SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
“การโน้ มน้ าวใจ”
1.ความหมาย การโน้ มน้ าวใจ
การโน้ มน้ าวใจ คือ การพยายามทาให้บุคคลอื่นเปลี่ยนการกระทา หรื อทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยมต่างๆ
โดยใช้กลวิธีที่เหมาะสมให้เกิดการยอมรับและเปลียนพฤติกรรมซึ่งรวมถึงทัศนคติ ค่ านิยม ความเชื่ อ และการ
่
กระทา
การเขียนโน้ มน้ าวใจ เป็ นการเขียนที่ตองการให้ผอ่านเปลี่ยนแปลงความคิด ทัศนคติ ความเชื่อ หรื อ
้
ู้
พฤติกรรม ให้คล้อยตามความคิดของผูเ้ ขียน เช่น การเขียนให้คนบริ จาคเงินเพื่อสาธารณกุศล การเขียนเพื่อให้คน
เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน เป็ นต้น
การเขียนโน้มน้าวใจอาจปรากฏในรู ปแบบต่างๆ เช่น ในรู ปแบบของการโฆษณา การหาเสี ยงเลือกตั้ง และ
การเชิญชวน เป็ นต้น
2. ความต้ องการขั้นพืนฐานของมนุษย์ กบการโน้ มน้ าวใจ
้
ั
ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เป็ นแรงผลักดันให้ มนุษย์ สร้ างทัศนคติ ความเชื่อ และค่ านิยม รวมทั้งมี
พฤติกรรมต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของตน ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ตามทฤษฎีของมาสโลว์ มี ๕
ระดับ คือ
ทฤษฏี Maslow’s Hierarchy of needs Theory แบ่ งลาดับความต้ องการของมนุษย์ ไว้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ความต้ องการทางด้ านร่ างกาย (Physiological needs) ความต้องการในขั้นนี้เป็ นความต้องการ
พื้นฐานของมนุษย์ เป็ นความต้องการขั้นพื้นฐาน (Basic needs) ซึ่งมีพลังมากที่สุดเพราะเป็ นความต้องการที่
จาเป็ นต่อการดารงชี วต ตัวอย่างเช่น ความต้องการอากาศ อาหาร ยารักษาโรค หากความต้องการขั้นแรกยัง
ิ
ไม่ได้รับการตอบสนองก็ยากที่จะพัฒนาสู่ ข้ นอื่นๆ ได้
ั
ขั้นที่ 2 ความต้ องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and security needs) ความต้องการในขั้นนี้ จะเกิดเมื่อ
ขั้นแรกได้รับการตอบสนอง ความต้องการในขั้นนี้เป็ นความต้องการที่จะรักษาความปลอดภัยในชีวตและ
ิ
ทรัพย์สินของตนเอง หากไม่ได้รับการตอบสนองหากไม่ได้รับการตอบสนองจะเกิดความรู ้สึกหวาดกลัว
ผวา รู ้สึกไม่มนคง
ั่
ขั้นที่ 3 ความต้ องการความรัก และความเป็ นเจ้ าของ (Belonging and love needs) เมื่อ 2 ขั้นแรกได้รับการ
สนองความต้องการแล้ว มนุษย์จะสร้างความรักและความผูกพันกับผูอื่น
้
ขั้นที่ 4 ความต้ องการการได้ รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs) แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ได้แก่
- ความต้ องการนับถือตนเอง (Self-respect) คือ ความต้องการมีอานาจ มีความเชื่ อมันในตนเอง มี
่
ความสามารถและความสาเร็ จ มีความเคารพนับถือตนเอง
- ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือ (Esteem from others) คือ ความต้องการชื่ อเสี ยงเกียรติยศ การ
ยอมรับยกย่องจากผูอื่น
้
ขั้นที่ 5 ความต้ องการทีจะเข้ าใจประจักษ์ ตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs) เป็ นความต้องการ
่
เพื่อตระหนักรู ้ความสามารถของตนกับประพฤติปฏิบติตนตามความสามารถ และสุ ดความสามารถ โดย
ั
เพ่งเล็งประโยชน์ของคนอื่นและของสังคมส่ วนรวมเป็ นสาคัญ
ดังนั้นหลักสาคัททีสุดในการโน้ มน้ าวใจคือ ต้องทาให้มนุษย์ประจักษ์ชดแก่ใจตนเองว่า ถ้าเชื่อและเห็นคุณค่า
่
ั
หรื อกระทาตามที่ผโน้มน้าวชี้แจงหรื อชักนาแล้ว ก็จะได้รับผลตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของตนนันเอง
ู้
่
3. กลวิธีการโน้ มน้ าวใจ
การโน้มน้าวใจทาได้หลายวิธี ที่สาคัญ ได้แก่
3.1 แสดงให้ ประจักษ์ ถึงความน่ าเชื่ อถือของผู้โน้ มน้ าวใจ บุคคลที่จะได้รับความเชื่อถือจากบุคคลอื่นจะต้อง
