SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
สมบัติวรรณคดีไทย
๑. มนุษย์กับศิลปะ
๑.๑ มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นเพื่อบำารุงจิตใจให้สดชื่นรื่นเริง พอตาพอใจในสิ่งสวยงาม
ไพเราะ
๑.๒ ศิลปะมีสื่อแสดงต่างๆ กัน เช่น
ภาพวาด แสดงโดย ใช้เส้น แสง และ สี
ดนตรี แสดงโดย ใช้เสียง และ จังหวะ
วรรณกรรม แสดงโดย ใช้ภาษาเป็นสื่อ
๒. วรรณกรรมและวรรณคดี
๒.๑ สิ่งที่ใช้จำาแนก “วรรณคดี” ออกจาก “วรรณกรรม” มี ๒ ประการคือ
๑) กาลเวลา (สมัยรัชกาลที่ ๖ เป็นจุดแบ่งระหว่างงานเขียนรูปแบบ
เดิมกับงานเขียนสมัยใหม่)
๒) กลุ่มบุคคลที่กล่าวยกย่องไว้ (คณะกรรมการวรรณคดีสโมสรสมัยรัชกาล
ที่ ๖)
๒.๒ วรรณคดีจำาแนกออกเป็น ๒ ประเภท ตามแหล่งกำาเนิด คือ
๑) วรรณคดีท้องถิ่นมักถ่ายทอดเป็นมุขปาฐะ (ถ่ายทอดกันปากต่อปาก)
๒) วรรณคดีในราชสำานักมักถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษร
๓. จินตนาการในวรรณคดี
๓.๑ การสร้างภาพขึ้นในใจโดยกำาหนดจากสิ่งที่เคยพบเห็นในชีวิตจริงแล้ว
ใช้ความคิดคำานึงสร้างให้กว้างขวางลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น เรียกว่าจินตนาการ
๓.๒ กวีสร้างจินตนาการเพื่อดึงดูดความสนใจให้เนื้อเรื่องสนุกสนาน ตื่นเต้น
เร้าใจยิ่งขึ้น
๓.๓ กวีสร้างจินตนาการโดยวิธีเพิ่มเติมอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ให้กับตัวละครหรือ
เหตุการณ์ในเรื่อง
๓.๔ เราควรอ่านวรรณคดีอย่างไร
ไม่คาดหวังเอาแต่ข้อเท็จจริงแต่พยายามเข้าให้ถึงคุณค่าของงานเขียน
๔. คุณค่าของวรรณคดี
๔.๑ คุณค่าสำาคัญของวรรณคดี คือสิ่งกล่อมเกลามนุษย์ให้รู้จักความงาม
ความดี และ ความเป็นจริงของชีวิต
๔.๒ บทบาทสำาคัญของวรรณคดี คือสร้างความบันเทิงใจและความจรรโลงใจ
๔.๓ ความผ่องแผ้วชื่นบานมีจิตใจและอารมณ์ที่กล่อมเกลาแล้วหมายถึง ความ
จรรโลงใจ
๔.๔ ความรู้สึก ความคิดหรือความเชื่อของมนุษย์ว่าสิ่งใดมีความหมายหรือมีความ
สำาคัญต่อตนหรือกลุ่มของตน เป็นสิ่งกำาหนดพฤติกรรมของบุคคลในการเลือก
กระทำา เป็นความหมายของ ค่านิยม
๔.๕ คุณค่าของวรรณคดีแบ่งเป็น ๒ ด้าน คือ
ด้านอารมณ์ วิเคราะห์ได้จากเสียงของคำาและความอิ่มอารมณ์ที่ได้รับ
จากการอ่าน
ด้านคุณธรรม กวีอาจสอดแทรกไว้โดย
๑) บอกไว้ในเรื่องโดยตรง
๒) สรุปได้จากผลที่ตัวละครได้รับจากการกระทำานั้นๆ
๓) สอดแทรกไว้ในบทวิเคราะห์ วิจารณ์
๕. ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย
๕.๑ "วรรณศิลป์" หมายถึง ศิลปะ หรือ กวีโวหารที่กวีเลือกสรรคำามาใช้ในบท
ประพันธ์
๕.๒ กลวิธีการประพันธ์ที่กล่าวไว้ในสมบัติวรรณคดีมี ๓ ลักษณะ คือ การเล่น
เสียง การเล่นคำา และ การสร้างภาพพจน์
๕.๓ การเล่นเสียง คือ การสรรคำาให้มีสัมผัสเป็นพิเศษกว่าปกติให้เกิดเสียงไพเราะ
น่าฟังเพื่อแสดงฝีมือกวี มี ๓ ลักษณะ
๑) จับเจาเจ่าเจ้า/จั่นจรรจา เป็นการเล่นเสียง พยัญชนะ
๒) ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู เป็นการเล่นเสียง สระ
๓) จาจ่าจ้า / คอยค่อยค้อยเป็นการเล่นเสียง วรรณยุกต์
๕.๔การเล่นคำา คือ การสรรคำาโดยพลิกแพลงให้เกิดความหมายพิเศษแปลกออกไป
จากปกติ มี ๓ ลักษณะ คือ
๑) คำาพ้องรูป/พ้องเสียง เช่น ลิงไต่กะไดลิงลิงโลดคว้าประสาลิง
๒) ซำ้าคำาเพื่อตอกยำ้าความสำานึก เช่น ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรามี
