SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบการโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางหรือ
ปลายทางโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ ดาวเทียม ควบคุมการส่งและการไหล
ของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
1. ข่าวสาร (Message) ในทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร ข่าวสารเป็นข้อมูล
ที่ผู้ส่งทาการส่งไปยังผู้รับผ่านระบบการสื่อสาร ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ ดังต่อไปนี้
2. ผู้ส่ง (sender) เป็น อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่อยู่ต้นทาง
โดยข้อมูลต้องถูกจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์ ส่งข้อมูลเช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์ โมเด็ม (modem)
จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม เป็นต้น
3. ผู้รับ (receiver)เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจากอุปกรณ์
ส่งข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ โมเด็ม จานดาวเทียม
เป็นต้น เพื่อนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป
4. สื่อกลางหรือตัวกลาง (media) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่นาข่าวสารรูปแบบต่างๆ
จากผู้ส่งไปยังผู้รับ ได้แก่สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก เป็นต้น
สื่อกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นดาวเทียม คลื่นวิทยุ เป็นต้น
5. โพรโตคอล (protocol) เป็นตัวกาหนดคุณลักษณะ กฎระเบียบ
หรือวิธีการที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกัน และสามารถ
สื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารของข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ
1. แบบทิศทางเดียว (Simplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว”
(One-way Communication)เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่
ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับ
มาได้เช่น การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ การเผยแพร่ภาพและรายการต่างๆของ
สถานีโทรทัศน์ เป็นต้น
2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใด
ทางหนึ่ง (Either-way Communication) เป็นทิศทางการสื่อสาร
ข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้2 ทิศทาง แต่จะ
ไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุ
สื่อสารแบบผลัดกันพูด
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง
(Both-way Communication) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบ
ที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทางในเวลาเดียวกัน เช่น
ระบบโทรศัพท์ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน
ไม่ต้องกดสวิตซ์ เพื่อเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
โพรโทคอล
ข้อกาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการ
สื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ
เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะ
สามารถติดต่อและส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โพรโทคอลจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับ
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ที่ต้องใช้ภาษาเดียวกันจึงจะสามารถสื่อสารกัน
ได้เข้าใจ
การกาหนดมาตรฐานของการสื่อสารข้อมูลนั้น นับว่ามีความจาเป็น
อย่างมากซึ่งอุปกรณ์ทั้งหมดเหล่านั้นจะต้องทางานเข้ากันได้อย่างราบรื่น
การกาหนดมาตรฐานต่างๆ นั้นจะเริ่มตั้งแต่โครงสร้างพื้นฐานของฮาร์ดแวร์
ระบบเครือข่าย เพื่อเป็นการรับประกันว่าส่วนประกอบต่างๆ จะสามารถ
ทางานร่วมกันได้ ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ระบบเครือข่าย จะต้องทาตาม
คาแนะนาตามมาตรฐานการออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์
ซึ่งกาหนดขึ้นโดย องค์กรมาตรฐานสากล (International
Organization for Standardization – ISO) โดยมาตรฐานที่
กาหนดขึ้นและได้ประกาศใช้ตั้งแต่ปี คศ.1984 เรียกว่า Open Systems
Interconnection Reference Model เรียกสั้นๆ ว่า OSI
Reference Model หรือ ISO/OSI Model
มาตรฐานของโพรโทคอล
การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยฝ่ายผู้ส่งและผู้รับ และจะเริ่มด้วยฝ่าย
ผู้ส่งซึ่งจะส่งข้อมูลข่าวสารโดยผ่านชั้นมาตรฐาน 7 ชั้น เรียงตามลาดับดังนี้
1) ชั้นประยุกต์ (application)เพื่อแปลงข้อมูลที่อยู่ในภาษาที่มนุษย์เข้าใจไปเป็น
ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจโดยมีการระบุถึงคอมพิวเตอร์ผู้รับและผู้ส่ง
2) ชั้นนาเสนอ (presentation)ซึ่งจะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่
โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูล
ของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ
3) ชั้นส่วนงาน (session) เพื่อกาหนดขอบเขตการสนทนา คือ กาหนดจุดผู้รับและ
ผู้ส่งโดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการสนทนาว่าเป็นแบบพูดทีละคน หรือพูดพร้อมกัน
4) ชั้นขนส่ง (transport) ซึ่งจะทาการตรวจสอบและป้องกันข้อมูลไม่ให้เกิด