มีความรู้จริ ง มีคุณธรรม และมีความปรารถนาดีต่อผูอื่น การโน้มน้าวใจจึงต้องทาให้ผรับสารเห็นคุณลักษณะที่ดี
้
ู้
เหล่านี้ของผูโน้มน้าวใจ เพื่อจะได้เกิดความเชื่ อถือ และยินดีปฏิบติตามด้วยตนเอง
้
ั
แนวทางการปฏิบติให้มีลกษณะดังกล่าว อาจทาได้โดย
ั
ั
ขั้นที่ ๑ ทาตนให้มีคุณสมบัติดงกล่าวจริ ง
ั
ขั้นที่ ๒ หาวิธีที่จะทาให้บุคคลที่ตองการโน้มน้าวใจประจักษ์ในคุณลักษณะดังกล่าว
้
คือ
๒.๑ การแสดงว่ ามีความรู้ จริ ง อาจทาได้โดยอธิบายเรื่ องราวได้ละเอียดลออ ถูกต้อง แม่นยา แสดง
ความรู ้ได้ลุ่มลึกชัดเจน
๒.๒ การแสดงว่ ามีคุณธรรม อาจทาได้โดยการเล่าประสบการณ์จริ งที่แสดงให้เห็นถึงความมี
คุณธรรมต่างๆ
่
๒.๓ การแสดงความปรารถนาดีต่อผู้อน อาจทาได้โดยการให้คามันสัญญาที่อยูในวิสัยที่ปฏิบติได้
ื่
ั
่
ซึ่ งแสดงความปรารถนาดีของตนหรื อชี้ให้เห็นความห่วงใย ชี้ให้เห็นแนวทางปฏิบติที่เป็ นประโยชน์ต่อผูปฏิบติ
ั
้ ั
3.2. แสดงให้ เห็นความหนักแน่ นของเหตุผล มนุษย์เป็ นสิ่ งมีชีวตประเภทเดียวที่รู้จกใช้เหตุผล บุคคลยิงมี
ิ
ั
่
ปั ญญาสู งยิงคล้อยตามคาโน้มน้าวใจอันขาดเหตุผลของบุคคลอื่นได้ยาก เพราะฉะนั้นเพื่อให้การโน้มน้าวประสบ
่
่
่ ั
ความสาเร็ จ ผูโน้มน้าวใจต้องแสดงให้ประจักษ์วา เรื่ องที่ตนกาลังโน้มน้าวอยูน้ น มีเหตุผลหนักแน่น และมีค่าควร
้
แก่การยอมรับอย่างแท้จริ ง
3.3. แสดงให้ ประจักษ์ ถึงความรู้ สึกหรืออารมณ์ ร่วมกัน บุคคลที่มีความรู ้สึกหรื ออารมณ์ร่วมกันย่อมคล้อย
ตามกันได้ง่ายกว่าบุคคลที่มีความรู ้สึกเป็ นปฏิปักษ์ต่อกัน ตัวอย่างของความรู ้สึกหรื ออารมณ์ร่วมกัน เช่น มีความนิยม
เชื่อถือในสิ่ งเดียวกัน มีความเคารพรักต่อบุคคลหรื อสถาบันเดียวกัน มีความรังเกียจในสิ่ งเดียวกัน เป็ นต้น
3.4. แสดงให้ เห็นทางเลือกทั้งด้ านดีและด้ านเสี ย การโน้มน้าวใจให้ผอื่นเกิดความคิดนึ กเชื่อถือปฏิบติตามที่
ู้
ั
ผูโน้มน้าวใจต้องการนั้น ตามธรรมดาที่จะต้องมีทางเลือกหลายทาง ในการนี้หากผูโน้มน้าวใจแสดงแต่เฉพาะด้านดี
้
้
ของแนวทางที่ตนต้องการ อาจสัมฤทธิ์ ผลได้ยาก ถ้าชี้ให้เห็นด้านไม่ดีดวย เพื่อให้ผถูกโน้มน้าวใจมีโอกาสใช้
้
ู้
่
วิจารณญาณของตนเองเปรี ยบเทียบจนประจักษ์วาทางที่ช้ ี แนะนั้นด้านดีมีมากกว่า เช่นนี้แล้วก็จะทาให้การโน้มน้าว
ใจสัมฤทธิผลได้
3.5. สร้ างความหรรษาแก่ ผ้ ูรับสาร การโน้มน้าวใจในเรื่ องบางเรื่ องหากเอาจริ งเอาจังเกิน
ไปแล้ว การโน้มน้าวใจจะไม่ได้ผล แต่ถาใช้วธีการแบบทีเล่นทีจริ งหรื อใช้อารมณ์ขนบ้างอาจได้ผลดีเพราะเปลี่ยน
้ ิ
ั
่
บรรยากาศที่เคร่ งเครี ยดให้เป็ นบรรยากาศที่ผอนคลาย ทาให้ผรับสารเปลี่ยนสภาพอารมณ์จากการต่อต้านมาเป็ น
ู้
ความรู้สึกกลางๆ พร้อมที่จะคล้อยตามได้
่
3.6. เร้ าให้ เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า เมื่อมนุษย์เกิดอารมณ์ข้ ึนอย่างแรงกล้า ไม่วาดีใจ เสี ยใจ โกรธแค้น วิตก
กังวล หวาดกลัว หรื อพะว้าพะวัง อารมณ์เหล่านี้มกทาให้มนุษย์ไม่ใช้เหตุผลอย่างถี่ถวน ขาดความพินิจพิจารณาถึง
ั
้
ความถูกต้อง ความเหมาะ ความควร ขาดสติหลงลืมตัวไปชัวคราว เป็ นเหตุให้คล้อยตามผูโน้มน้าวใจได้ง่าย
้
่
4. ภาษาทีโน้ มน้ าวใจ
่
ภาษาที่โน้มน้าวใจต้องไม่เป็ นการบังคับ ควรเป็ นไปในเชิงเสนอแนะ ขอร้อง เร้าใจ รู้จกใช้คาสื่ อความหมาย
ั
ได้ตรงตามความต้องการ ควรมีจงหวะและความนุ่มนวล อาจใช้ถอยคาสั้นๆ กระชับ ชัดเจน อาจมีคาคล้องจองกัน
ั
้
เช่น คาขวัญ
ตัวอย่างคาขวัท
่
- มีหนังสื อเหมือนมีมิตร ช่วยชูจิตให้ผองใส
- หนังสื อคือประทีปส่ องทาง ให้ความสว่างสร้างปั ญญา
ั
- มีป่าบารุ งดี เหมือนมีกลปพฤกษ์สี่มุมเมือง
- อากาศปลอดพิษ ชีวตปลอดภัย
ิ
- รถราจะไม่ติดขัด ถ้าเราปฏิบติตามกฎจราจร
ั
- น้ ามันแพงนัก ช่วยกันพร้อมพลัก ประหยัดเชื้อเพลิง
่
- บ้านเมืองสะอาด เพราะชนในชาติช่วยกันรักษา
