SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 1
การยืม คำา
การยืม คือ ภาษาหนึ่งนำาเอาคำาหรือลักษณะทางภาษาของอีกภาษาหนึ่งไปใช้ใน
ภาษาของตน ซึ่งภาษาที่ถูกยืมมามักจะถูกเปลี่ยนแปลง
รูปคำา เสียง และความหมายในภาษาใหม่เพื่อความสะดวกในการออกเสียง และเป็นไปตามลักษณะ
สำาคัญของภาษาของผู้ยืม
จำาแนกการยืมคำาหรือลักษณะของภาษาอื่นไว้ 3 ประเภท คือ
1. เนื่องจากวัฒนธรรม ซึ่งหมายถึงชน 2 กลุ่ม ต่างภาษาและ ต่างวัฒนธรรมกัน กลุ่ม
ที่ด้อยกว่ามักจะรับเอาวัฒนธรรมจากกลุ่มที่เจริญกว่า เมื่อรับเอาวัฒนธรรมก็ยอมรับเอาภาษามา
ด้วย เพราะภาษาก็เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม
2. เนื่องจากความใกล้ชิด ชน 2 กลุ่ม ต่างภาษา เช่น คนไทยกับคนเขมรในภาษา
ไทยมีคำาภาษาเขมรอยู่มากมาย เช่น เดิน เสวย เถกิง เป็นต้น ในขณะเดียวกันภาษาเขมรก็มีคำา
ภาษาไทยเป็นจำานวนมาก เช่น สามสิบ สี่สิบ ห้าสิบ เป็นต้น หรือคนไทยกับคนจีน เช่น คำาภาษา
จีนในคำาไทย ก๋วยเตี๋ยว โอเลี้ยง แป๊ะเจี๊ยะ หรือ คำาภาษาไทยในคำาภาษาจีน นำ้าปลา ตลาด
เป็นต้น
3. การยืมจากกลุ่มภาษาหรือจากภาษาถิ่น เช่น ระหว่างกลุ่มคนภาคเหนือกับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ กลุ่มคนภาคกลางกับกลุ่มคนภาคใต้ เป็นต้น
อิทธิพลของการยืม
การยืมทำาให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อวงศัพท์ซึ่งการยืมทำาให้
จำานวนศัพท์ในภาษามีการเพิ่มพูน เกิดวาระการใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคำาไวพจน์ คือ คำาที่มีความ
หมายเดียวกัน แต่เราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทั้งยังมีประโยชน์ในการแต่ง
บทร้องกรองเพราะมีหลากคำา
ประวัต ศ าสตร์ก ารยืม ของประเทศไทย
ิ
ภาษาไทยมีการยืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนเป็นเวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลา
จารึกของพ่อขุนรามคำาแหงเมื่อปี พ.ศ. 1826 ปรากฏคำายืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเขมร
เข้ามาปะปนมากมาย
ประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทำาให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษา ไทยเป็นจำานวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส
พม่า มอญ อังกฤษ
สาเหตุก ารยืม ของภาษาไทย
1. ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดต่อหรือใกล้เคียงกันกับมิตรประเทศ
2. ความสัมพันธ์ทางการค้า การติดต่อซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับต่างประเทศ
3. ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่าง
ประเทศ สู่ประเทศไทย
4. การศึกษาและการกีฬา การที่นักเรียนไทยไปศึกษาที่ต่างประเทศทำาให้รับวิชาความรู้
และวิทยาการมากมาย
5. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีซึ่งกันและกัน ระหว่างไทยกับต่าง
ประเทศ
คำาในภาษาต่างประเทศที่ไทยยืมมาใช้นั้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493
