SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
ยิมนาสติก (Gymnastics) เป็ นกีฬาสากลประเภทหนึ่งที่จัด
เข้ าแข่ งขันในกีฬาโอลิมปิ ก ยิมนาสติกมาจากภาษากรีกว่ า
Gymnos แปลว่ า Nude ตามความหมายแปลว่ า Necket Art แปล
เป็ นไทยว่ า "ศิลปะแห่ งการเปลือยเปล่ า" ซึ่งหมายถึงวิธีการทาให้
ร่ างกายสวยงามมีทรวดทรงดีด้วยวิธีเปลือยกายเล่ นกีฬา และมี
การประกวดทรวดทรง พร้ อมกับมีการแข่ งขันกีฬากลางแจ้ งต่ อ
หน้ าประชาชน
           ผู้ท่ ีมีร่างกายสง่ างาม มีความสามารถทางการกีฬาก็จะได้
ชื่อว่ าเป็ นผู้ชนะเลิศ ได้ รับการต้ อนรั บจากประชาชน โดยช่ าง
แกะสลักรู ปหินอ่ อนตังไว้ บริเวณรั วสนามกีฬา
                            ้           ้
กีฬาประเภทนีเ้ ริ่มต้ นเมื่อใดนันไม่ มีหลักฐานระบุ
                                              ้
แน่ ชัด แต่ มาปรากฏก่ อนคริสต์ ศักราช 2,600 ปี ซึ่งเป็ น
ระยะเวลาที่ชาวจีนได้ มีการฝึ กฝนท่ ากายบริหารและคิดประดิษฐ์
ท่ าบริหารกายขึนเพื่อใช้ ประโยชน์ ในการบาบัดทางแพทย์ แบบ
                  ้
จีนจากหลักฐานทางประวัตศาสตร์ ระบุว่า ชาวจีนได้ มีการคิดท่ า
                           ิ
กายบริหารขึนมาเพื่อบริหารร่ างกายให้ เกิดความแข็งแรง และ
              ้
ถือว่ าเป็ นการปองกันและรักษาโรคได้ ด้วยเรียกว่ า ยิมนาสติก
                ้
เพื่อการบริหารร่ างกายและการฟื ้ นฟู นอกจากนันชาวจีนยังมี
                                                    ้
การละเล่ นกายกรรมในลักษณะของการต่ อตัว ไต่ เชือก และการ
ตีลังกาต่ างๆ ซึ่งมีลักษณะเหมือนยิมนาสติกอย่ างหนึ่งใน
ปั จจุบัน
อย่ างไรก็ตาม เราเชื่อกันว่ าการเริ่มต้ นของกีฬายิมนาสติกอย่ าง
แท้ จริงนันคือ สมัยเริ่มต้ นของประวัตศาสตร์ แห่ งชาวกรี กและโรมัน
           ้                           ิ
โดยเฉพาะกรี กโบราณเป็ นประเทศแรกที่สนใจและมีบทบาทอันสาคัญ
ต่ อกีฬายิมนาสติก แม้ กระทั่งคาว่ ายิมนาสติกก็เป็ นภาษากรี ก แบบหรื อ
ระบบของท่ าบริหารร่ างกายท่ าต่ างๆ ที่ใช้ กันในสมัยโรมันก็คดและ
                                                             ิ
ประดิษฐ์ ขนโดยนักศึกษาสมัยโบราณของกรี ก และพลเมืองทั่วทัง
             ึ้                                                   ้
ประเทศได้ ยดถือเป็ นแบบฉบับหรื อระบบของท่ าบริหารกายมาตรฐาน
                ึ
โดยฝึ กสอนให้ แก่ เยาวชนตามสถาบันทุกแห่ ง ยิมนาสติกในประเทศ
กรี กเริ่มต้ นและพัฒนาไปพร้ อมๆ กับวิทยาการด้ านศิลปะและดนตรี
ชาวสปาร์ ต้ามีความศรั ทธาเรื่ องยิมนาสติกมากที่สุดโดยรั ฐได้ ตงขอ้
                                                               ั้
กาหนดให้ มีการฝึ กหัดยิมนาสติกแก่ เยาวชนของชาติทุกคนตลอดจน
เด็กหญิง กิจกรรมประกอบด้ วย ยืดหยุ่น เต้ นรา วิ่ง กระโดด ไต่ เชือก
และการเคลื่อนไหวทรงตัว
เมื่อจักรวรรดิโรมันมีอิทธิพลเหนือดินแดนกรีก
โรมันก็ได้ ลอกแบบกิจกรรมทางพลศึกษาทังหมดไปจากกรีก แต่
                                              ้
ดัดแปลงนาไปใช้ เพื่อฝึ กทหารของตน แต่ ทันทีท่ จักรวรรดิกรีก
                                                 ี
และโรมันเสื่อมลง ทังด้ านวัฒนธรรมและกีฬายิมนาสติกก็เสื่อม
                        ้
โทรมลงไปด้ วย ตลอดจนกิจกรรมทางการออกกาลังกายประเภท
ต่ างๆ รวมทังการประกวดก็ถูกทิงไปจนหมด นับเป็ นระยะที่การ
             ้                     ้
พลศึกษาได้ เข้ าสู่ยุคมืดมน (Dark age) ตลอดจนถึงยุคกลาง
(Middle age) ระหว่ างศตวรรษที่ 14-16 ครั นเข้ าสู่ยุคฟื ้ นฟู
                                            ้
(Renaissance) กิจกรรมทางพลศึกษาก็ค่อยๆ ตื่นตัว และได้
ขยายออกไปสู่ประเทศต่ างๆ ในทวีปยุโรป
ในปี พ.ศ. 2266-2333 Johann Basedow แห่ ง
เยอรมันนี นักการศึกษาที่สาคัญได้ บรรจุการออกกาลังกาย
แบบยิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของโรงเรี ยน เมื่อปี พ.ศ.