- บ้านเมืองสะอาด เป็ นเครื่ องประกาศว่าคนเจริ ญ
- ใส่ ใจลูกสักนิด ลูกจะไม่ติดยา
- ยาเสพย์ติดเป็ นพิษแก่ตน กลายเป็ นคนสิ้ นคิด ชีวิตต้องอับปาง
5. การพิจารณาสารโน้ มน้ าวใจในลักษณะต่ างๆ
ในการพิจารณาวิเคราะห์สารโน้มน้าวใจ สิ่ งแรกที่ควรพิจารณา คือ การจับเจตนาของ
ผูส่งสารว่ามีจุดมุ่งหมายจะให้เกิดประโยชน์แก่ผที่ตนโน้มน้าว หรื อเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมว่ามีหรื อไม่
้
ู้
ลักษณะของสารโน้ มน้ าวใจ สารโน้มน้าวใจที่พบเสมอมี 3 ชนิด ดังนี้
5.1. คาเชิทชวน เป็ นการแนะนาให้ช่วยกันกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม
โดยจะปรากฏต่อสาธารณชนในรู ปแบบของใบประกาศ แผ่นปลิว โปสเตอร์ หรื ออาจจะเป็ นการบอกกล่าวด้วยวาจา
ทางเครื่ องขยายเสี ยงทางวิทยุหรื อโทรทัศน์ ผูส่งสารจะบ่งบอกจุดประสงค์อย่างชัดเจน และชี้ให้เห็นประโยชน์
้
รวมทั้งบอกวิธีปฏิบติดวย โดยใช้กลวิธีช้ ีให้ผถูกโน้มน้าวใจเกิดความภูมิใจว่าถ้าปฏิบติตามคาเชิ ญชวนจะเป็ นผูทา
ั ้
ู้
ั
้
ประโยชน์แก่ส่วนรวม และเป็ นที่ยอมรับอย่างมีเกียรติในสังคม
5.2. โฆษณาสิ นค้ าหรือโฆษณาบริการ เป็ นการส่ งสารโน้มน้าวใจต่อสาธารณชนเพื่อ
ประโยชน์ในการขายสิ นค้าหรื อบริ การต่างๆ แก่สาธารณชนเหล่านั้น มีลกษณะดังนี้
ั
5.2.1 ใช้ ถ้อยคาแปลกใหม่ สะดุดหู สะดุดตา สะดุดใจ ผูรับสารเป็ นสาคัญ อาจเป็ นคา สัมผัสอักษร
้
คาเลียนเสี ยงธรรมชาติ หรื อคาที่สร้างขึ้นโดยไม่สมเหตุสมผลมุ่งเพียงความแปลกใหม่
5.2.2 ใช้ ประโยคหรือวลีส้ ั นๆ ที่ทาให้ผอื่นรับสารได้อย่างฉับพลัน แต่ฉาบฉวย
ู้
5.2.3 เนื้ อหาจะชี้ให้เห็นถึงคุณภาพอันดีเลิศของสิ นค้าหรื อบริ การที่นาเสนอ มักใช้ คาเกินความเป็ น
จริง
5.2.4 ใช้ กลวิธีโน้ มน้ าวใจโดยชี้ ให้เห็นว่า สิ นค้าหรื อบริ การที่นาเสนอนั้นเป็ นสิ่ งที่สนองความ
ต้ องการขั้นพืนฐานของมนุษย์
้
5.2.5 เนือหาของสารโฆษณามักขาดเหตุผลทีหนักแน่ นและรัดกุม ขาดความถูกต้องในทางวิชาการ
้
่
5.2.6 การนาเสนอสารใช้วธีการโฆษณาทางสื่ อชนิดต่ างๆ ซ้าๆ กันหลายครั้งหลายวันเป็ น
ิ
ระยะเวลาพอสมควรก็จะดัดแปลงสารนั้นใหม่เพื่อเรี ยกร้องความสนใจ
การโฆษณาสิ นค้าและบริ การมีท้ งประโยชน์และโทษต่อสังคม ดังนี้
ั
ประโยชน์ ของการโฆษณา คือ
-. ทาให้สาธารณชนได้ร้ ู จักสิ นค้ าหรื อบริ การหลายอย่างหลายประเภท
-. ทาให้ผซ้ื อเลือกสิ นค้ าสนองความต้องการของตนได้
ู้
-. ทาให้สินค้ามีราคาถูก หากสิ นค้านั้นเป็ นที่รู้จกแพร่ หลาย
ั
-. การโฆษณาสิ นค้า และบริ การผ่านสื่ อมวลชน จะต้องซื้ อเนื้ อที่และเวลาจากสื่ อมวลชน
ทาให้สื่อมวลชนมีรายได้ และสามารถนาเสนอรายการบันเทิงและสาระความรู ้ต่างๆ อันเป็ นประโยชน์แก่
สาธารณชน
โทษของการโฆษณา คือ
-. ทาให้ประชาชนเกิดความเข้ าใจผิดหรือหลงผิด ตัดสิ นใจซื้ อสิ นค้าและบริ การที่ไม่เหมาะแก่ความจาเป็ น
ของตน
-. การแข่งขันของบริ ษทต่างๆ ทาให้ราคาต้ นทุนการผลิตสู งเป็ นผลให้ราคาสิ นค้าสู งขึ้นตามไปด้วย
ั
-. การใช้ภาษาโฆษณาที่มุ่งแต่ความแปลกใหม่ จนไม่ระวังความถูกต้องอาจทาให้ ภาษาวิบัติเสี ยคุณค่าทาง
เอกลักษณ์ และวัฒนธรรมบางอย่างที่สาคัญของชาติ
5.3. โฆษณาชวนเชื่อ เป็ นการพยายามโดยจงใจมีเจตนาที่จะเปลี่ยนความเชื่อและการกระทาของบุคคล
จานวนมาก ให้เป็ นไปตามความต้องการของตน ด้วยกลวิธีต่างๆ โดยไม่คานึงถึงความถูกต้องและข้อเท็จจริ ง
การโฆษณาชวนเชื่อมี ๒ ชนิด คือ โฆษณาชวนเชื่อเชิงการค้า โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง
การโฆษณาชวนเชื่อ เป็ นการพยายามโดยเจตนาที่จะเปลี่ยนความเชื่อ และเปลี่ยนการกระทาของบุคล
จานวนมากให้เป็ นไปในทางที่ฝ่ายตนต้องการด้วยกลวิธีต่างๆ โดยไม่คานึงถึงคุณธรรม จริ ยธรรม และความถูกต้อง
ตามเหตุผลและข้อเท็จจริ ง ผูโน้มน้าวใจลักษณะนี้มีเจตนาหลอกลวงไปในทางหายนะมากกว่าทางด้านวัฒนะ นันคือ