ได้บันทึกไว้ 11 ภาษา คือ เขมร จีน ชวา ญวน ตะเลง เบงคอลี บาลี ฝรั่งเศส สันสกฤต อังกฤษ
และฮินดู
ต่อมาพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้บันทึกที่มาของคำายืมไว้ 14
ภาษา โดยเพิ่มจากเดิมอีก 3 ภาษา คือ ญี่ปุ่น มาลายู และลาติน ซึ่งภาษาที่เป็นแหล่งสำาคัญของคำา
ยืมในภาษาไทย ได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาซึ่งเป็นภาษาวิภัตติปัจจัย คำาในภาษา
เหล่านี้มักจะมีหลายพยางค์
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 2
คำา ยืม จากภาษาเขมร
เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั้งทางการค้า การสงคราม การเมืองและ
วัฒนธรรม เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมี
อาณาเขตติดต่อกัน ทำาให้เขมรภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่น
เขมรก็คล้ายคลึงกับภาษาพูดของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดน
ไทย - กัมพูชาด้วย
ลัก ษณะภาษาเขมร
1. ภาษาเขมรเป็นภาษาคำาโดด คำาส่วนใหญ่มีเพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด มี
พยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ
วรรคกะ : ก ข ค ฆ ง
วรรคจะ : จ ฉ ช ฌ ญ
วรรคฏะ : ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรคตะ : ต ถ ท น ธ
วรรคปะ : ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค : ย ร ล ว ส ห ฬ อ
2. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคำายืมบางคำาให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้
3. ภาษาเขมรมีสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระ
ประสม 2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเดี่ยวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3 เสียง
4. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกลำ้ามากมาย มีพยัญชนะควบกลำ้า 2 เสียง ถึง 85 หน่วย
และพยัญชนะควบกลำ้า 3 เสียง 3 หน่วย
การสร้า งคำา ในภาษาเขมร
1. การเติมหน่วยหน้าคำา ทำาให้คำาเดิมพยางค์เดียวเป็นคำาใหม่ 2 พยางค์เรียกว่าการลง
อุปสรรค บำ (บัง , บัน , บำา) เช่น เพ็ญ - บำาเพ็ญ ,
เกิด - บังเกิด , โดย-บันโดย
-เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม , บังเกิด , บังอาจ
-เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล , บันโดย , บันเดิน
-เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคปะ อ่านว่า "บำา" เช่น บำาบัด , บำาเพ็ญ , บำาบวง
2. การเติมหน่วยกลางคำา ทำาให้คำาเดิมพยางค์เดียว เป็นคำาใหม่ 2 พยางค์ เรียกว่าการ
ลงอาคม
ก. การลง อำา น เช่น จง- จำานง , ทาย -ทำานาย , อวย-อำานวย
ข. การเติม อำา เช่น กราบ-กำาราบ.ตรวจ-ตำารวจ , เปรอ-บำาเรอ
ค. การเปลี่ยน ข เป็น ก , ฉ เป็น จ และเพิ่ม ห เช่น ฉัน-จังหัน , แข็ง-กำาแหง
ง. การเติม ง , บ , ร , ล เช่น เรียง-ระเบียง , เรียบ-ระเบียบ , ราย-ระบาย