ข้อผิดพลาด และจะเพิ่มเติมตาแหน่งและลาดับของข้อมูล
5) ชั้นเครือข่าย (network) ซึ่งจะทาหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปของกลุ่มข้อมูล
(data packet) โดยจะเพิ่มเติมลาดับที่ของกลุ่มข้อมูลและที่อยู่ของเครื่องผู้ใช้
6) ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (data link) ซึ่งจะแนะนาช่องสื่อสารระหว่างกัน และมี
การสาเนาข้อมูลไว้จนกว่าจะส่งถึงมือผู้รับ
7) ชั้นกายภาพ (physical) ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิทัล
ให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
เมื่อข้อมูลผ่านขั้นตอนทั้ง 7 แล้วจะถูกนาไปเก็บไว้ในส่วนที่ทาหน้าที่ดูแล
การจราจรบนเครือข่าย เพื่อส่งไปยังเครื่องผู้รับซึ่งต้องผ่านมาตรฐานทั้ง 7 เช่นกัน
แต่จะเป็นไปในทางตรงข้าม
โครงสร้างของเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบเมซ ((Mesh Network)
เป็น Topology ที่ถือว่าป้องกันการผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับ
ระบบได้ดีที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากเราเดินสาย Cable ไปเชื่อม ต่อกับ Station
ทุก Station โดยเมื่อสายจาก Station ใดเกิดมีปัญหาขึ้นก็จะยังสามารถ
ใช้สายอื่นที่เหลืออีกได้ ระบบนี้ยากต่อการ เดินสายและมีราคาแพงมาก
จึงยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก
โครงสร้างแบบสตาร์ ( (Star Network)
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว (Star network) เป็นการเชื่อมต่อสาย
สื่อสารจากคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องไปยังฮับ (hub) หรือ สวิตช์ (switch) ซึ่ง
เป็นอุปกรณ์สลับสายกลางแบบจุดต่อจุดเป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อ วงจร
เชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ติดต่อสื่อสารถึงกัน
โครงสร้างของเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส ((Bus Network)
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (bus network) เป็นการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่ปลายทั้งสองด้านปิดด้วย
อุปกรณ์ที่เรียกว่า Terminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใด เครื่องหนึ่ง เป็น
ศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทางาน ก็ไม่มีผลกับ
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ
ในเครือข่าย การรับส่งสัญญาณบนสายสัญญาณต้องตรวจสอบสายสัญญาณBUS
ให้ว่างก่อน จึงจะสามารถส่งสัญญาณไปบนสาย BUS ได้
โครงสร้างของเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Topology)
การเชื่อต่อเครือข่ายแบบวงแหวน (ring network)การเชื่อมต่อ
แบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร
ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจาก
เครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้าง
แบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทา ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้
โครงสร้างของเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบผสม (Hybrid Topology)
เครือข่ายแบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลาย
ส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นาเอาเครือข่ายร ะบบ Bus ระบบ Ring และ ระบบ
Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสาหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่
ให้สามารถทางานร่วมกัน
โครงสร้างของเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายแบบต้นไม้ ((Tree Topology)
ลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบ
ต้นไม้โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบ
นี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ระดับ
ต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะ
มีโหนดแม่และโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่าน
ตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่ง
ข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
โครงสร้างของเครือข่าย
ประเภทของเครือข่าย
1.เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคาร
เดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคาร
สานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วย
ความเร็วสูง และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมา
ให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ
ร่วมกัน
2. เครือข่ายเมือง (Metropolises Area Network :MAN)
เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้
ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การเชื่อมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่าย
สาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขา
เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็ว
ในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่าย
แวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม
เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล
ประเภทของเครือข่าย
ประเภทของเครือข่าย
3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN)
เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งาน
ทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน
อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ในการ
เชื่อมการติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ
การสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการ
ติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่ง
ข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
ประเภทของเครือข่าย
4.เครือข่ายอินเทอร์เน็ต(Internet)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นจานวนมากครอบคลุมไปทั่วโลกโดยอาศัยโครงสร้าง
ระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอินเทอร์เน็ตเป็นทั้งเครือข่าย
ของคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายของเครือข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อย
เป็นจานวนมากต่อเชื่อมเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานเดียวกันจนเป็นสังคมเครือข่ายขนาดใหญ่
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีผู้ใดเป็นเจ้าของ ทาให้การเข้าสู่เครือข่ายเป็นไปได้
อย่างเสรีภายใต้กฎเกณฑ์บางประการที่กาหนดขึ้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
1.โมเด็ม (Modems)
เป็นอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภายนอกได้
อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สาหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์
ของคุณสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทางานของคุณให้
สาเร็จได้ก็ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่
หนึ่งซึ่งโมเด็มจะทาการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบน
คู่สายโทรศัพท์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
2.ฮับ หรือ รีพีทเตอร์ (Hub, Repeater)
เป็นอุปกรณ์ที่ทวน และขยายสัญญาณ เพื่อส่งต่อไปยังอุปกรณ์อื่น ให้ได้
ระยะทางที่ยาวไกลขึ้น ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลก่อนและหลัง การรับ - ส่ง และไม่มีการ
ใช้ซอฟท์แวร์ใดๆ มาเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ชนิดนี้ การติดตั้งจึงทาได้ง่าย ข้อเสียคือ ความเร็ว
ในการส่งข้อมูล จะเฉลี่ยลดลงเท่ากันทุกเครื่อง เมื่อมีคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อมากขึ้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
3.สวิทช์ หรือ บริดจ์ (Switch, Bridge)
เป็นอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เครือข่ายท้องถิ่น หรือ แลน (LAN) ประเภทเดียวกัน
ใช้โปรโตคอลเดียวกัน สองวงเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet
LAN) หรือ โทเคนริงก์แลน (Token Ring LAN) ทั้งนี้ สวิทช์ หรือ บริดจ์ จะมี
ความสามารถในการเชื่อมต่อ ฮาร์ดแวร์ และตรวจสอบข้อผิดพลาด ของการส่งข้อมูลได้ด้วย
ความเร็วในการส่งข้อมูล ก็มิได้ลดลง และติดตั้งง่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
4.เร้าเตอร์ (Router )
เป็นอุปกรณ์ที่ทางานคล้าย สวิทช์ แต่จะสามารถเชื่อมต่อ ระบบที่ใช้สื่อ หรือ
สายสัญญาณต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ อีเธอร์เน็ตแลน (Ethernet LAN) ที่ส่งข้อมูล
แบบยูทีพี (UTP: Unshield Twisted Pair) เข้ากับ อีเธอร์เน็ตอีกเครือข่าย แต่ใช้
สายแบบโคแอ็กเชียล (Coaxial cable) ได้นอกจากนี้ยังช่วยเลือก หรือกาหนดเส้นทาง
ที่จะส่งข้อมูลผ่าน และแปลงข้อมูลให้เหมาะสมกับการนาส่ง แน่นอนว่าการติดตั้งย่อมยุ่งยาก
มากขึ้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
5. เกทเวย์ (Gateway)
เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุด ในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยไม่มี
ขีดจากัด ทั้งระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโปรโตคอล จะแตกต่างกันออกไป
เกทเวย์จะแปลงโปรโตคอล ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่ต่างชนิดกัน จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีราคา
แพง และติดตั้งใช้งานยุ่งยาก เกตเวย์บางตัว จะรวมคุณสมบัติในการเป็น เร้าเตอร์ ด้วยในตัว
หรือแม้กระทั่ง อาจรวมเอาฟังก์ชั่นการทางาน ด้านการรักษาความปลอดภัย ที่เรียกว่า ไฟร์
วอลล์(Firewall) เข้าไว้ด้วย
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล
การสื่อสารทุกชนิดต้องอาศัยสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูลเพื่อนาข้อมูลไป
ยังจุด หมายปลายทาง เช่น การคุยโทรศัพท์อาศัยสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลางใน
การส่งสัญญาณคลื่นเสียงไปยัง ผู้รับ เป็นต้น สาหรับการติดต่อสื่อสารระหว่าง
คอมพิวเตอร์อาจใช้สายเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์ เชื่อมต่อหรืออาจใช้อุปกรณ์
เชื่อมต่อแบบไร้สายเป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อก็ ได้สื่อกลางในการสื่อสารมี
ความสาคัญ เพราะเป็นปัจจัยหนึ่งที่กาหนดประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น
ความเร็วในการส่งข้อมูล ปริมาณของข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ได้ในหนึ่งหน่วย
เวลา รวมถึงคุณภาพของการส่งข้อมูล เราจะกล่าวถึงสื่อกลางในการสื่อสารทั้งใน