้
่
ไม่ประสงค์ดี มักใช้กลวิธี ดังนี้
5.3.1. ตราชื่อ คือ การใช้กลวิธีการเบนความสนใจของผูรับสารไปจากเหตุผลและข้อเท็จจริ ง
้
เพื่อให้ผคนทัวไปหมดความเชื่อถือในตัวบุคคลหรื อสถาบันฝ่ ายตรงข้าม มักใช้การหาคาพูดมาเรี ยกชื่อต่างๆ เพื่อให้
ู้ ่
ผูรับสารเกิดมโนภาพว่าบุคคลเหล่านั้นมีลกษณะไม่พึงประสงค์
้
ั
5.3.2. ใช้ คาหรู หราเพือให้ ผ้ ูฟังเกิดความเลือมใสศรัทธา โดยไม่ได้ใช้ความคิดไตร่ ตรองตรวจสอบความ
่
่
ถูกต้องเหมาะสม
5.3.3. อ้ างบุคคลหรือสถาบัน เพื่อให้ผฟังเกิดทัศนะที่ดี เกิดความนิยมชมชอบ นโยบาย หลักการ หรื อ
ู้
อุดมการณ์ของตน ผูฟังที่ไม่ย้งคิดย่อมตกหลุมพรางของผูชวนเชื่อได้
้
ั
้
5.3.4. ทาเหมือนชาวบ้ านธรรมดา เพื่อนาความคิดของตนไปโยงกับชาวบ้านให้เกิดความกลมกลืน ทาให้
ผูฟังเชื่อใจคล้อยตาม
้
5.3.5. อ้างแต่ ประโยชน์ ส่วนตนและอ้างคนส่ วนใหท่ เพื่อให้ผฟังคิดว่าหากตนไม่เชื่อตามจะกลายเป็ นคน
ู้
ประหลาดเพราะคนส่ วนใหญ่น้ นมีความคิดดังกล่าว
ั
การโน้มน้าวใจจะถูกเรี ยกว่า โฆษณาชวนเชื่อ หากการโน้มน้าวใจนั้นมีเจตนาลวงกลบเกลื่อน หรื อ
ปิ ดบังไม่ให้ผรับสารได้รับความรู ้ ความจริ ง และเหตุผลที่จาเป็ นต้องรู้ จนอาจไม่ใช้สมรรถภาพในการคิดและการ
ู้
พิจารณาเหตุผลของตนจนสามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้องในเรื่ องต่างๆ ผูรับสารควรมีวิจารณญาณในการฟังและผูพด
้
้ ู
ควรมีเจตนาที่ดีในการโน้มน้าวใจเพื่อให้เกิดผลดี สารโฆษณาชวนเชื่อทางการค้าที่พบ เช่น โฆษณาขายยาที่อาง
้
่
สรรพคุณมากมายซึ่ งไม่ผานการรับรองจากหน่วยงานที่ได้มาตรฐาน การโฆษณารักษาโรคแบบชาวบ้านที่ไม่
น่าเชื่อถือ สาหรับการชวนเชื่ อทางการเมือง เช่น การเผยแพร่ ลทธิ ของผูก่อการร้ายหรื อก่อวินาศกรรมซึ่ งก่อให้เกิด
ั
้
ความเสี ยหายแก่บุคคลและสังคมเป็ นสาคัญ
6. หลักการเขียนโน้ มน้ าวใจ
หลักการเขียนโน้มน้าวใจควรคานึงถึงหลักต่างๆ ดังนี้
6.1 การวิเคราะห์ ผ้ ูอ่าน ผูเ้ ขียนจะต้องวิเคราะห์ผอ่านว่า มีลกษณะอย่างไร เช่น เพศ วัย การศึกษา อาชีพ ฐานะ
ู้
ั
ทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม และค่านิยม เป็ นต้น การวิเคราะห์ผอ่านจะช่วยให้ผเู ้ ขียนสามารถกาหนดเนื้อหาและ
ู้
กลวิธีการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
6.2 การใช้ หลักจิตวิทยา ผูเ้ ขียนจะต้องอาศัยหลักจิตวิทยาในการเขียนโน้มน้าวใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจาก
ผูเ้ ขียนต้องทาความเข้าใจธรรมชาติ ความสนใจ และความต้องการของผูอ่านว่าน่าจะเป็ นไปในทิศทางใด แล้วจึง
้
นามาเป็ นประโยชน์ในการเขียนโน้มน้าวใจต่อไป
6.3 การให้ เหตุผล ผูเ้ ขียนต้องพยายามหาเหตุผลมาสนับสนุนความคิดเห็นของตน เหตุผลที่นามาอ้างนั้นควร
น่าเชื่อถือ มีน้ าหนักเพียงพอ และเป็ นไปได้ในทางปฏิบติ ทั้งนี้เพื่อให้ผอ่านเชื่อถือและยอมรับ ตลอดจนมีปฏิกิริยา
ั
ู้
ตอบสนองความต้องการของผูเ้ ขียน
6.4 การใช้ ภาษา ภาษาทีใช้ในการเขียนโน้มน้าวใจควรเป็ นภาษาที่เร้าอารมณ์และความรู ้สึกของผูอ่าน ดังนั้น
้
ผูเ้ ขียนจึงต้องมีศิลปะในการใช้ภาษา คือ รู้จกเลือกสรรถ้อยคาที่สื่อความหมายได้ชดเจน ก่อให้เกิดภาพ และกระตุน
ั
ั
้
อารมณ์ความรู ้สึกของผูอ่าน
้

Contenu connexe

Tendances

PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 

Tendances (20)

PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
เงื่อน
เงื่อนเงื่อน
เงื่อน
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 

Similaire à การโน้มน้าวใจ

9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานtanachot1898
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 

Similaire à การโน้มน้าวใจ (20)

