะฝ่อไป 2. สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ เอสโทรเจน ควบคุมลักษณะต่างๆ ของเพศหญิง เช่น การตกไข่ สะโพกผาย เสียงแหลม และโปรเจสเตอโรน ทาหน้าที่กระตุ้นมดลูก ให้เตรียมรับไข่ ลักษณะของรังไข่
  • 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 11 บัตรคาถามที่ 6.1 ลักษณะของต่อมเพศ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ ก. คล้ายปีกผีเสื้อ ข. คล้ายเมล็ดถั่ว ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 2. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอวัยวะเพศ ก. เจริญเติบโตหลังจากคลอดนับสิบปี ข. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน ค. ชายบางคนอาจมีเสียงแหลมเล็กเหมือนผู้หญิง ง. ในเพศหญิงย่อมมีเฉพาะฮอร์โมนเพศหญิงเท่านั้นควบคุม 4. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด ก. อัณฑะ ข. ท่อนาอสุจิ ค. ต่อมลูกหมาก ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์ 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะของรังไข่ ก. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ ข. เป็นบริเวณที่อสุจิจะเข้าปฏิสนธิกับไข่ ค. สร้างตัวอสุจิและผลิตฮอร์โมนเพศหญิง ง. เป็นทางผ่านของไข่ที่ออกจากรังไข่เข้าสู่มดลูก
  • 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 12 บัตรเฉลยคาถามที่ 6.1 ลักษณะของต่อมเพศ 9vตอ 1. ง 2. ก 3. ง 4. ง 5. ค ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ เก่งที่สุดเลย
  • 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 13 บัตรคาสั่งที่ 6.2 ลักษณะของต่อมไพเนียล โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.2 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 14 บัตรเนื้อหาที่ 6.2 ลักษณะของต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียล ที่มา:http:// endocrinesystem409.blogspot.com 426 × 376 (20 มีนาคม 2554) พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมไพเนียล มีลักษณะ อย่างไร ถ้าอยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  • 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 15 บัตรเนื้อหาที่ 6.2 ลักษณะของต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียล คือ นาฬิกาชีวภาพที่มีอยู่ในตัวคนเราทุกคน ต่อมไพเนียลเป็นต่อมขนาดเล็ก 2 ต่อม อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม (Cerebrum) ด้านซ้ายและขวา สร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) ทาหน้าที่ยับยั้ง การเจริญเติบโตของต่อมเพศในช่วงก่อนวัยรุ่น และมีผลต่อการเข้าสู่วัยรุ่นว่าจะเร็วหรือช้า เป็นต่อมอยู่เหนือสมอง เป็นต่อมที่มีความสาคัญ ตอนกลางวันจะสร้างเซโรโทนิน กระตุ้นให้เราลุกตื่นขึ้นทางาน กลางคืนจะสร้าง เมลาโทนิน ทาให้เรารู้สึกง่วงนอน อยากพักผ่อน ต่อมไพเนียลจะส่งคาสั่งเชื่อมโยงไปยังต่อม และอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย อีกทอดหนึ่ง โดยอาศัยเส้นใยประสาท สารสื่อนาประสาท ควบคุมต่อมใต้สมอง ซึ่งควบคุมต่อทอดไปยังต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต รังไข่ และอัณฑะอีกด้วย องค์ประกอบของต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียล (Pineal gland) เจริญมาจากเปลือกที่หุ้มมาจาก pia mater มี septa แทรกในเนื้อต่อม ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิดคือ 1. Pinealocytes เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียสขนาดใหญ่ 2. Neuroglial cells เป็นเซลล์ขนาดเล็กมีนิวเคลียสติดสีเข้มกว่าเซลล์ ชนิดแรก อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนซีรีบรัม ซ้ายและขวา ภาพแสดงลักษณะของต่อมไพเนียล ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