ลัก ษณะคำา เขมรในภาษาไทย
1. ส่วนมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล ส เช่น เผด็จ , บำาเพ็ญ , กำาธร , ถกล ,ตรัส
2. ต้องแปลความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง
3. เมื่อมาใช้ในภาษาไทย ข แผลงกระ เช่น ขจาย-กระจาย , โขดง -กระโดง
4. นิยมใช้อักษรนำาแบบออกเสียงตัวนำาโดยพยางค์ต้นออกเสียง อะ กึ่งเสียง พยางค์หลัง
ออกเสียงตามสระที่ผสมอยู่ เช่น สนุก , สนาน , เสด็จ ,ถนน , เฉลียว
5. ส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น เสวย , บรรทม , เสด็จ , โปรด
ประมวลคำา ยืม จากภาษาเขมรที่ใ ช้บ อ ย
่
กฎ
จด ไว้เป็นหลักฐาน ; ข้อบังคับ
กรรไตร(กันไต เครื่องมือสำาหรับตัดโดยใช้หนีบ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 3
ร)
หลั่งนำ้าอุทิศส่วนกุศล
กรวด(กฺรวด)
ชื่อเต่าทะเลหลังเป็นเกร็ดแผ่นโตๆ สีนำ้าตาลเหลืองปากงุ้ม ขาเป็นพาย
กระ
อาการที่ของเหลวพุ่งออกไป
กระฉูด
แนบแน่น
กระชับ
ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก
กระเชอ
เอาเข้าสะเอว
กระเดียด
ใบเรือ
กระโดง
กระโถน
ภาชนะบ้วนนำ้าหรือทิ้งของที่ไม่ต้องการลงไป
กระทรวง
ส่วนราชการเหนือทบวง , กรม
กระท่อม
เรือนเล็กทำาด้วยไม้หลังคามุงจาก
กระบอง
ไม้สั้นสำาหรับใช้ตี
กระบือ
ควาย
กระเพาะ
อวัยวะภายในท้อง มีหน้าที่ย่อยอาหาร
กระแส
นำ้าหรือลมที่ไหล-พัดเรื่อยเป็นแนวไม่ขาดสาย
กังวล
มีใจพะวงอยู่
กัน
โกนให้เสมอกัน
กำาจัด
ขับไล่ , ปราบปราม
กำาเดา
เลือดที่ออกทางจมูก
กำาธร
สนั่น , หวันไหว
่
กำาแพง
เครื่องกั้น , เครื่องล้อมที่ก่อด้วยอิฐ
กำาลัง
แรง ; สิ่งที่ทำาให้เกิดอำานาจความเข้มแข็ง
ขจร(ขะจอน)
ฟุ้งไปในอากาศ
คำา ยืม จากภาษาจีน
ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี อีกทั้งยังมีการค้าขายแลกเปลี่ยน
สินค้าและวัฒนธรรมอันดีงามกันมาช้านานรวมทั้งศิลปะ สถาปัตยกรรมต่างๆ ด้วย
ชาวจีนที่เข้ามาค้าขายตลอดจนตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจำานวนมาก ปัจจุบัน คน
ไทยเชื้อสายจีนก็เพิ่มพูนขึ้นมากมาย ภาษาจีนจึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื้อสาย นอกจากนี้ภาษาจีน
และภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันจึงทำาให้คำาภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทยจนแทบแยกกันไม่ออก
ลัก ษณะภาษาจีน
ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคำาโดดและมีเสียง
วรรณยุกต์ใช้ เช่นเดียวกัน เมื่อนำาคำาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์และสระประสมใช้
จึงทำาให้สามารถ ออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่างง่ายดาย คำาภาษาจีนยังมีคำาที่
บอกเพศในตัวเช่นเดียว กับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย) , ซ้อ(พี่สะใภ้) , เจ๊(พี่สาว)
นอกจากนี้การสะกดคำาภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8
มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วย