2319
         ในปี พ.ศ. 2302-2382 นักการศึกษาอีกผู้หนึ่งคือ นาย
Johann Guts Muths ซึ่งเป็ นที่ร้ ู จักกันในนาม "คุณปู่ แห่ งกีฬา
ยิมนาสติก" ได้ บรรจุวิชายิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของ
โรงเรี ยนปรั ชเซีย และท่ านผู้นียังได้ เขียนตาราที่มีคุณค่ าต่ อ
                                ้
การศึกษาาไว้ หลายเล่ ม รวมทังตารายิมนาสติกสาหรับ
                                  ้
เยาวชนด้ วย นับว่ าเป็ นตารายิมนาสติกเล่ มแรกของโลก
ปี พ.ศ. 2321-2395 นักการพลศึกษาอีกท่ านหนึ่ง คือ
Friedrich Jahn เป็ นผู้ก่อตังศูนย์ ฝึกเทิร์นเวอร์ เรี ยน (Turnverein)
                            ้
อันมีแนวโน้ มไปในทางการแสดงออกถึงความรักชาติ โครงการนี ้
ได้ รับความเห็นชอบจากรั ฐบาล ดังนันจึงเจริญรุ่ งเรื องขึนอย่ าง
                                        ้                     ้
รวดเร็ว ศูนย์ ฝึกดังกล่ าวประกอบด้ วยบริเวณลานฝึ กอันกว้ าง
ใหญ่ ผู้เข้ ารั บการฝึ กอบรมจะเข้ าร่ วมได้ ทังครอบครั ว และได้ คิด
                                              ้
ประดิษฐ์ เครื่องอุปกรณ์ การฝึ กหลายอย่ าง ในจานวนนีมีเครื่อง้
อุปกรณ์ ยมนาสติกอยู่ด้วยคือ ราวเดี่ยว ราวคู่ ไชค์ ฮอสลองฮอส
             ิ
ชนิดสัน (Buck) ต่ อมาสงครามปลดแอกได้ เสร็จสินลง มีการ
          ้                                            ้
เปลี่ยนแปลงผู้บริหารประเทศ และนโยบายการบริ หารประเทศ
ได้ เปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมของนาย Friedrich Jahn ถูกเข้ าใจ
ผิด จึงถูกจับเข้ าคุกในข้ อหามีแผนการณ์ คดจะล้ มล้ างรั ฐบาล
                                                ิ
ดังนัน สมาคมเทิร์นเรอร์ เรี ยนซึ่งยังมีคนนิยมอยู่ก็ต้องดาเนินไป
      ้
อย่ างซ่ อนเร้ น และกระจัดกระจายออกไปสู่ประเทศอื่นๆ ในยุโรป
และห้ ามไปสู่สหรั ฐอเมริกาในเวลาต่ อมา
ปี พ.ศ. 2353-2401 นักศึกษาที่มีความสาคัญต่ อวงการพล
ศึกษาอีกท่ านหนึ่งคือ Adole Spiess ชาวสวิส เป็ นผู้เสนอให้ บรรจุ
วิชายิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของโรงเรี ยนในประเทศ
สวิตเซอร์ แลนด์
      นักการศึกษาทางด้ านพลศึกษาอีกท่ านหนึ่งคือ Pehr Ling
ชาวสวีเดนผู้มีความเชื่อว่ ายิมนาสติกมีคุณค่ าทางการบาบัดและ
แก้ ไขความบกพร่ องของร่ างกายได้ เขาได้ คิดค้ นท่ าบริหารร่ างกาย
ประเภทบุคคลขึน และยังเป็ นผู้คดประดิษฐ์ อุปกรณ์ การออก
                 ้                 ิ
กาลังกาย อันเป็ นที่ร้ ู จักกันในนามอุปกรณ์ แบบสวีดีช (Swedish
Apparatus) รวมทัวราวติดผนังและหีบกระโดดด้ วย
                   ้
นักการศึกษาที่มีความสาคัญต่ อวงการพลศึกษาอีกท่ านหนึ่ง
คือ Franz Nachtegall ได้ ริเริ่มการตังโรงเรี ยนฝึ กหัดครู ยมนาสติก
                                     ้                     ิ
เป็ นแห่ งแรก ณ เมืองโคเปนเฮเกน
      วิวัฒนาการของวงการยิมนาสติกในสหรัฐอเมริกา เริ่มขึน      ้
พร้ อมๆ กับการพลศึกษาของชาวยุโรปในระยะแรก ชาวยุโรปซึ่ง
เคยได้ สังกัดอยู่ในสมาคมเทิร์นเวอร์ เรี ยนเป็ นผู้มีบทบาทสาคัญ
ที่สุดคือ นาเอาสมาคมดังกล่ าวเข้ าไปตังในสหรัฐอเมริกา โดยได้
                                         ้
อพยพเข้ าไปตังถิ่นฐานในดินแดนนีใหม่ ครันต่ อมาสมาคมมี
                ้                      ้        ้
สโมสรเพิ่มขึนก็มีความต้ องการครู ผ้ ูสอนเพิ่มขึน ดังนันในปี พ.ศ.