  • 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 16 บัตรคาถามที่ 6.2 ลักษณะของต่อมไพเนียล คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย ก. กลางซีรีบรัม ข. กลางซีรีเบลลัม ค. กลางทาลามัส ง. กลางไฮโพทาลามัส 2. ต่อมไพเนียลมีลักษณะสาคัญอย่างไร ก. ตอนกลางวันจะสร้างเมลาโทนิน ข. ตอนกลางวันจะสร้างเซโรโทนิน ค. ตอนกลางคืนจะสร้างเซโรโทนิน ง. ตอนกลางคืนจะสร้างเมลาโทนิน และเซโรโทนิน 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน 4. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด ก. เซโรโทนิน ข. เมลาโทนิน ค. เมลาโนไซด์ ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 5. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม
  • 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 17 บัตรเฉลยคาถามที่ 6.2 ลักษณะของต่อมไพเนียล 9vตอ 1. ก 2. ข 3. ค 4. ข 5. ง ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ เก่งที่สุดเลย
  • 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 18 บัตรคาสั่งที่ 6.3 ชนิดของฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.3 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 19 บัตรเนื้อหาที่ 6.3 ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล ฮอร์โมนจากต่อมเพศ ฮอร์โมนที่ต่อมเพศสร้างเป็นสารพวกสเตอรอยด์ (Steroid hormone) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศชาย (อัณฑะ) และฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะสืบพันธุ์ในเพศหญิง (รังไข่) โดยได้รับการกระตุ้นจาก FSH และ LH ฮอร์โมนจากอัณฑะ แหล่งที่ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนในอัณฑะ คือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ (Interstitial cell) ฮอร์โมนที่สร้าง คือ แอนโดรเจน (Androgen) ประกอบด้วยฮอร์โมน หลายชนิดที่สาคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) มีหน้าที่ควบคุม การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male secondary characteristic) ให้เด็กชายเข้าสู่วัยหนุ่มแสดงลักษณะเพศชาย ให้เด่นชัดขึ้น เช่น 1. เสียงห้าว 2. มีลูกกระเดือก 3. ไหล่กว้าง สะโพกแคบ 4. กล้ามเนื้อเจริญเติบโตขึ้นและเห็นเด่นชัด 5. มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ รักแร้ หน้าแข้ง แขน ขา มีหนวดและเครา 6. ชอบการต่อสู้แข่งขัน และกระตุ้นให้เกิดความสนใจในเพศหญิง พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมเพศและต่อมไพเนียล สร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมน แต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร อยากรู้มาทางนี้ครับ
  • 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 20 ฮอร์โมนจากรังไข่ แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง คือ รังไข่ ฮอร์โมนที่สร้าง ได้แก่ 1. อีสโทรเจน (Estrogen) สร้างจากฟอลิเคิล (Follicle) มีหน้าที่ 1.1 กระตุ้นการเจริญของฟอลลิเคิลและควบคุมลักษณะที่สอง ของการเป็นเพศหญิง (Female secondary characteristic) เช่น เสียงแหลม สะโพกผาย มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ รักแร้ อวัยวะเพศและเต้านมใหญ่ขึ้น มดลูกมีขนาด ใหญ่ขึ้น รักสวยรักงาม จิตใจอ่อนโยน ไม่ชอบการต่อสู้ 1.2 กระตุ้นการเจริญของอวัยวะเพศ กระตุ้นมดลูก และท่อนาไข่ 1.3 กระตุ้นการสร้างน้านม ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่รังไข่และ เยื่อบุมดลูก 1.4 กระตุ้นการหลั่ง LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าเพื่อให้ มีการตกไข่ 1.5 ทางานร่วมกับฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน กระตุ้นให้เกิด การหนาตัวของผนังมดลูกด้านในเพื่อเตรียมรับการตั้งครรภ์ แผนภาพแสดงการทางานร่วมกันของอีสโทรเจน และ โพรเจสเทอโรน ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2554)