9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Advertising and culture
Advertising and cultureAdvertising and culture
Advertising and culture
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
Work1 m32-4 m32-9
Work1 m32-4 m32-9Work1 m32-4 m32-9
Work1 m32-4 m32-9
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
Imc #final
Imc #finalImc #final
Imc #final
 

Plus de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Plus de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 

การโน้มน้าวใจ

  • 1. “การโน้ มน้ าวใจ” 1.ความหมาย การโน้ มน้ าวใจ การโน้ มน้ าวใจ คือ การพยายามทาให้บุคคลอื่นเปลี่ยนการกระทา หรื อทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยมต่างๆ โดยใช้กลวิธีที่เหมาะสมให้เกิดการยอมรับและเปลียนพฤติกรรมซึ่งรวมถึงทัศนคติ ค่ านิยม ความเชื่ อ และการ ่ กระทา การเขียนโน้ มน้ าวใจ เป็ นการเขียนที่ตองการให้ผอ่านเปลี่ยนแปลงความคิด ทัศนคติ ความเชื่อ หรื อ ้ ู้ พฤติกรรม ให้คล้อยตามความคิดของผูเ้ ขียน เช่น การเขียนให้คนบริ จาคเงินเพื่อสาธารณกุศล การเขียนเพื่อให้คน เปลี่ยนพฤติกรรมการกิน เป็ นต้น การเขียนโน้มน้าวใจอาจปรากฏในรู ปแบบต่างๆ เช่น ในรู ปแบบของการโฆษณา การหาเสี ยงเลือกตั้ง และ การเชิญชวน เป็ นต้น 2. ความต้ องการขั้นพืนฐานของมนุษย์ กบการโน้ มน้ าวใจ ้ ั ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เป็ นแรงผลักดันให้ มนุษย์ สร้ างทัศนคติ ความเชื่อ และค่ านิยม รวมทั้งมี พฤติกรรมต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของตน ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ตามทฤษฎีของมาสโลว์ มี ๕ ระดับ คือ ทฤษฏี Maslow’s Hierarchy of needs Theory แบ่ งลาดับความต้ องการของมนุษย์ ไว้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 ความต้ องการทางด้ านร่ างกาย (Physiological needs) ความต้องการในขั้นนี้เป็ นความต้องการ พื้นฐานของมนุษย์ เป็ นความต้องการขั้นพื้นฐาน (Basic needs) ซึ่งมีพลังมากที่สุดเพราะเป็ นความต้องการที่ จาเป็ นต่อการดารงชี วต ตัวอย่างเช่น ความต้องการอากาศ อาหาร ยารักษาโรค หากความต้องการขั้นแรกยัง ิ ไม่ได้รับการตอบสนองก็ยากที่จะพัฒนาสู่ ข้ นอื่นๆ ได้ ั ขั้นที่ 2 ความต้ องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and security needs) ความต้องการในขั้นนี้ จะเกิดเมื่อ ขั้นแรกได้รับการตอบสนอง ความต้องการในขั้นนี้เป็ นความต้องการที่จะรักษาความปลอดภัยในชีวตและ ิ ทรัพย์สินของตนเอง หากไม่ได้รับการตอบสนองหากไม่ได้รับการตอบสนองจะเกิดความรู ้สึกหวาดกลัว ผวา รู ้สึกไม่มนคง ั่ ขั้นที่ 3 ความต้ องการความรัก และความเป็ นเจ้ าของ (Belonging and love needs) เมื่อ 2 ขั้นแรกได้รับการ สนองความต้องการแล้ว มนุษย์จะสร้างความรักและความผูกพันกับผูอื่น ้ ขั้นที่ 4 ความต้ องการการได้ รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs) แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ได้แก่ - ความต้ องการนับถือตนเอง (Self-respect) คือ ความต้องการมีอานาจ มีความเชื่ อมันในตนเอง มี ่ ความสามารถและความสาเร็ จ มีความเคารพนับถือตนเอง