              ้                                   ้     ้
2408 จึงได้ มีการจัดตังวิทยาลัยยิมนาสติกขึนเป็ นแห่ งแรกที่เมือง
                       ้                      ้
อินเดียนาโปลิส รั ฐอินเดียนา ชื่อ Normal College of American
Gymnastics ในระยะเวลาสองสามปี ต่ อมา สถาบันการศึกษาแห่ ง
นีก็สามารถผลิตครู ยมนาสติกผู้มีความสามารถและมีกิจกรรม
   ้                 ิ
อื่นๆ อย่ างมากมาย
ชาวอเมริกันคนแรกที่มีความสาคัญต่ อวงการยิมนาสติกคือ
Dr. Dudlay Sargent ขณะที่เขายังเป็ นนักเรี ยนอยู่นัน ได้ เปน็ครู
                                                   ้
สอนยิมนาสติกที่วิทยาลัยโบวดอย (Bow Doin College) ภายใน
ระยะเวลาเพียง 2 ปี เขาได้ บรรจุกิจกรรมประเภทนีเ้ ข้ าไว้ ใน
หลักสูตรของระดับวิทยาลัยอย่ างเป็ นทางการ ต่ อมาได้ ไปอยู่ ณ
มหาวิทยาลัยเยลและย้ ายจากมหาวิทยาลัยเยลไปอยู่
มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ในตาแหน่ งผู้อานวยการเฮเมนเวย์
ยิมเนเซียม ซึ่ง Dr. Sargent ได้ คิดอุปกรณ์ ยมนาสติกขึนหลาย
                                            ิ         ้
อย่ าง รวมทังรอกนาหนัก (Pulley weights) และเครื่องมือบริหาร
             ้      ้
ขาและนิวมือ และยังเป็ นผู้พัฒนาระบบทดสอบความสามารถ
         ้
ของมนุษย์ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพทางร่ างการยของเด็ก
นักเรียนด้ วย
สมาคม Y.M.C.A. ในสหรั ฐอเมริกา ก็นับว่ าเป็ นสถาบันที่มี
ความสาคัญต่ อวงการยิมนาสติกเช่ นกัน กล่ าวคือ ทางสถาบันได้
จัดกิจกรรมเข้ าไว้ รวมกับโปรแกรมทางพลศึกษาประเภทอื่นๆ
ด้ วย สมาคมทุกแห่ งได้ ตดตังเครื่องอุปกรณ์ ยมนาสติกไว้ ในโรง
                         ิ ้                  ิ
ยิมเนเซียมเพื่อบริการแก่ สมาชิก และมีครู ผ้ ูสอนด้ านนีโดยตรง
                                                       ้
โรงเรี ยนฝึ กหัดครู ยมนาสติกของ Y.M.C.A. แห่ งแรกคือที่
                     ิ
สปริงฟิ ลด์ มลรั ฐแมสซาชูเซตส์ บุคลากรผู้ริเริ่มให้ การพลศึกษา
เคลื่อนไหวไปได้ อย่ างขนานใหญ่ ควบคู่ไปกับแนวการศึกษาก็คือ
Dr. Luther Gulick
ครันต่ อมาในระยะสงครามโลกครังที่ 2 เกิดมีกิจกรรมทางการกีฬา
       ้                              ้
ใหม่ ๆ เกิดขึนหลายชนิด ดังนัน กิจกรรมทางยิมนาสติกจึงได้ รับความ
              ้                 ้
สนใจ และมีการปรับปรุ งเพื่อให้ ทันสมัย ทาให้ ยมนาสติกได้ กลายเป็ น
                                               ิ
กีฬาที่มีกฎกติกาอย่ างสมบูรณ์ และมีการแข่ งขันระหว่ างมหาวิทยาลัย
โรงเรียน และสโมสรโดยทั่วไป
   ปี พ.ศ. 2439 การแข่ งขันกีฬาโอลิมปิ ก ครังที่ 1 ณ กรุ งเอเธนส์
                                             ้
ประเทศกรีก ยิมนาสติกได้ มีการแข่ งขันในโอลิมปิ กครังนีด้วย และมี
                                                     ้ ้
กิจกรรมแข่ งขัน เช่ นวิ่งเร็ว กระโดดสูง กระโดดไกล กระโดดคาถ่ อ พุ่ง
                                                             ้
แหลน ทุ่มนาหนัก ว่ ายนา ราวคู่ ราวเดี่ยว คานทรงตัว และ Free
            ้              ้
exercise
ปี พ.ศ. 2446 ได้ มีการจัดตังสหพันธ์ ยมนาสติกสากลขึน
                                ้          ิ                   ้
(Federation International De Gymnastic) มีช่ ือย่ อว่ า F.I.G. โดยมี
สานักงานใหญ่ อยู่ท่ ีประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ และได้ จัดให้ มีการ
แข่ งขันยิมนาสติกชิงแชมปโลกขึน โดยกาหนดจัดการแข่ งขัน 2 ปี
                           ์      ้
ต่ อครัง้
     ต่ อมาในปี พ.ศ. 2460 หลังจากการแข่ งขันยิมนาสติกชิง
แชมปโลกครั งที่ 7 ก็ได้ เปลี่ยนการแข่ งขันให้ เป็ น 4 ปี ต่ อครัง
      ์      ้                                                   ้
เหมือนกับกีฬาโอลิมปิ ก โดยจะจัดก่ อนโอลิมปิ ก 1 ปี
ในระยะแรกของการแข่ งขันยิมนาสติก จะเป็ นการแข่ งขัน
เฉพาะประเภท ชาย ต่ อมาปี พ.ศ. 2471 จึงจัดให้ มีการแข่ งขัน
ประเภทหญิงด้ วย (ตรงกับโอลิมปิ กครังที่ 9 พ.ศ. 2471)
                                        ้
      ในช่ วงระยะที่กล่ าวมาแล้ ว กิจกรรมของยิมนาสติกที่ใช้ ใน
การแข่ งขันส่ วนหนึ่งก็คล้ ายกับยิมนาสติกปั จจุบัน อีกส่ วนหนึ่งก็
เป็ นกรีฑาในปั จจุบัน บางครังก็มีว่ายนาด้ วย ทางสหพันธ์
                              ้           ้
ยิมนาสติกสากลจึงคิดว่ าควรจะแยกการแข่ งขันยิมนาสติกออก
จากกรีฑา
      ในปี พ.ศ. 2477 เริ่มบรรจุม้ากระโดด (Vaulting horse) และ
บาร์ ต่างระดับ (Uneven bars) เข้ าไว้ ในการแข่ งขันกีฬายิมนาสติก
ด้ วย
ยิมนาสติกสากล
ในปี พ.ศ. 2495 ได้ กาหนดให้ ประเภทชายมี 6 อุปกรณ์ และหญิงมี 4
  อุปกรณ์
        อุปกรณ์ ในประเภทชาย
  1. ฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ (Floor exercise)
  2. ม้ าหู หรื อม้ าหมุน (Pommel horse)
  3. ห่ วง (Rings)
  4. ม้ ากระโดด (Long horse)
  5.บาร์ ค่ ู (Parallel bars)
  6. บาร์ เดี่ยว (Horizontal bar)
อุปกรณ์ ในประเภทหญิง
1. ม้ ากระโดด (Vaulting horse)
2. บาร์ ต่างระดับ (Uneven bers)
3. คานทรงตัว (Balance bars)
4. ฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ (Floor exercise)
      ยิมนาสติกชนิดนีเ้ รียกว่ า ยิมนาสติกสากล
ปั จจุบันกีฬายิมนาสติกในสหรั ฐอเมริกามีผ้ ูนิยมโดย
กว้ างขวาง นอกจากจัดตังกันในรู ปสมาคม และสโมสรสาหรั บ
                         ้
ประชาชนแล้ ว ในสถาบันการศึกษาต่ างๆ ก็มีการฝึ กฝนและ
จัดการแข่ งขันทุกปี ทังประเภทหญิงและประเภทชาย ตังแต่
                      ้                                ้
ระดับชันมัธยมต้ น มัธยมปลาย จนถึงระดับวิทยาลัย และ
           ้
มหาวิทยาลัย การแข่ งขันยิมมนาสติกระดับชาติต่างๆ ใน
สหรั ฐอเมริกาค่ อยๆ มีหลักเกณฑ์ และมีมาตรฐานตามหลักสากล
นิยมขึนทุกขณะ ทังนีเ้ พราะผลอันสืบเนื่องมาจากการมีกติกา
         ้          ้
ยิมนาสติกสากลเป็ นที่หวังได้ ว่าหากมีนิเทศการสอนและครู ผ้ ู
ฝึ กสอนที่พอเพียงแล้ ว ยิมนาสติกของสหรัฐอเมริการก็จะ
กลายเป็ นกีฬาที่มีการเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจอย่ างกว้ างขวาง
ได้ ในอนาคต
ยิมนาสติกลีลาประกอบดนตรี
           ยิมนาสติกได้ มีการพัฒนาปรับปรุ งทังทางด้ านกติกาเทคนิค และ
                                             ้
    วิธีการต่ างๆ จนทาให้ ยมนาสติกเจริญมาจนถึงทุกวันนี ้ และในปี พ.ศ.