แบบใช้สายและแบบไร้สาย
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบใช้สาย
1.สายคู่บิดเกลียว (twister pair cable)
สายนาสัญญาณแบบนี้แต่ละคู่สายที่เป็นสายทองแดงจะถูกพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลด
การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอย่างคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกัน หรือจาก
ภายนอก ทาให้สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูล
จานวนมากเป็นระยะทางไกล ได้หลายกิโลเมตร เนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูล
ได้ดี น้าหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงนิยมใช้งานอย่างกว้างขวาง
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบใช้สาย
2) สายโคแอกซ์ (coaxial cable)
เป็นสายนาสัญญาณที่เรารู้จักกันดี โดยใช้เป็นสายนาสัญญาณที่ต่อจากเสาอากาศ
เครื่องรับโทรทัศน์หรือสายเคเบิลทีวี ตัวสายประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหนึ่ง
เส้นหุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกัน กระแสไฟรั่ว จากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนาซึ่งทาจากลวดทองแดง
ถักเป็นร่างแหเพื่อป้องกันการ รบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอื่นๆ ก่อน
จะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนพลาสติก และนิยมใช้เป็นสายนาสัญญาณแอนะล็อกเพื่อเชื่อมต่อ
อุปกรณ์ภาพและเสียง (audio-video devices) ต่างๆ ภายในบ้านและสานักงาน
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบใช้สาย
3) สายไฟเบอร์ออพติก (fiber-optic cable)
ประกอบด้วยกลุ่มของเส้นใยทาจากแก้วหรือพลาสติกที่มีขนาดเล็กประมาณเส้นผล แต่
ละเส้นจะมีแกนกลาง (core) ที่ถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุใยแก้วอีกชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่า แคล็ดดิง
(cladding) และหุ้มอีกชั้นด้วยฉนวนเพื่อป้องกันการกระแทกและฉีกขาด
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบไร้สาย
1.อินฟราเรด
สื่อกลางประเภทนี้มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัว ส่ง และ
ตัวรับสัญญาณ เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังเครื่องรับโทรทัศน์หรือวิทยุ
การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์โดยผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ (The Infrared
Data Association: IrDA) ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะใกล้
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบไร้สาย
2) ไมโครเวฟ
เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ใช้สาหรับการเชื่อมต่อระยะไกล โดยการส่ง
สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และต้องมีสถานีที่ทา
หน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยว
ตามความโค้งของ ผิวโลกได้จึงต้องมีการตั้งสถานีรับส่งข้อมูลเป็นระยะ และส่งข้อมูลต่อกัน
ระหว่างสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เพื่อหลีกเลี่ยง
การชนสิ่งกีดขวางในแนวการเดินทางของสัญญาณ
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบไร้สาย
3) คลื่นวิทยุ
เป็นสื่อกลางที่ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยสามารถส่งในระยะทางได้ทั้งใกล้และ
ไกล โดยมีตัวกระจายสัญญาณ (broadcast) ส่งไปยังตัวรับสัญญาณ และใช้คลื่นวิทยุ
ในช่วงความถี่ต่างๆ กันในการส่งข้อมูล เช่น การสื่อสารระยะไกลในการกระจายเสียงวิทยุ
ระบบเอเอ็ม (Amplitude Modulation: AM) และเอฟเอ็ม (Frequency
Modulation: FM) หรือการสื่อสารระยะใกล้ โดยใช้ไวไฟ (Wi-Fi) และบลูทูธ
(Bluetooth)
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล : สื่อกลางแบบไร้สาย
4) ดาวเทียมสื่อสาร
พัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับส่งไมโครเวฟบนผิวโลกโดยเป็น
สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอากาศ ในการส่งสัญญาณต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทา
หน้าที่รับและส่งสัญญาณขึ้นไปบน ดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงกว่าพื้นโลกประมาณ 35,600
กิโลเมตร โดยดาวเทียมเหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลก จึง
เสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งกับที่ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทาให้การส่งสัญญาณ
ไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียม และการกระจายสัญญาณลงมายังสถานีตามจุด
ต่างๆบนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
1.การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการส่งข้อมูล
แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้แบ่งข้อมูลออกเป็น
ชุด ๆ เมื่อเริ่มต้นส่งข้อมูลแต่ละชุดจะมีสัญญาณบอกจุดเริ่มต้นของข้อมูลขนาด 1 บิต
(start bit) และมีสัญญาณบอกจุดสิ้นสุดของข้อมูลขนาด 1 บิต (stop bit)
ตัวอย่างเช่น ถ้าขนาดข้อมูลแต่ละชุดมีขนาด 8 บิต ลักษณะของการส่งข้อมูลจะมีลาดับ
ดังนี้คือ สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นขนาด 1 บิต ข้อมูล 8 บิต และสัญญาณบอกจุดสิ้นสุด 1 บิต
ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ เช่น การส่งข้อมูลของแป้นพิมพ์ และโมเด็ม
เป็นต้น
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
2.การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่
ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ เหล่านั้น
การส่งข้อมูลวิธีนี้จะไม่มีช่องว่าง (gap) ระหว่างข้อมูลแต่ละชุด และไม่มี
สัญญาณบอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ นิยม ใช้
กับ การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการส่งข้อมูลปริมาณมาก ๆ ด้วย
ความเร็วสูง
วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล
1.การส่งแบบขนาน (parallel transmission)
คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา โดย
การส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิตเข้าเป็นกลุ่มจานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้งละ n
บิต ผู้รับจะรับครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุยเราจะพูดเป็น
คา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษร
กลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่งครั้งละ n บิต ต้องใช้
สาย n เส้น แต่ละบิตมีสายของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณ
นาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่งออกไปยังอุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล
2.การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission)
จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดูเหมือนว่าบิต
ต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง
ข้อดีของการส่งข้อมูลแบบอนุกรม คือการใช้ช่องทางการสื่อสารเพียง 1 ช่อง
ทาให้ลดค่าใช้จ่ายลง แต่ข้อเสียคือ ความเร็วของการส่งที่ต่า ตัวอย่างของการส่ง
ข้อมูลแบบอนุกรม เช่น โมเด็มจะใช้การส่งแบบอนุกรมเนื่องจากในสัญญาณ
โทรศัพท์มีสายสัญญาณเส้นเดียว และอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน
อ้างอิง
https://amata20120813914194.wordpress.com/2012/09/13/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9
%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%
E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%
B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-3-%E0%B8%A3%E0%B8%B0
https://www.l3nr.org/posts/414147
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_datacom3.htm
https://sites.google.com/site/brrcngiphone/kar-suxsar-khx-mul-laea-kherux-
khay/prapheth-khxng-kherux-khay-lan-man-wan
http://neung.kaengkhoi.ac.th/networdICT/potoca1.html
สมาชิก
นายธรรมรัฐ นวลมีชื่อ เลขที่ 3
นางสาวสุทธิพร ปั้นหลวง เลขที่ 24
นางสาวชลัญธร สืบกลัด เลขที่ 25
นางสาวอังคณา หนูวัฒนา เลขที่ 26
นางสาววิลาวัลย์นิกรพล เลขที่ 35
นางสาวศิริณัฐ สรรสม เลขที่ 36
นางสาวสุพิชญา ประทุมเทือง เลขที่ 37
นางสาวอาชานีย์วิเศษสิงห์ เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาที่ 5/1
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Contenu connexe

Tendances

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์Sujit Chuajine
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 

Tendances (20)

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similaire à ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์wutichai koedklang
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computerphaisack
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Weina Fomedajs
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Weina Fomedajs
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Chinaphop Viriyakit
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Nipat Deenan
 

Similaire à ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Network Computer
Network ComputerNetwork Computer
Network Computer
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 

Plus de Sirinat Sansom

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นSirinat Sansom
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพSirinat Sansom
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพSirinat Sansom
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระSirinat Sansom
 
Windows holographic-แว่นไฮเทค
Windows holographic-แว่นไฮเทคWindows holographic-แว่นไฮเทค
Windows holographic-แว่นไฮเทคSirinat Sansom
 

Plus de Sirinat Sansom (9)

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
 
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
เส้นทางการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
Windows holographic-แว่นไฮเทค
Windows holographic-แว่นไฮเทคWindows holographic-แว่นไฮเทค
Windows holographic-แว่นไฮเทค
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
ข่าว It-new
ข่าว It-newข่าว It-new
ข่าว It-new
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์