  • 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 21 2. โพรเจสเทอโรน (Progesterone) สร้างจากคอร์พัสลูเทียม (Corpuslutium) มีหน้าที่ 2.1 ทาให้เยื่อบุมดลูกพร้อมในการฝังตัวของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว 2.2 ส่งเสริมการทางานของฮอร์โมนอินซูลิน เพิ่มการสะสมไกลโคเจน 2.3 ทาให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น 2.4 ทาให้มูกที่ปากมดลูกเหนียว เข้มขึ้น ป้องกันไม่ให้อสุจิตัวอื่น สามารถว่ายมาผสมกับไข่ที่ผสมแล้วได้สะดวก 2.5 ป้องกันไม่ให้มดลูกหดรัดตัวระหว่างตั้งครรภ์ 2.6 ทางานร่วมกับอีสโทรเจน โดยอีสโทรเจนจะทาให้มีการเจริญ ของท่อน้านม(duct) หลังจากนั้นอีสโทรเจนจะให้โพรเจสเทอโรนร่วมทางานทาให้ ท่อน้านมและถุงน้านม(alveoli)เจริญอย่างสมบูรณ์ เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นตึงตัวขึ้น (glandular development) แต่ระดับของอีสโทรเจนที่สูงในระหว่างตั้งครรภ์จะยับยั้ง การทางานของต่อมใต้สมองส่วนหน้าไม่ให้หลั่งโพรแลกตินด้วย ภาพแสดงการกระตุ้นการสร้างน้านมของอีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน ที่มา : http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555)
  • 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 22 ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล เมลาโทนิน เป็นสารที่สร้างจากต่อมไร้ท่อชื่อ ไพเนียล แกลนด์ [Pineal gland] จึงจัดเป็นฮอร์โมนชนิดหนึ่ง ที่ร่างกายของคนสร้างได้เอง ปกติเมลาโทนินจะถูกสร้างมากในเวลากลางคืน และน้อยในเวลากลางวัน คือ มีวัฏจักรประจาวัน (circadian rhythym) กล่าวคือ เมื่อแสงสว่างส่องผ่านนัยน์ตา ในเวลากลางวัน ไพเนียลแกลนด์ จะหยุดผลิตเมลาโทนินทันที ที่ได้รับแสงสว่าง แต่จะสร้างสารที่เรียกว่า เซโรโทนิน (serotonin) ซึ่งเป็นสารที่ทาให้ร่างกายมีชีวิตชีวา กระฉับกระเฉงขึ้น จึงมีการนา เมลาโทนินไปใช้ในผู้ที่นอนหลับยาก และปรับเวลา นอนหลับในการเดินทางไกลข้าม 3-6 โซนเวลาหรือที่เรียกว่า (jet lag) ตามปกติ ต่อมไพเนียล ผลิต เมลาโทนิน โดยเฉลี่ยคืนละ 1-3 มิลลิกรัม ปริมาณการสร้างเมลาโทนินจะลดลงตามวัย โดยอายุ 5-6 ปี จะมีระดับเมลาโทนินสูงสุด และลดลง ในวัยหนุ่มสาว เมื่อถึงวัยกลางคน (40 ปีขึ้นไป) จะลดลงเป็นครึ่งหนึ่งของ ระดับเดิม และจะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อเข้าสู่วัยชรา ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ยาตัวนี้เป็นที่ต้องการ ของผู้ที่ไม่ประสงค์จะชราก่อนวัย หรือที่เรียกว่า วัยทอง ซึ่งเป็นวัยที่ความกระฉับกระเฉง ลดน้อยลง ความเสื่อมโทรมของร่างกายจะเกิดมากขึ้น โดยสรุป เมลาโทนิน ในคนมีหน้าที่ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบอวัยวะสืบพันธุ์ มีบางคนเชื่อว่าเมลาโทนิน มีผลต่อการสร้างโกนาโดโทรฟิน รีลิสซิ่งฮอร์โมน (GnRH) แม้ว่ายังไม่มีข้อสรุปชัดเจน เกี่ยวข้องกับขบวนการหลั่งของเมลาโทนิน แต่มีความเชื่อว่าน่าจะระงับการหลั่ง โกนาโดโทฟิน รีลิสซิ่งฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส 2. ควบคุมการทางานของอวัยวะสืบพันธุ์ โดยจะมีการยับยั้งการหลั่ง ฮอร์โมนเพศ เช่น ในช่วงที่มีฤดูหนาวที่มีกลางคืนยาวนาน ผู้หญิงชาวเอสกิโม จะไม่มีประจาเดือน และถ้ามีฮอร์โมนนี้มากจะทาให้เป็นหนุ่มสาวช้ากว่าที่ควร ในผู้ชายจะมีอัณฑะขนาดเล็กลงได้
  • 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 23 3. ส่งเสริมการนอนหลับและกิจกรรมต่างๆ ใช้ในการรักษาผู้ที่มีปัญหา การนอนไม่หลับ (sleep disorder) เช่น ผู้ทางานเป็นกะ (shift workers ) หรือ ผู้สูงอายุที่นอนไม่หลับ (elderly insomnia) แก้ไขการหลงเวลาจากการเดินทาง โดยเครื่องบิน (jet lag) เมื่อไปในประเทศที่เวลาไม่เหมือนกัน เช่น เมื่อเดินทาง จากประเทศไทยไปประเทศสหรัฐอเมริกาที่เวลาห่างกันประมาณ 12 ชั่วโมง จะทาให้ เวลากลางวันและกลางคืนสลับกัน ซึ่งจะทาให้นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะได้ ถ้าได้รับฮอร์โมนเมลาโทนินจะทาให้ปัญหาเหล่านี้หายไปหรือน้อยลง 4. การรักษาโรคที่เกี่ยวกับอารมณ์ มีงานวิจัยหาความสัมพันธ์ระหว่าง เมลาโทนินและภาวะซึมเศร้า พบว่าในประเทศที่มีฤดูหนาวที่ยาวนาน จะมีผู้ที่มีอาการ ซึมเศร้ามาก อากาศสลัวๆ ซึ่งเมลาโทนินหลั่งมากขึ้น และเป็นเหตุผลอธิบายว่า ทาไมเราจึงรู้สึกสดชื่นในวันที่ท้องฟ้าสดใส