                            ิ
    2513 ยิมนาสติกที่มต้นกาเนิดมาจากทางแถบยุโรปตอนเหนือได้ รับความ
                         ี
    นิยมมากขึน จึงทาให้ เกิดเป็ นยิมนาสติกแขนงใหม่ เรียกว่ า ยิมนาสติกลีลา
                ้
    ประกอบดนตรี (Rhythmic Sportive Gymnastic)
           ยิมนาสติกประเภทนี ้ จะมีเฉพาะประเภทหญิงเท่ านัน เป็ นการแสดง
                                                           ้
    บนฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ โดยจะเป็ นการเคลื่อนไหวประกอบเสียงดนตรี และ
    อุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น
1. บอล (Ball)
2. ริบบิน (Ribbin)
         ้
3. คทา หรือคลับ (Club)
4. ห่ วง (Hoop)
5. เชือก (Robe)
ยิมนาสติกทังสองประเภทคือ ยิมนาสติกสากล และ
                  ้
ยิมนาสติกลีลา ประกอบดนตรี จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของ
สหพันธ์ ยมนาสติกสากล
           ิ
ยิมนาสติกายกรรม หรือยิมนาสติกผาดโผน
      ยิมนาสติกกายกรรมถือกาเนิดมาพร้ อมๆ กับยิมนาสติกลีลา
ประกอบดนตรี ยิมนาสติกชนิดนีมิได้ ขนกับสหพันธ์ ยมนาสติก
                               ้        ึ้          ิ
สากล ลักษณะของการเล่ นหรือการแข่ งขันมีทงประเภทเดี่ยว
                                             ั้
ประเภทคู่ และประเภททีม เป็ นลักษณะของการต่ อตัว ผสมกับ
การแสดงท่ ายืดหยุ่น หรือการตีลังกาทังบนฟลอร์ และกลาง
                                      ้
อากาศขณะต่ อตัวในการแสดงประเภทคู่และทีมจะมีเสียงดนตรี
ประกอบ โดยผู้เล่ นจะต้ องแสดงให้ เข้ ากับเสียงดนตรี ตามจังหวะ
อย่ างต่ อเนื่องและกลมกลืน กาหนดเวลาในการแสดง 2-3 นาที
ในประเภทเดี่ยวผู้แสดงจะต้ องแสดงท่ ายืดหยุ่นติดต่ อกัน
เป็ นชุด ชุดละ 4-5 นาที จานวน 3-6 ชุด (ท่ าสมัคร 3 ชุด ท่ าบังคับ
3 ชุด) และจะต้ องแสดงให้ เสร็จสินภายในระยะเวลาที่กาหนดให้
                                   ้
เช่ นเดียวกัน
        การจัดการแข่ งขันนันจะจัดแยกออกต่ างหากซึ่งในการ
                            ้
แข่ งขันกีฬาโอลิมปิ กยังไม่ ได้ บรรจุเข้ าแข่ งขัน แต่ ยมนาสติกชนิด
                                                        ิ
นีเ้ ป็ นที่นิยม และได้ รับความสนใจจากผู้ชมเป็ นอันมาก
ยิมนาสติกกายกรรม หรือยิมนาสติกผาดโผน
เป็ นยิมนาสติกประเภทยืดหยุ่นและต่ อตัว ซึ่งจะมีการต่ อตัวแบบต่ างๆ
ลักษณะคล้ ายกับกายกรรม กีฬาประเภทนียงไม่ แพร่ หลาย และไม่ มีการ
                                             ้ั
แข่ งขันในกีฬาใหญ่ ๆ ซึ่งการแข่ งขันนันจะจัดแยกต่ างหาก ในกีฬา
                                         ้
โอลิมปิ กยังไม่ ได้ บรรจุเข้ าในการแข่ งขัน แต่ ก็เป็ นที่นิยมและได้ รับความ
สนใจจากผู้ชมอย่ างมาก และยิมนาสติกประเภทนีก็ได้ รับความนิยม
                                                       ้
พร้ อมๆ กับยิมนาสติกลีลาประกอบดนตรี
สมาชิกกลุ่ม
ด.ช.ชัยณรงค์ อบเชย              ชันม.2/4
                                  ้           เลขที่   5
ด.ช.สุภเดช       มัยมณี         ชันม.2/4
                                    ้         เลขที่   4
ด.ช.ศักดิ์อนันต์ ผู้มีทรั พย์   ชันม.2/4
                                      ้       เลขที่   8
ด.ช.อนุวัตร      ฆ้ องเลิศ      ชันม.2/4้     เลขที่   11
ด.ช.ธีรศักดิ์ พัฒนเรื องกุล     ชันม.2/4  ้   เลขที่   13

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลกKosamphee Wittaya School
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกเมธี วรรณวงค์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลNu Boon
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's PlantBus Blue Lotus
 

Tendances (20)

แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant๊Unseen in Banrai's Plant
๊Unseen in Banrai's Plant
 

Similaire à ประวัติยิมนาสติก

อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติKorawan Sangkakorn
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 

Similaire à ประวัติยิมนาสติก (10)

อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
 
Occ03
Occ03Occ03
Occ03
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอลโครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
การศึกษาของไทย
การศึกษาของไทยการศึกษาของไทย
การศึกษาของไทย
 

ประวัติยิมนาสติก

  • 1.