๓) ใช้คำาถามเพื่อให้ย้อนคิด เช่น ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้
๕.๕ การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ถ้อยคำาเพื่อสร้างจินตภาพแก่ผู้อ่านโดยวิธี
๑) การเปรียบเทียบโดยใช้คำาประดุจ เสมือน ราวกับ
เป็นการเปรียบเทียบแบบ อุปมา เช่น
ปัญญาประดุจดังอาวุธ
ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง
ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา
สูงระหงทรงเพรียวเรียว
ลูด
พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่
ตา
คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย
หูกลวงดวงพักตร์หักงอ
สองเต้าห้อยตุงดังถุง
ตะเคียว
เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์
อม
งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า
สองแก้มกัลยาดังลูกยอ
จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ
ลำาคอโตตันสั้นกลม
โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม
มันน่าเชยน่าชมนางเทวี
๒) การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ใช้คำา "คือ" หรือ "เป็น" เป็นการ
เปรียบเทียบแบบ อุปลักษณ์ เช่น
ทหารเป็นรั้วของชาติ
เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด
เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์
ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
ครูคือแม่พิมพ์ของชาติ
๓) การสมมุติสิ่งไม่มีชีวิต หรือ นามธรรมให้แสดงความรู้สึกนึกคิดได้
เป็นการสร้างภาพพจน์ที่เรียกว่า บุคคลวัต เช่น
มองซิ..มองทะเล
บางครั้งมันบ้าบิ่น
ทะเลไม่เคยหลับใหล
บางครั้งยังสะอื้น
เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน
กระแทกหินดังครืนครืน
ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น
ทะเลมันตื่นอยู่รำ่าไป
๔) การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น
บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว
อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
ลูกหมาร้อง บ๊อก ๆ ๆ ลูกนกร้อง จิ๊บ ๆ ๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ
เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด
ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำารวลสรวลสันต์
คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
นำ้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียงกังวาน
มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม
๖.เนื้อหาสาระของวรรณคดี
เนื้อหาวรรณคดีจำาแนกตามวัตถุประสงค์ในการแต่งได้เป็น ๖ ประเภท คือ
๖.๑วรรณคดีพุทธศาสนา มุ่งแสดงหลักคำาสอนและให้ทำาความดีละเว้นความชั่ว
เช่น ไตรภูมิพระร่วง มหาเวสสันดรชาดก
๖.๒วรรณคดีประวัติศาสตร์ แสดงเรื่องราวและเหตุการณ์ในอดีต เช่น ราชาธิราช
ลิลิตตะเลงพ่าย สามก๊ก
๖.๓วรรณคดีสุภาษิตคำาสอน มุ่งแสดงแนวทางในการประพฤติปฏิบัติในสังคม เช่น
สุภาษิตพระร่วง โคลงโลกนิติ
๖.๔วรรณคดีขนบประเพณีและพิธีกรรม เรื่องเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ
เช่น โองการแช่งนำ้า พระราชพิธีสิบสองเดือน
๖.๕วรรณคดีเพื่อความบันเทิง เป็นเรื่องแต่งเพื่อความสนุกเพลิดเพลินและเพื่อการ
แสดง เช่น พระอภัยมณี สังข์ทอง รามเกียรติ์
๖.๖วรรณคดีบันทึกเหตุการณ์/การเดินทาง บรรยายสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ
ผู้คน ธรรมชาติตามเส้นทาง และถ่ายทอดความรู้สึกของกวี เช่น นิราศภูเขาทอง

More Related Content

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (19)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 

ใบความรู้สมบัติวรรณคดีไทย

  • 1. สมบัติวรรณคดีไทย ๑. มนุษย์กับศิลปะ ๑.๑ มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นเพื่อบำารุงจิตใจให้สดชื่นรื่นเริง พอตาพอใจในสิ่งสวยงาม ไพเราะ ๑.๒ ศิลปะมีสื่อแสดงต่างๆ กัน เช่น ภาพวาด แสดงโดย ใช้เส้น แสง และ สี ดนตรี แสดงโดย ใช้เสียง และ จังหวะ วรรณกรรม แสดงโดย ใช้ภาษาเป็นสื่อ ๒. วรรณกรรมและวรรณคดี ๒.๑ สิ่งที่ใช้จำาแนก “วรรณคดี” ออกจาก “วรรณกรรม” มี ๒ ประการคือ ๑) กาลเวลา (สมัยรัชกาลที่ ๖ เป็นจุดแบ่งระหว่างงานเขียนรูปแบบ เดิมกับงานเขียนสมัยใหม่) ๒) กลุ่มบุคคลที่กล่าวยกย่องไว้ (คณะกรรมการวรรณคดีสโมสรสมัยรัชกาล ที่ ๖) ๒.๒ วรรณคดีจำาแนกออกเป็น ๒ ประเภท ตามแหล่งกำาเนิด คือ ๑) วรรณคดีท้องถิ่นมักถ่ายทอดเป็นมุขปาฐะ (ถ่ายทอดกันปากต่อปาก) ๒) วรรณคดีในราชสำานักมักถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษร ๓. จินตนาการในวรรณคดี ๓.๑ การสร้างภาพขึ้นในใจโดยกำาหนดจากสิ่งที่เคยพบเห็นในชีวิตจริงแล้ว ใช้ความคิดคำานึงสร้างให้กว้างขวางลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น เรียกว่าจินตนาการ ๓.๒ กวีสร้างจินตนาการเพื่อดึงดูดความสนใจให้เนื้อเรื่องสนุกสนาน ตื่นเต้น เร้าใจยิ่งขึ้น ๓.๓ กวีสร้างจินตนาการโดยวิธีเพิ่มเติมอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ให้กับตัวละครหรือ เหตุการณ์ในเรื่อง ๓.๔ เราควรอ่านวรรณคดีอย่างไร ไม่คาดหวังเอาแต่ข้อเท็จจริงแต่พยายามเข้าให้ถึงคุณค่าของงานเขียน ๔. คุณค่าของวรรณคดี ๔.๑ คุณค่าสำาคัญของวรรณคดี คือสิ่งกล่อมเกลามนุษย์ให้รู้จักความงาม ความดี และ ความเป็นจริงของชีวิต ๔.๒ บทบาทสำาคัญของวรรณคดี คือสร้างความบันเทิงใจและความจรรโลงใจ ๔.๓ ความผ่องแผ้วชื่นบานมีจิตใจและอารมณ์ที่กล่อมเกลาแล้วหมายถึง ความ จรรโลงใจ ๔.๔ ความรู้สึก ความคิดหรือความเชื่อของมนุษย์ว่าสิ่งใดมีความหมายหรือมีความ สำาคัญต่อตนหรือกลุ่มของตน เป็นสิ่งกำาหนดพฤติกรรมของบุคคลในการเลือก กระทำา เป็นความหมายของ ค่านิยม ๔.๕ คุณค่าของวรรณคดีแบ่งเป็น ๒ ด้าน คือ ด้านอารมณ์ วิเคราะห์ได้จากเสียงของคำาและความอิ่มอารมณ์ที่ได้รับ จากการอ่าน ด้านคุณธรรม กวีอาจสอดแทรกไว้โดย ๑) บอกไว้ในเรื่องโดยตรง
  • 2. ๒) สรุปได้จากผลที่ตัวละครได้รับจากการกระทำานั้นๆ ๓) สอดแทรกไว้ในบทวิเคราะห์ วิจารณ์ ๕. ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ๕.๑ "วรรณศิลป์" หมายถึง ศิลปะ หรือ กวีโวหารที่กวีเลือกสรรคำามาใช้ในบท ประพันธ์ ๕.๒ กลวิธีการประพันธ์ที่กล่าวไว้ในสมบัติวรรณคดีมี ๓ ลักษณะ คือ การเล่น เสียง การเล่นคำา และ การสร้างภาพพจน์ ๕.๓ การเล่นเสียง คือ การสรรคำาให้มีสัมผัสเป็นพิเศษกว่าปกติให้เกิดเสียงไพเราะ น่าฟังเพื่อแสดงฝีมือกวี มี ๓ ลักษณะ ๑) จับเจาเจ่าเจ้า/จั่นจรรจา เป็นการเล่นเสียง พยัญชนะ ๒) ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู เป็นการเล่นเสียง สระ ๓) จาจ่าจ้า / คอยค่อยค้อยเป็นการเล่นเสียง วรรณยุกต์ ๕.