มากกว่าในช่วงที่มีอากาศสลัวๆ 5. ชะลอการชราภาพ มีรายงานกล่าวถึงเมลาโทนินว่าเป็นตัวต้าน ออกซิเดชัน (antioxidation) เป็นสารที่ป้องกันไม่ให้เซลล์ในร่างกายถูกทาลาย จากสารที่เป็นอนุมูล อิสระ (free radicals) ซึ่งมักจะไปทาปฏิกิริยาเป็นลูกโซ่และ ทาลายเซลล์อื่นได้มาก ทาให้เกิดโรคเรื้อรัง เช่น มะเร็ง หลอดเลือดหัวใจขาดเลือด ซึ่งถ้ามีสารอนุมูลอิสระที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมมาก จะทาอันตราย ต่อเนื้อเยื่อต่างๆ ต่อเยื่อบุผิวเซลล์ ทาให้เซลล์ไม่สามารถแบ่งตัว หรือซ่อมแซม ส่วนที่สึกหรอ ทาให้เกิดการชราภาพของเซลล์ เมลาโทนินจะไปจับหรือกาจัด อนุมูลอิสระเหล่านี้ได้ดีและปกป้องเซลล์จากการทาลายของไขมันในเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ภาพแสดงการทางานของต่อมไพเนียล ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
  • 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 24 เมลาโทนินในสัตว์ ในสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่า เช่น ตัวกิ้งก่า 3 ตา ปลาปากกลมบางชนิด พบว่าต่อมไพเนียลไม่ได้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แต่มีกลุ่มเซลล์ที่ไวต่อแสง คล้ายกับกลุ่มเซลล์รับแสงในชั้นเรตินาของนัยน์ตาคน ในสัตว์เลือดเย็นบางชนิด เช่น กบ ฮอร์โมนเมลาโทนิน สามารถเปลี่ยนสีผิว ให้จางลงโดยมีผลทาให้รงควัตถุ ที่ผิวหนังรวมตัวกันรอบๆ นิวเคลียส (ทางานตรงข้าม กับ MSH จากต่อม ใต้สมองส่วนกลาง และ ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า เพราะจะทาให้สีผิวเข้มขึ้น) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ฮอร์โมนเมลาโทนิน จะทาหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโต ของอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ให้เติบโตเร็วเกินไป ในสัตว์ที่ถูกขังในที่มืด หรือตาบอด พบว่าจะสร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน เพิ่มขึ้น สรุปได้ว่าการสร้างเมลาโทนินถูกกระตุ้นโดยความมืดและการหลั่งจะถูกยับยั้ง โดยแสงสว่าง นั่นคือเมื่อมีแสงสว่าง ต่อมไพเนียลจะหลั่งเมลาโทนินน้อยลง ถ้าไม่มีแสงสว่างจะมีผลให้มีการผลิตเมลาโทนินมากขึ้น การหลั่งของเมลาโทนินในรอบประมาณ 24 ชั่วโมง (circadian rhythm) ของคนวัยเจริญพันธุ์ ในเวลากลางคืนจะมีการสร้างเมลาโทนินมาก โดยจะเริ่มสร้าง ตั้งแต่เวลา 21.00 - 22.00 น. และมีการสร้างมากขึ้นเรื่อยๆจนถึงระดับสูงสุดเวลา 02.00 - 04.00 น. กราฟแสดงการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินน ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
  • 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 25 บัตรคาถามที่ 6.3 ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าทาให้สีผิวจางลง 2. ในสัตว์ชนิดใดต่อมไพเนียล ไม่ได้ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แต่ทาหน้าที่อย่างอื่น ก. สัตว์ปีก ต่อมทาหน้าที่กะระยะทาง ข. สัตว์น้าทาหน้าที่แทนตาในขณะว่ายน้า ค. สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า ต่อมทาหน้าที่เป็นลูกตาที่สาม ง. สัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ต่อมทาหน้าที่คล้ายเยื่อเรตินา 3. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด ก. HCG ข. estrogen ค. progesterone ง. ถูกทุกข้อ 4. ในยาคุมกาเนิดมีการใช้ฮอร์โมนประเภทใดผสม ก. อิสโทรเจน ข. โพรเจสเตอโรน ค. เทสโทสเตอโรน ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ ก. Malatonin ข. Testosterone ค. Progesterone ง. Gonadotrophin