  • 2. ยิมนาสติก (Gymnastics) เป็ นกีฬาสากลประเภทหนึ่งที่จัด เข้ าแข่ งขันในกีฬาโอลิมปิ ก ยิมนาสติกมาจากภาษากรีกว่ า Gymnos แปลว่ า Nude ตามความหมายแปลว่ า Necket Art แปล เป็ นไทยว่ า "ศิลปะแห่ งการเปลือยเปล่ า" ซึ่งหมายถึงวิธีการทาให้ ร่ างกายสวยงามมีทรวดทรงดีด้วยวิธีเปลือยกายเล่ นกีฬา และมี การประกวดทรวดทรง พร้ อมกับมีการแข่ งขันกีฬากลางแจ้ งต่ อ หน้ าประชาชน ผู้ท่ ีมีร่างกายสง่ างาม มีความสามารถทางการกีฬาก็จะได้ ชื่อว่ าเป็ นผู้ชนะเลิศ ได้ รับการต้ อนรั บจากประชาชน โดยช่ าง แกะสลักรู ปหินอ่ อนตังไว้ บริเวณรั วสนามกีฬา ้ ้
  • 3. กีฬาประเภทนีเ้ ริ่มต้ นเมื่อใดนันไม่ มีหลักฐานระบุ ้ แน่ ชัด แต่ มาปรากฏก่ อนคริสต์ ศักราช 2,600 ปี ซึ่งเป็ น ระยะเวลาที่ชาวจีนได้ มีการฝึ กฝนท่ ากายบริหารและคิดประดิษฐ์ ท่ าบริหารกายขึนเพื่อใช้ ประโยชน์ ในการบาบัดทางแพทย์ แบบ ้ จีนจากหลักฐานทางประวัตศาสตร์ ระบุว่า ชาวจีนได้ มีการคิดท่ า ิ กายบริหารขึนมาเพื่อบริหารร่ างกายให้ เกิดความแข็งแรง และ ้ ถือว่ าเป็ นการปองกันและรักษาโรคได้ ด้วยเรียกว่ า ยิมนาสติก ้ เพื่อการบริหารร่ างกายและการฟื ้ นฟู นอกจากนันชาวจีนยังมี ้ การละเล่ นกายกรรมในลักษณะของการต่ อตัว ไต่ เชือก และการ ตีลังกาต่ างๆ ซึ่งมีลักษณะเหมือนยิมนาสติกอย่ างหนึ่งใน ปั จจุบัน
  • 4. อย่ างไรก็ตาม เราเชื่อกันว่ าการเริ่มต้ นของกีฬายิมนาสติกอย่ าง แท้ จริงนันคือ สมัยเริ่มต้ นของประวัตศาสตร์ แห่ งชาวกรี กและโรมัน ้ ิ โดยเฉพาะกรี กโบราณเป็ นประเทศแรกที่สนใจและมีบทบาทอันสาคัญ ต่ อกีฬายิมนาสติก แม้ กระทั่งคาว่ ายิมนาสติกก็เป็ นภาษากรี ก แบบหรื อ ระบบของท่ าบริหารร่ างกายท่ าต่ างๆ ที่ใช้ กันในสมัยโรมันก็คดและ ิ ประดิษฐ์ ขนโดยนักศึกษาสมัยโบราณของกรี ก และพลเมืองทั่วทัง ึ้ ้ ประเทศได้ ยดถือเป็ นแบบฉบับหรื อระบบของท่ าบริหารกายมาตรฐาน ึ โดยฝึ กสอนให้ แก่ เยาวชนตามสถาบันทุกแห่ ง ยิมนาสติกในประเทศ กรี กเริ่มต้ นและพัฒนาไปพร้ อมๆ กับวิทยาการด้ านศิลปะและดนตรี ชาวสปาร์ ต้ามีความศรั ทธาเรื่ องยิมนาสติกมากที่สุดโดยรั ฐได้ ตงขอ้ ั้ กาหนดให้ มีการฝึ กหัดยิมนาสติกแก่ เยาวชนของชาติทุกคนตลอดจน เด็กหญิง กิจกรรมประกอบด้ วย ยืดหยุ่น เต้ นรา วิ่ง กระโดด ไต่ เชือก และการเคลื่อนไหวทรงตัว
  • 5. เมื่อจักรวรรดิโรมันมีอิทธิพลเหนือดินแดนกรีก โรมันก็ได้ ลอกแบบกิจกรรมทางพลศึกษาทังหมดไปจากกรีก แต่ ้ ดัดแปลงนาไปใช้ เพื่อฝึ กทหารของตน แต่ ทันทีท่ จักรวรรดิกรีก ี และโรมันเสื่อมลง ทังด้ านวัฒนธรรมและกีฬายิมนาสติกก็เสื่อม ้ โทรมลงไปด้ วย ตลอดจนกิจกรรมทางการออกกาลังกายประเภท ต่ างๆ รวมทังการประกวดก็ถูกทิงไปจนหมด นับเป็ นระยะที่การ ้ ้ พลศึกษาได้ เข้ าสู่ยุคมืดมน (Dark age) ตลอดจนถึงยุคกลาง (Middle age) ระหว่ างศตวรรษที่ 14-16 ครั นเข้ าสู่ยุคฟื ้ นฟู ้ (Renaissance) กิจกรรมทางพลศึกษาก็ค่อยๆ ตื่นตัว และได้ ขยายออกไปสู่ประเทศต่ างๆ ในทวีปยุโรป
  • 6. ในปี พ.ศ. 2266-2333 Johann Basedow แห่ ง เยอรมันนี นักการศึกษาที่สาคัญได้ บรรจุการออกกาลังกาย แบบยิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของโรงเรี ยน เมื่อปี พ.ศ. 2319 ในปี พ.ศ. 2302-2382 นักการศึกษาอีกผู้หนึ่งคือ นาย Johann Guts Muths ซึ่งเป็ นที่ร้ ู จักกันในนาม "คุณปู่ แห่ งกีฬา ยิมนาสติก" ได้ บรรจุวิชายิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของ โรงเรี ยนปรั ชเซีย และท่ านผู้นียังได้ เขียนตาราที่มีคุณค่ าต่ อ ้ การศึกษาาไว้ หลายเล่ ม รวมทังตารายิมนาสติกสาหรับ ้ เยาวชนด้ วย นับว่ าเป็ นตารายิมนาสติกเล่ มแรกของโลก