๔การเล่นคำา คือ การสรรคำาโดยพลิกแพลงให้เกิดความหมายพิเศษแปลกออกไป จากปกติ มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) คำาพ้องรูป/พ้องเสียง เช่น ลิงไต่กะไดลิงลิงโลดคว้าประสาลิง ๒) ซำ้าคำาเพื่อตอกยำ้าความสำานึก เช่น ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรามี ๓) ใช้คำาถามเพื่อให้ย้อนคิด เช่น ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ ๕.๕ การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ถ้อยคำาเพื่อสร้างจินตภาพแก่ผู้อ่านโดยวิธี ๑) การเปรียบเทียบโดยใช้คำาประดุจ เสมือน ราวกับ เป็นการเปรียบเทียบแบบ อุปมา เช่น ปัญญาประดุจดังอาวุธ ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา สูงระหงทรงเพรียวเรียว ลูด พิศแต่หัวจรดเท้าขาวแต่ ตา คิ้วก่งดังก่งเขาดีดฝ้าย หูกลวงดวงพักตร์หักงอ สองเต้าห้อยตุงดังถุง ตะเคียว เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์ อม งามละม้ายคล้ายอูฐกะหลาป๋า สองแก้มกัลยาดังลูกยอ จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ ลำาคอโตตันสั้นกลม โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม มันน่าเชยน่าชมนางเทวี ๒) การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ใช้คำา "คือ" หรือ "เป็น" เป็นการ เปรียบเทียบแบบ อุปลักษณ์ เช่น ทหารเป็นรั้วของชาติ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
  • 3. ครูคือแม่พิมพ์ของชาติ ๓) การสมมุติสิ่งไม่มีชีวิต หรือ นามธรรมให้แสดงความรู้สึกนึกคิดได้ เป็นการสร้างภาพพจน์ที่เรียกว่า บุคคลวัต เช่น มองซิ..มองทะเล บางครั้งมันบ้าบิ่น ทะเลไม่เคยหลับใหล บางครั้งยังสะอื้น เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน กระแทกหินดังครืนครืน ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น ทะเลมันตื่นอยู่รำ่าไป ๔) การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว อ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียงส่งเสียงร้อง เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย ลูกหมาร้อง บ๊อก ๆ ๆ ลูกนกร้อง จิ๊บ ๆ ๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำารวลสรวลสันต์ คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง นำ้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียงกังวาน มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม ๖.เนื้อหาสาระของวรรณคดี เนื้อหาวรรณคดีจำาแนกตามวัตถุประสงค์ในการแต่งได้เป็น ๖ ประเภท คือ ๖.๑วรรณคดีพุทธศาสนา มุ่งแสดงหลักคำาสอนและให้ทำาความดีละเว้นความชั่ว เช่น ไตรภูมิพระร่วง มหาเวสสันดรชาดก ๖.๒วรรณคดีประวัติศาสตร์ แสดงเรื่องราวและเหตุการณ์ในอดีต เช่น ราชาธิราช ลิลิตตะเลงพ่าย สามก๊ก ๖.๓วรรณคดีสุภาษิตคำาสอน มุ่งแสดงแนวทางในการประพฤติปฏิบัติในสังคม เช่น สุภาษิตพระร่วง โคลงโลกนิติ ๖.๔วรรณคดีขนบประเพณีและพิธีกรรม เรื่องเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ เช่น โองการแช่งนำ้า พระราชพิธีสิบสองเดือน ๖.๕วรรณคดีเพื่อความบันเทิง เป็นเรื่องแต่งเพื่อความสนุกเพลิดเพลินและเพื่อการ แสดง เช่น พระอภัยมณี สังข์ทอง รามเกียรติ์ ๖.๖วรรณคดีบันทึกเหตุการณ์/การเดินทาง บรรยายสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของ ผู้คน ธรรมชาติตามเส้นทาง และถ่ายทอดความรู้สึกของกวี เช่น นิราศภูเขาทอง