  • 2. - ความต้ องการได้ รับการยกย่ องนับถือ (Esteem from others) คือ ความต้องการชื่ อเสี ยงเกียรติยศ การ ยอมรับยกย่องจากผูอื่น ้ ขั้นที่ 5 ความต้ องการทีจะเข้ าใจประจักษ์ ตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs) เป็ นความต้องการ ่ เพื่อตระหนักรู ้ความสามารถของตนกับประพฤติปฏิบติตนตามความสามารถ และสุ ดความสามารถ โดย ั เพ่งเล็งประโยชน์ของคนอื่นและของสังคมส่ วนรวมเป็ นสาคัญ ดังนั้นหลักสาคัททีสุดในการโน้ มน้ าวใจคือ ต้องทาให้มนุษย์ประจักษ์ชดแก่ใจตนเองว่า ถ้าเชื่อและเห็นคุณค่า ่ ั หรื อกระทาตามที่ผโน้มน้าวชี้แจงหรื อชักนาแล้ว ก็จะได้รับผลตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของตนนันเอง ู้ ่ 3. กลวิธีการโน้ มน้ าวใจ การโน้มน้าวใจทาได้หลายวิธี ที่สาคัญ ได้แก่ 3.1 แสดงให้ ประจักษ์ ถึงความน่ าเชื่ อถือของผู้โน้ มน้ าวใจ บุคคลที่จะได้รับความเชื่อถือจากบุคคลอื่นจะต้อง มีความรู้จริ ง มีคุณธรรม และมีความปรารถนาดีต่อผูอื่น การโน้มน้าวใจจึงต้องทาให้ผรับสารเห็นคุณลักษณะที่ดี ้ ู้ เหล่านี้ของผูโน้มน้าวใจ เพื่อจะได้เกิดความเชื่ อถือ และยินดีปฏิบติตามด้วยตนเอง ้ ั แนวทางการปฏิบติให้มีลกษณะดังกล่าว อาจทาได้โดย ั ั ขั้นที่ ๑ ทาตนให้มีคุณสมบัติดงกล่าวจริ ง ั ขั้นที่ ๒ หาวิธีที่จะทาให้บุคคลที่ตองการโน้มน้าวใจประจักษ์ในคุณลักษณะดังกล่าว ้ คือ ๒.๑ การแสดงว่ ามีความรู้ จริ ง อาจทาได้โดยอธิบายเรื่ องราวได้ละเอียดลออ ถูกต้อง แม่นยา แสดง ความรู ้ได้ลุ่มลึกชัดเจน ๒.๒ การแสดงว่ ามีคุณธรรม อาจทาได้โดยการเล่าประสบการณ์จริ งที่แสดงให้เห็นถึงความมี คุณธรรมต่างๆ ่ ๒.๓ การแสดงความปรารถนาดีต่อผู้อน อาจทาได้โดยการให้คามันสัญญาที่อยูในวิสัยที่ปฏิบติได้ ื่ ั ่ ซึ่ งแสดงความปรารถนาดีของตนหรื อชี้ให้เห็นความห่วงใย ชี้ให้เห็นแนวทางปฏิบติที่เป็ นประโยชน์ต่อผูปฏิบติ ั ้ ั 3.2. แสดงให้ เห็นความหนักแน่ นของเหตุผล มนุษย์เป็ นสิ่ งมีชีวตประเภทเดียวที่รู้จกใช้เหตุผล บุคคลยิงมี ิ ั ่ ปั ญญาสู งยิงคล้อยตามคาโน้มน้าวใจอันขาดเหตุผลของบุคคลอื่นได้ยาก เพราะฉะนั้นเพื่อให้การโน้มน้าวประสบ ่ ่ ่ ั ความสาเร็ จ ผูโน้มน้าวใจต้องแสดงให้ประจักษ์วา เรื่ องที่ตนกาลังโน้มน้าวอยูน้ น มีเหตุผลหนักแน่น และมีค่าควร ้ แก่การยอมรับอย่างแท้จริ ง 3.3. แสดงให้ ประจักษ์ ถึงความรู้ สึกหรืออารมณ์ ร่วมกัน บุคคลที่มีความรู ้สึกหรื ออารมณ์ร่วมกันย่อมคล้อย ตามกันได้ง่ายกว่าบุคคลที่มีความรู ้สึกเป็ นปฏิปักษ์ต่อกัน ตัวอย่างของความรู ้สึกหรื ออารมณ์ร่วมกัน เช่น มีความนิยม เชื่อถือในสิ่ งเดียวกัน มีความเคารพรักต่อบุคคลหรื อสถาบันเดียวกัน มีความรังเกียจในสิ่ งเดียวกัน เป็ นต้น
  • 3. 3.4. แสดงให้ เห็นทางเลือกทั้งด้ านดีและด้ านเสี ย การโน้มน้าวใจให้ผอื่นเกิดความคิดนึ กเชื่อถือปฏิบติตามที่ ู้ ั ผูโน้มน้าวใจต้องการนั้น ตามธรรมดาที่จะต้องมีทางเลือกหลายทาง ในการนี้หากผูโน้มน้าวใจแสดงแต่เฉพาะด้านดี ้ ้ ของแนวทางที่ตนต้องการ อาจสัมฤทธิ์ ผลได้ยาก ถ้าชี้ให้เห็นด้านไม่ดีดวย เพื่อให้ผถูกโน้มน้าวใจมีโอกาสใช้ ้ ู้ ่ วิจารณญาณของตนเองเปรี ยบเทียบจนประจักษ์วาทางที่ช้ ี แนะนั้นด้านดีมีมากกว่า เช่นนี้แล้วก็จะทาให้การโน้มน้าว ใจสัมฤทธิผลได้ 3.5. สร้ างความหรรษาแก่ ผ้ ูรับสาร การโน้มน้าวใจในเรื่ องบางเรื่ องหากเอาจริ งเอาจังเกิน ไปแล้ว การโน้มน้าวใจจะไม่ได้ผล แต่ถาใช้วธีการแบบทีเล่นทีจริ งหรื อใช้อารมณ์ขนบ้างอาจได้ผลดีเพราะเปลี่ยน ้ ิ ั ่ บรรยากาศที่เคร่ งเครี ยดให้เป็ นบรรยากาศที่ผอนคลาย ทาให้ผรับสารเปลี่ยนสภาพอารมณ์จากการต่อต้านมาเป็ น ู้ ความรู้สึกกลางๆ พร้อมที่จะคล้อยตามได้ ่ 3.6. เร้ าให้ เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า เมื่อมนุษย์เกิดอารมณ์ข้ ึนอย่างแรงกล้า ไม่วาดีใจ เสี ยใจ โกรธแค้น วิตก กังวล หวาดกลัว หรื อพะว้าพะวัง อารมณ์เหล่านี้มกทาให้มนุษย์ไม่ใช้เหตุผลอย่างถี่ถวน ขาดความพินิจพิจารณาถึง ั ้ ความถูกต้อง ความเหมาะ ความควร ขาดสติหลงลืมตัวไปชัวคราว เป็ นเหตุให้คล้อยตามผูโน้มน้าวใจได้ง่าย ้ ่ 4. ภาษาทีโน้ มน้ าวใจ ่ ภาษาที่โน้มน้าวใจต้องไม่เป็ นการบังคับ ควรเป็ นไปในเชิงเสนอแนะ ขอร้อง เร้าใจ รู้จกใช้คาสื่ อความหมาย ั ได้ตรงตามความต้องการ ควรมีจงหวะและความนุ่มนวล