  • 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 26 บัตรเฉลยคาถามที่ 6.3 ฮอร์โมนจากต่อมเพศและต่อมไพเนียล 1.ง 2.ง 3.ค 4.ง 5.ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 27 บัตรคาสั่งที่ 6.4 ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 6.4 ใช้เวลา 10 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 6.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 3 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 6.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 15 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 28 บัตรเนื้อหาที่ 6.4 ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเพศชาย ฮอร์โมนเพศชาย ที่สาคัญคือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) ซึ่งจะทาหน้าที่หลายอย่าง คือ ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทาให้อัตราการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศเพิ่มขึ้น กระตุ้นการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเอ็นไซม์ ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนเพศชาย ถ้าเกิดความผิดปกติ ในอัณฑะมีผลดังนี้ 1) ในเด็ก – ถ้าขาดจะทาให้อวัยวะสืบพันธุ์ไม่เจริญ การแสดงลักษณะทาง เพศที่สองผิดปกติ เป็นหนุ่มช้ากว่าปกติ หรืออาจเป็นกระเทย 2) ในเด็ก – ถ้ามีมากเกินจะทาให้อวัยวะสืบพันธุ์เจริญเร็ว และการแสดง ลักษณะทางเพศที่สองเป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ 3) ในผู้ใหญ่ – ถ้าขาดจะทาให้เป็นหมัน พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน จากต่อมเพศ และต่อมไพเนียล จะเป็นอย่างไร อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
  • 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 29 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเพศหญิง ฮอร์โมนเพศหญิง ที่สาคัญคือ อีสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเตอโรน (Progesterone) ฮอร์โมนอีสโทรเจน จะเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์และ ลักษณะต่างๆของความเป็นเพศหญิง ส่วนฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน จะเกี่ยวข้องกับ การตั้งครรภ์คือ ระงับไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์ป้องกันไม่ให้มีประจาเดือนระหว่าง ตั้งครรภ์ ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูกชั้นในเพื่อรองรับการฝังตัวของไข่ ที่ถูกผสม และกระตุ้นต่อมน้านมให้เจริญเติบโต ถ้ารังไข่ถูกตัดออกจะทาให้ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนดังกล่าวได้ เกิดผลดังต่อไปนี้ 1) ในเด็ก – อวัยวะสืบพันธุ์ไม่เจริญ การแสดงลักษณะทางเพศที่สองผิดปกติ เป็นสาวช้ากว่าปกติ ไม่มีการตกไข่ เป็นประจาเดือนช้า 2) ในผู้ใหญ่ – ไม่มีประจาเดือน เพราะไม่มีฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน จากคอร์ปัสลูเทียมซึ่งเกิดจากการตกไข่ ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในช่วงต่างๆของรอบประจาเดือน ที่มา : http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555)
  • 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 30 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนเมลาโทนิน การใช้เมลาโทนิน มีผลการทดลองในสัตว์เท่านั้น สาหรับในคนแม้ว่าจะมีประโยชน์ระยะสั้นแต่ยังขาดข้อมูลการทดลอง ในเรื่องของความปลอดภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะยาว ผลข้างเคียงของเมลาโทนิน คือ ถ้าร่างกายได้รับฮอร์โมนเมลาโทนินมาก จะทาให้อ่อนเพลีย ความคิดเลอะเลือนในตอนเช้า หลับมากเกินปกติ ฝันร้ายตื่น กลางดึก ปวดศีรษะ ความรู้สึกทางเพศลดลงและซึมเศร้า ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนเมลาโทนิน จะทาให้เป็นโรคนอนไม่หลับ ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินในร่างกายของคนในวัยต่าง ๆ ที่มา : http//www.novabizz.com 450 × 350 (20 มีนาคม 2555)
  • 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 31 บัตรคาถามที่ 6.4 ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตัวอักษรหน้าข้อความทางด้านขวามือมาวางลงใน ของข้อความทางด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ถ้าขาดมีอาการนอนไม่หลับ ก. อีสโทรเจน 2. ถ้าขาดทาให้เพศชายเป็นหมัน ข. โพรเจสเทอโรน 3. เป็นสาวช้ากว่าปกติ ไม่มีประจาเดือน ค. เทสโทสเตอโรน 4. กระตุ้นต่อมน้านมให้เจริญเติบโต ขณะตั้งครรภ์ ง. เมลาโทนิน 5. เป็นฮอร์โมนควบคุมลักษณะที่สองของเพศหญิง