ประมวลคำา ยืม จากภาษาจีน ที่ใ ช้บ ่อ ย
ก๊ก
พวก , หมู่ , เหล่า
กงเต๊ก
การทำาบุญให้ผู้ตายพิธีจีนโดยสวดและเผากระดาษรูปต่างๆ มี บ้านรถ , คนใช้
กวยจั๊บ
ชื่อของกินทำาด้วยแป้งข้าวเจ้าหั่นเป็นชิ้นใหญ่
ก๋วยเตี๋ยว
ชื่อของกินทำาด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นๆ
กอเอี๊ยะ
ขี้ผึ้งปิดแผลชนิดหนึ่งแบบจีน
กะหลำ่า
ชื่อไม้ล้มลุก มีหลายพันธุ์
กังฟู
ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบจีนเน้นสมาธิและความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 4
กุ๊น
ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่นๆแต่ต้องใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียง
กุยช่าย
ชื่อไม้ล้มลุกคล้ายต้นหอม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้
เก๊
ปลอมเลียนแบบให้คิดว่าเป็นของแท้ ; ของปลอม
เก๋
งามเข้าที
เก๊ก
วางท่า ; ขับไล่
เกาลัด
ไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกผลหนา ไม่มีหนาม เมล็ดเกลี้ยง
เกาเหลา
แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด ไม่ใช่แกงเผ็ดแกงส้ม
เก้าอี้
ที่นั่งมีขา ยกย้ายได้มีหลายชนิด ลักษณนามว่า ตัว
เกี๊ยว
ของกินทำาด้วยแป้งสาลีเป็นแผ่นห่อหมูสับเป็นต้น
เกี๊ยะ
เกือกไม้แบบจีน
โก๋
ชื่อขนมทำาด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมนำ้าตาลทรายอัดใส่พิมพ์รูปต่างๆ
ขาก๊วย
กางเกงจีน ขาสั้น
ขิม
ชื่อเครื่องดนตรีจีนรูปคล้ายพระจันทร์ครึ่งซีกใช้ตี
เข่ง
ภาชนะสานมีรูปต่างๆ ทำาจากไม้ไผ่
ง่วน
เพลิน , ทำาเพลิน , เล่นอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
งิว
้
ละครจีนแบบโบราณ , อุปรากรจีน
จับกัง
กรรมกร , ผู้ใช้แรงงาน
จับฉ่าย
ชื่อแกงอย่างจีนใส่ผักหลายชนิด ; ของต่างๆ ที่ปะปนกันไม่เป็นชุด
เจ หรือแจ อาหารที่ไม่มีของสดของคาวสำาหรับผู้ถือศีล ,
เจ๊ง
ล้มเลิกกิจการเพราะหมดทุน ; สิ้นสุดเลิกกันไป ,
เจ๊า
หายกัน(ภาษาการพนัน)
เจี๊ยบ
จัด(รสชาติ) , มาก , ยิ่งนัก
โจ๊ก
ข้าวต้มที่ใช้ปลายข้าวต้มจนเละ
ฉำาฉา
ต้นก้ามปู , ต้นจามจุรี ไม้เนื้ออ่อน
เฉาก๊วย
ชื่อขนมคล้ายวุ้นสีดำากินกับนำ้าหวาน
แฉ
แบ , ตีแผ่ , เปิดเผย
ชีชำ้า
เศร้าโศก , เสียใจ
ซวย
เคราะห์ร้าย , อับโชค
ซาลาเปา
ชื่อขนมของจีนทำาด้วยแป้งสาลีเป็นลูกกลมมีไส้ข้างในทั้งหวานและเค็ม
เซียน
ผู้สำาเร็จ , ผู้วิเศษ , ผู้ที่เก่ง ชำานาญทางเฉพาะ
ต๋ง
ชักเอาเงินไว้จากขาไพ่ที่เป็นผู้กินหรือลูกค้าที่แทงถูกในการพนัน
ตะหลิว
เครื่องมือใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผัดในกระทะทำาด้วยเหล็กมีด้ามจับ
ตังเก
ชื่อเรือจับปลาตามชายฝั่งทะเล มีเสากระโดง มีเก๋ง 2 ชั้น
ตังโอ๋
้
ชื่อไม้ล้มลุกใบเล็กหนา กลิ่นหอม กินได้
ตัว
๋
บัตรบางอย่างแสดงสิทธิของผู้ใช้
ตุน
การเก็บหรือกันสิ่งใดๆ ไว้กันขาดแคลน หรือ หวังค้ากำาไร
ตุน
๋
การปรุงอาหารโดยเอาใส่ภาชนะวางในภาชนะที่มีนำ้าเอาฝาครอบตั้งไฟ
ตุย
๊