อาจใช้ถอยคาสั้นๆ กระชับ ชัดเจน อาจมีคาคล้องจองกัน ั ้ เช่น คาขวัญ ตัวอย่างคาขวัท ่ - มีหนังสื อเหมือนมีมิตร ช่วยชูจิตให้ผองใส - หนังสื อคือประทีปส่ องทาง ให้ความสว่างสร้างปั ญญา ั - มีป่าบารุ งดี เหมือนมีกลปพฤกษ์สี่มุมเมือง - อากาศปลอดพิษ ชีวตปลอดภัย ิ - รถราจะไม่ติดขัด ถ้าเราปฏิบติตามกฎจราจร ั - น้ ามันแพงนัก ช่วยกันพร้อมพลัก ประหยัดเชื้อเพลิง ่ - บ้านเมืองสะอาด เพราะชนในชาติช่วยกันรักษา - บ้านเมืองสะอาด เป็ นเครื่ องประกาศว่าคนเจริ ญ - ใส่ ใจลูกสักนิด ลูกจะไม่ติดยา - ยาเสพย์ติดเป็ นพิษแก่ตน กลายเป็ นคนสิ้ นคิด ชีวิตต้องอับปาง 5. การพิจารณาสารโน้ มน้ าวใจในลักษณะต่ างๆ ในการพิจารณาวิเคราะห์สารโน้มน้าวใจ สิ่ งแรกที่ควรพิจารณา คือ การจับเจตนาของ ผูส่งสารว่ามีจุดมุ่งหมายจะให้เกิดประโยชน์แก่ผที่ตนโน้มน้าว หรื อเกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมว่ามีหรื อไม่ ้ ู้ ลักษณะของสารโน้ มน้ าวใจ สารโน้มน้าวใจที่พบเสมอมี 3 ชนิด ดังนี้
  • 4. 5.1. คาเชิทชวน เป็ นการแนะนาให้ช่วยกันกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม โดยจะปรากฏต่อสาธารณชนในรู ปแบบของใบประกาศ แผ่นปลิว โปสเตอร์ หรื ออาจจะเป็ นการบอกกล่าวด้วยวาจา ทางเครื่ องขยายเสี ยงทางวิทยุหรื อโทรทัศน์ ผูส่งสารจะบ่งบอกจุดประสงค์อย่างชัดเจน และชี้ให้เห็นประโยชน์ ้ รวมทั้งบอกวิธีปฏิบติดวย โดยใช้กลวิธีช้ ีให้ผถูกโน้มน้าวใจเกิดความภูมิใจว่าถ้าปฏิบติตามคาเชิ ญชวนจะเป็ นผูทา ั ้ ู้ ั ้ ประโยชน์แก่ส่วนรวม และเป็ นที่ยอมรับอย่างมีเกียรติในสังคม 5.2. โฆษณาสิ นค้ าหรือโฆษณาบริการ เป็ นการส่ งสารโน้มน้าวใจต่อสาธารณชนเพื่อ ประโยชน์ในการขายสิ นค้าหรื อบริ การต่างๆ แก่สาธารณชนเหล่านั้น มีลกษณะดังนี้ ั 5.2.1 ใช้ ถ้อยคาแปลกใหม่ สะดุดหู สะดุดตา สะดุดใจ ผูรับสารเป็ นสาคัญ อาจเป็ นคา สัมผัสอักษร ้ คาเลียนเสี ยงธรรมชาติ หรื อคาที่สร้างขึ้นโดยไม่สมเหตุสมผลมุ่งเพียงความแปลกใหม่ 5.2.2 ใช้ ประโยคหรือวลีส้ ั นๆ ที่ทาให้ผอื่นรับสารได้อย่างฉับพลัน แต่ฉาบฉวย ู้ 5.2.3 เนื้ อหาจะชี้ให้เห็นถึงคุณภาพอันดีเลิศของสิ นค้าหรื อบริ การที่นาเสนอ มักใช้ คาเกินความเป็ น จริง 5.2.4 ใช้ กลวิธีโน้ มน้ าวใจโดยชี้ ให้เห็นว่า สิ นค้าหรื อบริ การที่นาเสนอนั้นเป็ นสิ่ งที่สนองความ ต้ องการขั้นพืนฐานของมนุษย์ ้ 5.2.5 เนือหาของสารโฆษณามักขาดเหตุผลทีหนักแน่ นและรัดกุม ขาดความถูกต้องในทางวิชาการ ้ ่ 5.2.6 การนาเสนอสารใช้วธีการโฆษณาทางสื่ อชนิดต่ างๆ ซ้าๆ กันหลายครั้งหลายวันเป็ น ิ ระยะเวลาพอสมควรก็จะดัดแปลงสารนั้นใหม่เพื่อเรี ยกร้องความสนใจ การโฆษณาสิ นค้าและบริ การมีท้ งประโยชน์และโทษต่อสังคม ดังนี้ ั ประโยชน์ ของการโฆษณา คือ -. ทาให้สาธารณชนได้ร้ ู จักสิ นค้ าหรื อบริ การหลายอย่างหลายประเภท -. ทาให้ผซ้ื อเลือกสิ นค้ าสนองความต้องการของตนได้ ู้ -. ทาให้สินค้ามีราคาถูก หากสิ นค้านั้นเป็ นที่รู้จกแพร่ หลาย ั -. การโฆษณาสิ นค้า และบริ การผ่านสื่ อมวลชน จะต้องซื้ อเนื้ อที่และเวลาจากสื่ อมวลชน ทาให้สื่อมวลชนมีรายได้ และสามารถนาเสนอรายการบันเทิงและสาระความรู ้ต่างๆ อันเป็ นประโยชน์แก่ สาธารณชน โทษของการโฆษณา คือ -. ทาให้ประชาชนเกิดความเข้ าใจผิดหรือหลงผิด ตัดสิ นใจซื้ อสิ นค้าและบริ การที่ไม่เหมาะแก่ความจาเป็ น ของตน -. การแข่งขันของบริ ษทต่างๆ ทาให้ราคาต้ นทุนการผลิตสู งเป็ นผลให้ราคาสิ นค้าสู งขึ้นตามไปด้วย ั -. การใช้ภาษาโฆษณาที่มุ่งแต่ความแปลกใหม่ จนไม่ระวังความถูกต้องอาจทาให้ ภาษาวิบัติเสี ยคุณค่าทาง เอกลักษณ์ และวัฒนธรรมบางอย่างที่สาคัญของชาติ