  • 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 32 บัตรเฉลยคาถามที่ 6.4 ความผิดปกติจากฮอร์โมนต่อมเพศและต่อมไพเนียล 1.ง 2.ค 3.ก 4.ข 5.ก เก่งมาก ๆ ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
  • 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 33 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะของรังไข่ ก. คล้ายปีกผีเสื้อ ข. คล้ายเมล็ดถั่ว ค. อยู่ตรงกลางของมดลูก ง. คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ 2. อัณฑะของเพศชายมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นอวัยวะรูปไข่มี 2 ข้างอยู่ภายในถุงอัณฑะ ข. เป็นอวัยวะคล้ายเมล็ดถั่วอยู่ภายในถุงอัณฑะ ค. ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนในเพศชาย ง. สามารถสร้างอสุจิได้ภายใต้อุณหภูมิร่างกาย 37 องศาเซลเซียส 3. แหล่งผลิตฮอร์โมนเพศชายคือข้อใด ก. อัณฑะ ข. ท่อนาอสุจิ ค. ต่อมลูกหมาก ง. อินเตอร์สติเชียลเซลล์ 4. ต่อมไพเนียลอยู่ที่บริเวณใดของร่างกาย ก. กลางซีรีบรัม ข. กลางซีรีเบลลัม ค. กลางทาลามัส ง. กลางไฮโพทาลามัส 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับต่อมไพเนียล ก. เจริญมาจากเปลือกที่หุ้ม pia mater ข. อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วนเซรีบรัม ค. เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อในเวลาเดียวกัน ง. กลางวันสร้างเซโรโทนิน กลางคืนสร้างเมลาโทนิน
  • 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 34 6. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไพเนียลในตอนกลางคืน คือข้อใด ก. เซโรโทนิน ข. เมลาโทนิน ค. เมลาโนไซด์ ง. กลูโคคอร์ติคอยด์ 7. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีเบลลัม ข. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงเซมิเซอร์คิวลาร์คาร์แนล ค. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่ตรงสมองส่วนไฮพทาลามัส ง. ต่อมไพเนียลมี 2 ต่อม อยู่กึ่งกลางสมองส่วนเซรีบรัม 8. ฮอร์โมนเมลาโทนิน ในคนหนุ่มสาวกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าบางชนิด ทาหน้าที่เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ก. เหมือนกัน คือ ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ข. เหมือนกันคือ ทาให้รงควัตถุเมลานินที่เซลล์ผิวรวมตัวกัน ค. ต่างกัน ในคนทาให้สีผิวจางลง ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าอวัยวะสืบพันธุ์เจริญช้าลง ง. ต่างกัน ในคนยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าสีผิวจางลง 9. ฮอร์โมนที่มีมากในขณะที่เพศหญิงตั้งครรภ์คือ ข้อใด ง. HCG จ. estrogen ฉ. progesterone ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการชะลอการชราภาพ ก. Malatonin จ. Testosterone ฉ. Progesterone ช. Gonadotrophin
  • 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 35 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ง 2 ก 3 ง 4 ก 5 ค 6 ข 7 ง 8 ง 9 ค 10 ก เก่งมาก ๆ ครับ ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม ศึกษาชุดการสอนต่อไปเลยนะครับ
  • 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 6 เรื่อง ต่อมเพศและต่อมไพเนียลกับฮอร์โมน 36 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http:// endocrinesystem409.blogspot.com 426 × 376 (20 มีนาคม 2555) http:// watchawan.blogspot.com 216 × 168 (20 มีนาคม 2555) http:// pakonp.blogspot.com 310 × 249 (20 มีนาคม 2555) http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555) http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555) http://www. il.mahidol.ac.th 293 × 196 (20 มีนาคม 2555) http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) http://www. freakwhey.com 300 × 200 (20 มีนาคม 2555) http//www.novabizz.com 450 × 350 (20 มีนาคม 2555)