  • 7. ปี พ.ศ. 2321-2395 นักการพลศึกษาอีกท่ านหนึ่ง คือ Friedrich Jahn เป็ นผู้ก่อตังศูนย์ ฝึกเทิร์นเวอร์ เรี ยน (Turnverein) ้ อันมีแนวโน้ มไปในทางการแสดงออกถึงความรักชาติ โครงการนี ้ ได้ รับความเห็นชอบจากรั ฐบาล ดังนันจึงเจริญรุ่ งเรื องขึนอย่ าง ้ ้ รวดเร็ว ศูนย์ ฝึกดังกล่ าวประกอบด้ วยบริเวณลานฝึ กอันกว้ าง ใหญ่ ผู้เข้ ารั บการฝึ กอบรมจะเข้ าร่ วมได้ ทังครอบครั ว และได้ คิด ้ ประดิษฐ์ เครื่องอุปกรณ์ การฝึ กหลายอย่ าง ในจานวนนีมีเครื่อง้ อุปกรณ์ ยมนาสติกอยู่ด้วยคือ ราวเดี่ยว ราวคู่ ไชค์ ฮอสลองฮอส ิ ชนิดสัน (Buck) ต่ อมาสงครามปลดแอกได้ เสร็จสินลง มีการ ้ ้ เปลี่ยนแปลงผู้บริหารประเทศ และนโยบายการบริ หารประเทศ ได้ เปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมของนาย Friedrich Jahn ถูกเข้ าใจ ผิด จึงถูกจับเข้ าคุกในข้ อหามีแผนการณ์ คดจะล้ มล้ างรั ฐบาล ิ ดังนัน สมาคมเทิร์นเรอร์ เรี ยนซึ่งยังมีคนนิยมอยู่ก็ต้องดาเนินไป ้ อย่ างซ่ อนเร้ น และกระจัดกระจายออกไปสู่ประเทศอื่นๆ ในยุโรป และห้ ามไปสู่สหรั ฐอเมริกาในเวลาต่ อมา
  • 8. ปี พ.ศ. 2353-2401 นักศึกษาที่มีความสาคัญต่ อวงการพล ศึกษาอีกท่ านหนึ่งคือ Adole Spiess ชาวสวิส เป็ นผู้เสนอให้ บรรจุ วิชายิมนาสติกเข้ าไว้ ในหลักสูตรของโรงเรี ยนในประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์ นักการศึกษาทางด้ านพลศึกษาอีกท่ านหนึ่งคือ Pehr Ling ชาวสวีเดนผู้มีความเชื่อว่ ายิมนาสติกมีคุณค่ าทางการบาบัดและ แก้ ไขความบกพร่ องของร่ างกายได้ เขาได้ คิดค้ นท่ าบริหารร่ างกาย ประเภทบุคคลขึน และยังเป็ นผู้คดประดิษฐ์ อุปกรณ์ การออก ้ ิ กาลังกาย อันเป็ นที่ร้ ู จักกันในนามอุปกรณ์ แบบสวีดีช (Swedish Apparatus) รวมทัวราวติดผนังและหีบกระโดดด้ วย ้
  • 9. นักการศึกษาที่มีความสาคัญต่ อวงการพลศึกษาอีกท่ านหนึ่ง คือ Franz Nachtegall ได้ ริเริ่มการตังโรงเรี ยนฝึ กหัดครู ยมนาสติก ้ ิ เป็ นแห่ งแรก ณ เมืองโคเปนเฮเกน วิวัฒนาการของวงการยิมนาสติกในสหรัฐอเมริกา เริ่มขึน ้ พร้ อมๆ กับการพลศึกษาของชาวยุโรปในระยะแรก ชาวยุโรปซึ่ง เคยได้ สังกัดอยู่ในสมาคมเทิร์นเวอร์ เรี ยนเป็ นผู้มีบทบาทสาคัญ ที่สุดคือ นาเอาสมาคมดังกล่ าวเข้ าไปตังในสหรัฐอเมริกา โดยได้ ้ อพยพเข้ าไปตังถิ่นฐานในดินแดนนีใหม่ ครันต่ อมาสมาคมมี ้ ้ ้ สโมสรเพิ่มขึนก็มีความต้ องการครู ผ้ ูสอนเพิ่มขึน ดังนันในปี พ.ศ. ้ ้ ้ 2408 จึงได้ มีการจัดตังวิทยาลัยยิมนาสติกขึนเป็ นแห่ งแรกที่เมือง ้ ้ อินเดียนาโปลิส รั ฐอินเดียนา ชื่อ Normal College of American Gymnastics ในระยะเวลาสองสามปี ต่ อมา สถาบันการศึกษาแห่ ง นีก็สามารถผลิตครู ยมนาสติกผู้มีความสามารถและมีกิจกรรม ้ ิ อื่นๆ อย่ างมากมาย
  • 10. ชาวอเมริกันคนแรกที่มีความสาคัญต่ อวงการยิมนาสติกคือ Dr. Dudlay Sargent ขณะที่เขายังเป็ นนักเรี ยนอยู่นัน ได้ เปน็ครู ้ สอนยิมนาสติกที่วิทยาลัยโบวดอย (Bow Doin College) ภายใน ระยะเวลาเพียง 2 ปี เขาได้ บรรจุกิจกรรมประเภทนีเ้ ข้ าไว้ ใน หลักสูตรของระดับวิทยาลัยอย่ างเป็ นทางการ ต่ อมาได้ ไปอยู่ ณ มหาวิทยาลัยเยลและย้ ายจากมหาวิทยาลัยเยลไปอยู่ มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ในตาแหน่ งผู้อานวยการเฮเมนเวย์ ยิมเนเซียม ซึ่ง Dr. Sargent ได้ คิดอุปกรณ์ ยมนาสติกขึนหลาย ิ ้ อย่ าง รวมทังรอกนาหนัก (Pulley weights) และเครื่องมือบริหาร ้ ้ ขาและนิวมือ และยังเป็ นผู้พัฒนาระบบทดสอบความสามารถ ้ ของมนุษย์ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพทางร่ างการยของเด็ก นักเรียนด้ วย