  • 5. 5.3. โฆษณาชวนเชื่อ เป็ นการพยายามโดยจงใจมีเจตนาที่จะเปลี่ยนความเชื่อและการกระทาของบุคคล จานวนมาก ให้เป็ นไปตามความต้องการของตน ด้วยกลวิธีต่างๆ โดยไม่คานึงถึงความถูกต้องและข้อเท็จจริ ง การโฆษณาชวนเชื่อมี ๒ ชนิด คือ โฆษณาชวนเชื่อเชิงการค้า โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง การโฆษณาชวนเชื่อ เป็ นการพยายามโดยเจตนาที่จะเปลี่ยนความเชื่อ และเปลี่ยนการกระทาของบุคล จานวนมากให้เป็ นไปในทางที่ฝ่ายตนต้องการด้วยกลวิธีต่างๆ โดยไม่คานึงถึงคุณธรรม จริ ยธรรม และความถูกต้อง ตามเหตุผลและข้อเท็จจริ ง ผูโน้มน้าวใจลักษณะนี้มีเจตนาหลอกลวงไปในทางหายนะมากกว่าทางด้านวัฒนะ นันคือ ้ ่ ไม่ประสงค์ดี มักใช้กลวิธี ดังนี้ 5.3.1. ตราชื่อ คือ การใช้กลวิธีการเบนความสนใจของผูรับสารไปจากเหตุผลและข้อเท็จจริ ง ้ เพื่อให้ผคนทัวไปหมดความเชื่อถือในตัวบุคคลหรื อสถาบันฝ่ ายตรงข้าม มักใช้การหาคาพูดมาเรี ยกชื่อต่างๆ เพื่อให้ ู้ ่ ผูรับสารเกิดมโนภาพว่าบุคคลเหล่านั้นมีลกษณะไม่พึงประสงค์ ้ ั 5.3.2. ใช้ คาหรู หราเพือให้ ผ้ ูฟังเกิดความเลือมใสศรัทธา โดยไม่ได้ใช้ความคิดไตร่ ตรองตรวจสอบความ ่ ่ ถูกต้องเหมาะสม 5.3.3. อ้ างบุคคลหรือสถาบัน เพื่อให้ผฟังเกิดทัศนะที่ดี เกิดความนิยมชมชอบ นโยบาย หลักการ หรื อ ู้ อุดมการณ์ของตน ผูฟังที่ไม่ย้งคิดย่อมตกหลุมพรางของผูชวนเชื่อได้ ้ ั ้ 5.3.4. ทาเหมือนชาวบ้ านธรรมดา เพื่อนาความคิดของตนไปโยงกับชาวบ้านให้เกิดความกลมกลืน ทาให้ ผูฟังเชื่อใจคล้อยตาม ้ 5.3.5. อ้างแต่ ประโยชน์ ส่วนตนและอ้างคนส่ วนใหท่ เพื่อให้ผฟังคิดว่าหากตนไม่เชื่อตามจะกลายเป็ นคน ู้ ประหลาดเพราะคนส่ วนใหญ่น้ นมีความคิดดังกล่าว ั การโน้มน้าวใจจะถูกเรี ยกว่า โฆษณาชวนเชื่อ หากการโน้มน้าวใจนั้นมีเจตนาลวงกลบเกลื่อน หรื อ ปิ ดบังไม่ให้ผรับสารได้รับความรู ้ ความจริ ง และเหตุผลที่จาเป็ นต้องรู้ จนอาจไม่ใช้สมรรถภาพในการคิดและการ ู้ พิจารณาเหตุผลของตนจนสามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้องในเรื่ องต่างๆ ผูรับสารควรมีวิจารณญาณในการฟังและผูพด ้ ้ ู ควรมีเจตนาที่ดีในการโน้มน้าวใจเพื่อให้เกิดผลดี สารโฆษณาชวนเชื่อทางการค้าที่พบ เช่น โฆษณาขายยาที่อาง ้ ่ สรรพคุณมากมายซึ่ งไม่ผานการรับรองจากหน่วยงานที่ได้มาตรฐาน การโฆษณารักษาโรคแบบชาวบ้านที่ไม่ น่าเชื่อถือ สาหรับการชวนเชื่ อทางการเมือง เช่น การเผยแพร่ ลทธิ ของผูก่อการร้ายหรื อก่อวินาศกรรมซึ่ งก่อให้เกิด ั ้ ความเสี ยหายแก่บุคคลและสังคมเป็ นสาคัญ 6. หลักการเขียนโน้ มน้ าวใจ หลักการเขียนโน้มน้าวใจควรคานึงถึงหลักต่างๆ ดังนี้ 6.1 การวิเคราะห์ ผ้ ูอ่าน ผูเ้ ขียนจะต้องวิเคราะห์ผอ่านว่า มีลกษณะอย่างไร เช่น เพศ วัย การศึกษา อาชีพ ฐานะ ู้ ั ทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม และค่านิยม เป็ นต้น การวิเคราะห์ผอ่านจะช่วยให้ผเู ้ ขียนสามารถกาหนดเนื้อหาและ ู้ กลวิธีการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
  • 6. 6.2 การใช้ หลักจิตวิทยา ผูเ้ ขียนจะต้องอาศัยหลักจิตวิทยาในการเขียนโน้มน้าวใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจาก ผูเ้ ขียนต้องทาความเข้าใจธรรมชาติ ความสนใจ และความต้องการของผูอ่านว่าน่าจะเป็ นไปในทิศทางใด แล้วจึง ้ นามาเป็ นประโยชน์ในการเขียนโน้มน้าวใจต่อไป 6.3 การให้ เหตุผล ผูเ้ ขียนต้องพยายามหาเหตุผลมาสนับสนุนความคิดเห็นของตน เหตุผลที่นามาอ้างนั้นควร น่าเชื่อถือ มีน้ าหนักเพียงพอ และเป็ นไปได้ในทางปฏิบติ ทั้งนี้เพื่อให้ผอ่านเชื่อถือและยอมรับ ตลอดจนมีปฏิกิริยา ั ู้ ตอบสนองความต้องการของผูเ้ ขียน 6.4 การใช้ ภาษา ภาษาทีใช้ในการเขียนโน้มน้าวใจควรเป็ นภาษาที่เร้าอารมณ์และความรู ้สึกของผูอ่าน ดังนั้น ้ ผูเ้ ขียนจึงต้องมีศิลปะในการใช้ภาษา คือ รู้จกเลือกสรรถ้อยคาที่สื่อความหมายได้ชดเจน ก่อให้เกิดภาพ และกระตุน ั ั ้ อารมณ์ความรู ้สึกของผูอ่าน ้