  • 11. สมาคม Y.M.C.A. ในสหรั ฐอเมริกา ก็นับว่ าเป็ นสถาบันที่มี ความสาคัญต่ อวงการยิมนาสติกเช่ นกัน กล่ าวคือ ทางสถาบันได้ จัดกิจกรรมเข้ าไว้ รวมกับโปรแกรมทางพลศึกษาประเภทอื่นๆ ด้ วย สมาคมทุกแห่ งได้ ตดตังเครื่องอุปกรณ์ ยมนาสติกไว้ ในโรง ิ ้ ิ ยิมเนเซียมเพื่อบริการแก่ สมาชิก และมีครู ผ้ ูสอนด้ านนีโดยตรง ้ โรงเรี ยนฝึ กหัดครู ยมนาสติกของ Y.M.C.A. แห่ งแรกคือที่ ิ สปริงฟิ ลด์ มลรั ฐแมสซาชูเซตส์ บุคลากรผู้ริเริ่มให้ การพลศึกษา เคลื่อนไหวไปได้ อย่ างขนานใหญ่ ควบคู่ไปกับแนวการศึกษาก็คือ Dr. Luther Gulick
  • 12. ครันต่ อมาในระยะสงครามโลกครังที่ 2 เกิดมีกิจกรรมทางการกีฬา ้ ้ ใหม่ ๆ เกิดขึนหลายชนิด ดังนัน กิจกรรมทางยิมนาสติกจึงได้ รับความ ้ ้ สนใจ และมีการปรับปรุ งเพื่อให้ ทันสมัย ทาให้ ยมนาสติกได้ กลายเป็ น ิ กีฬาที่มีกฎกติกาอย่ างสมบูรณ์ และมีการแข่ งขันระหว่ างมหาวิทยาลัย โรงเรียน และสโมสรโดยทั่วไป ปี พ.ศ. 2439 การแข่ งขันกีฬาโอลิมปิ ก ครังที่ 1 ณ กรุ งเอเธนส์ ้ ประเทศกรีก ยิมนาสติกได้ มีการแข่ งขันในโอลิมปิ กครังนีด้วย และมี ้ ้ กิจกรรมแข่ งขัน เช่ นวิ่งเร็ว กระโดดสูง กระโดดไกล กระโดดคาถ่ อ พุ่ง ้ แหลน ทุ่มนาหนัก ว่ ายนา ราวคู่ ราวเดี่ยว คานทรงตัว และ Free ้ ้ exercise
  • 13. ปี พ.ศ. 2446 ได้ มีการจัดตังสหพันธ์ ยมนาสติกสากลขึน ้ ิ ้ (Federation International De Gymnastic) มีช่ ือย่ อว่ า F.I.G. โดยมี สานักงานใหญ่ อยู่ท่ ีประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ และได้ จัดให้ มีการ แข่ งขันยิมนาสติกชิงแชมปโลกขึน โดยกาหนดจัดการแข่ งขัน 2 ปี ์ ้ ต่ อครัง้ ต่ อมาในปี พ.ศ. 2460 หลังจากการแข่ งขันยิมนาสติกชิง แชมปโลกครั งที่ 7 ก็ได้ เปลี่ยนการแข่ งขันให้ เป็ น 4 ปี ต่ อครัง ์ ้ ้ เหมือนกับกีฬาโอลิมปิ ก โดยจะจัดก่ อนโอลิมปิ ก 1 ปี
  • 14. ในระยะแรกของการแข่ งขันยิมนาสติก จะเป็ นการแข่ งขัน เฉพาะประเภท ชาย ต่ อมาปี พ.ศ. 2471 จึงจัดให้ มีการแข่ งขัน ประเภทหญิงด้ วย (ตรงกับโอลิมปิ กครังที่ 9 พ.ศ. 2471) ้ ในช่ วงระยะที่กล่ าวมาแล้ ว กิจกรรมของยิมนาสติกที่ใช้ ใน การแข่ งขันส่ วนหนึ่งก็คล้ ายกับยิมนาสติกปั จจุบัน อีกส่ วนหนึ่งก็ เป็ นกรีฑาในปั จจุบัน บางครังก็มีว่ายนาด้ วย ทางสหพันธ์ ้ ้ ยิมนาสติกสากลจึงคิดว่ าควรจะแยกการแข่ งขันยิมนาสติกออก จากกรีฑา ในปี พ.ศ. 2477 เริ่มบรรจุม้ากระโดด (Vaulting horse) และ บาร์ ต่างระดับ (Uneven bars) เข้ าไว้ ในการแข่ งขันกีฬายิมนาสติก ด้ วย
  • 15. ยิมนาสติกสากล ในปี พ.ศ. 2495 ได้ กาหนดให้ ประเภทชายมี 6 อุปกรณ์ และหญิงมี 4 อุปกรณ์ อุปกรณ์ ในประเภทชาย 1. ฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ (Floor exercise) 2. ม้ าหู หรื อม้ าหมุน (Pommel horse) 3. ห่ วง (Rings) 4. ม้ ากระโดด (Long horse) 5.บาร์ ค่ ู (Parallel bars) 6. บาร์ เดี่ยว (Horizontal bar)
  • 16. อุปกรณ์ ในประเภทหญิง 1. ม้ ากระโดด (Vaulting horse) 2. บาร์ ต่างระดับ (Uneven bers) 3. คานทรงตัว (Balance bars) 4. ฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ (Floor exercise) ยิมนาสติกชนิดนีเ้ รียกว่ า ยิมนาสติกสากล
  • 17. ปั จจุบันกีฬายิมนาสติกในสหรั ฐอเมริกามีผ้ ูนิยมโดย กว้ างขวาง นอกจากจัดตังกันในรู ปสมาคม และสโมสรสาหรั บ ้ ประชาชนแล้ ว ในสถาบันการศึกษาต่ างๆ ก็มีการฝึ กฝนและ จัดการแข่ งขันทุกปี ทังประเภทหญิงและประเภทชาย ตังแต่ ้ ้ ระดับชันมัธยมต้ น มัธยมปลาย จนถึงระดับวิทยาลัย และ ้ มหาวิทยาลัย การแข่ งขันยิมมนาสติกระดับชาติต่างๆ ใน สหรั ฐอเมริกาค่ อยๆ มีหลักเกณฑ์ และมีมาตรฐานตามหลักสากล นิยมขึนทุกขณะ ทังนีเ้ พราะผลอันสืบเนื่องมาจากการมีกติกา ้ ้ ยิมนาสติกสากลเป็ นที่หวังได้ ว่าหากมีนิเทศการสอนและครู ผ้ ู ฝึ กสอนที่พอเพียงแล้ ว ยิมนาสติกของสหรัฐอเมริการก็จะ กลายเป็ นกีฬาที่มีการเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจอย่ างกว้ างขวาง ได้ ในอนาคต
  • 18. ยิมนาสติกลีลาประกอบดนตรี ยิมนาสติกได้ มีการพัฒนาปรับปรุ งทังทางด้ านกติกาเทคนิค และ ้ วิธีการต่ างๆ จนทาให้ ยมนาสติกเจริญมาจนถึงทุกวันนี ้ และในปี พ.ศ. ิ 2513 ยิมนาสติกที่มต้นกาเนิดมาจากทางแถบยุโรปตอนเหนือได้ รับความ ี นิยมมากขึน จึงทาให้ เกิดเป็ นยิมนาสติกแขนงใหม่ เรียกว่ า ยิมนาสติกลีลา ้ ประกอบดนตรี (Rhythmic Sportive Gymnastic) ยิมนาสติกประเภทนี ้ จะมีเฉพาะประเภทหญิงเท่ านัน เป็ นการแสดง ้ บนฟลอร์ เอ็กเซอร์ ไซส์ โดยจะเป็ นการเคลื่อนไหวประกอบเสียงดนตรี และ อุปกรณ์ ต่างๆ เช่ น 1. บอล (Ball) 2. ริบบิน (Ribbin) ้ 3. คทา หรือคลับ (Club) 4. ห่ วง (Hoop) 5. เชือก (Robe)
  • 19. ยิมนาสติกทังสองประเภทคือ ยิมนาสติกสากล และ ้ ยิมนาสติกลีลา ประกอบดนตรี จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของ สหพันธ์ ยมนาสติกสากล ิ ยิมนาสติกายกรรม หรือยิมนาสติกผาดโผน ยิมนาสติกกายกรรมถือกาเนิดมาพร้ อมๆ กับยิมนาสติกลีลา ประกอบดนตรี ยิมนาสติกชนิดนีมิได้ ขนกับสหพันธ์ ยมนาสติก ้ ึ้ ิ สากล ลักษณะของการเล่ นหรือการแข่ งขันมีทงประเภทเดี่ยว ั้ ประเภทคู่ และประเภททีม เป็ นลักษณะของการต่ อตัว ผสมกับ การแสดงท่ ายืดหยุ่น หรือการตีลังกาทังบนฟลอร์ และกลาง ้ อากาศขณะต่ อตัวในการแสดงประเภทคู่และทีมจะมีเสียงดนตรี ประกอบ โดยผู้เล่ นจะต้ องแสดงให้ เข้ ากับเสียงดนตรี ตามจังหวะ อย่ างต่ อเนื่องและกลมกลืน กาหนดเวลาในการแสดง 2-3 นาที
  • 20. ในประเภทเดี่ยวผู้แสดงจะต้ องแสดงท่ ายืดหยุ่นติดต่ อกัน เป็ นชุด ชุดละ 4-5 นาที จานวน 3-6 ชุด (ท่ าสมัคร 3 ชุด ท่ าบังคับ 3 ชุด) และจะต้ องแสดงให้ เสร็จสินภายในระยะเวลาที่กาหนดให้ ้ เช่ นเดียวกัน การจัดการแข่ งขันนันจะจัดแยกออกต่ างหากซึ่งในการ ้ แข่ งขันกีฬาโอลิมปิ กยังไม่ ได้ บรรจุเข้ าแข่ งขัน แต่ ยมนาสติกชนิด ิ นีเ้ ป็ นที่นิยม และได้ รับความสนใจจากผู้ชมเป็ นอันมาก
  • 21. ยิมนาสติกกายกรรม หรือยิมนาสติกผาดโผน เป็ นยิมนาสติกประเภทยืดหยุ่นและต่ อตัว ซึ่งจะมีการต่ อตัวแบบต่ างๆ ลักษณะคล้ ายกับกายกรรม กีฬาประเภทนียงไม่ แพร่ หลาย และไม่ มีการ ้ั แข่ งขันในกีฬาใหญ่ ๆ ซึ่งการแข่ งขันนันจะจัดแยกต่ างหาก ในกีฬา ้ โอลิมปิ กยังไม่ ได้ บรรจุเข้ าในการแข่ งขัน แต่ ก็เป็ นที่นิยมและได้ รับความ สนใจจากผู้ชมอย่ างมาก และยิมนาสติกประเภทนีก็ได้ รับความนิยม ้ พร้ อมๆ กับยิมนาสติกลีลาประกอบดนตรี
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27. สมาชิกกลุ่ม ด.ช.ชัยณรงค์ อบเชย ชันม.2/4 ้ เลขที่ 5 ด.ช.สุภเดช มัยมณี ชันม.2/4 ้ เลขที่ 4 ด.ช.ศักดิ์อนันต์ ผู้มีทรั พย์ ชันม.2/4 ้ เลขที่ 8 ด.ช.อนุวัตร ฆ้ องเลิศ ชันม.2/4้ เลขที่ 11 ด.ช.ธีรศักดิ์ พัฒนเรื องกุล ชันม.2/4 ้ เลขที่ 13