เอาหมัดกระแทก
เต้าเจี้ยว
ถั่วเหลืองหมักเกลือ ใช้ปรุงอาหาร
เต้าส่วน
ขนมหวานทำาด้วยแป้งเปียกกวนกับถั่วเขียวที่เอาเปลือกออกราดกะทิ
เต้าหู้
ถั่วเหลืองโม่เป็นแป้ง ทำาเป็นแผ่นๆ ก้อนๆ
เต้าฮวย
ขนมหวานทำาด้วยนำ้าถั่วเหลืองแข็งตัว ปรุงด้วยนำ้าขิงต้มนำ้าตาล
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 5
คำา ยืม จากภาษาสัน สกฤต
ภาษาสันสกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มีกฎเกณฑ์รัดกุมมาก เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็น
ภาษาที่ผู้มีการศึกษาสูงใช้ และเป็นภาษาทางวรรณคดีใช้เขียนคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์มี
ผู้ศึกษาน้อยจนเป็นภาษาที่ตายไปในที่สุด การที่ไทยเรารับเอาลัทธิบางอย่างมาจากศาสนา
พราหมณ์ ทำาให้ภาษาสันสกฤตได้เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาที่
ไพเราะและสุภาพมากจึงมักใช้ในบทร้อยกรองและวรรณคดี
สระในภาษาสัน สกฤต ภาษาสันสกฤตมีสระทั้งหมด 14
เสียง สระเดี่ยว 10 เสียง สระประสม 4 เสียง
พยัญชนะวรรคในภาษาบาลีสันสกฤต
กัณฐชะ
ฐานคอ
วรรคกะ
กขคฆง
ตาลุชะ
ฐานเพดาน
วรรคจะ
จฉชฌญ
มุทธชะ
ฐานปุ่มเหงือก
วรรคฏะ
ฏฐฑฒณ
ทันตชะ
ฐานฟัน
วรรคตะ
ตถทธน
โอษฐชะ
ฐานริมฝีปาก
วรรคปะ
ปผพภม
เศษวรรค
ยรลวศษสหฬ
การสร้า งคำา ในภาษาสัน สกฤต
1. การสมาส เช่น ศิลป + ศาสตร์ = ศิลปศาสตร์ , มานุษย + วิทยา = มานุษยวิทยา
2. การสนธิ เช่น คณ + อาจารย์ = คณาจารย์ , ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์
3. การใช้อุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วนขยายศัพท์ ทำาให้ความ
หมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ - วิเทศ , สุ - สุภาษิต , อป - อัปลักษณ์ , อา - อารักษ์
ข้อ สัง เกต
1. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คำาประสมสระไอเมื่อเป็นคำาไทย
ใช้สระแอ (ไวทย - แพทย์)
2. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส , ฬ) เช่น กรีฑา , ศิลป , ษมา
3. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รร ใช้ เช่น ปรากฏ , กษัตริย์ ; ครรภ์ ,
จักรวรรดิ
ประมวลคำา ยืม จากภาษาสัน สกฤตที่ใ ช้บ ่อ ย
กนิษฐ์
น้อง , น้อย ( คู่กับเชษฐ์)
กบินทร์
พญาลิง (กปิ + อินทร)
กรกฎ (กอระกด)
ปู ; ชื่อกลุ่มดาวปู
กรม (กฺรม)
ลำาดับ
กรรณ (กัน)
หู , ใบหู
กรรณิกา (กัน-)
ดอกไม้
กรรม (กำา)
การกระทำาที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปยังอนาคต
กรรมกร
ผู้ใช้แรงงาน , คนงาน , ลูกจ้าง (กรฺม+ กร)
กรรมการ
คณะบุคคลที่ร่วมกันทำางานที่ได้รับมอบหมาย (กรฺม + การ)
กรรมฐาน (กำามะถาน) ทีตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ
่
กรรมพันธุ์ (กำามะพัน) มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ , ลักษณะนิสัย-โรคที่สืบมาจากพ่อแม่ (กรฺม + พนฺธุ)
กรรมวาจา (กำามะ-)
คำาประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์ (กรฺม + วาจา)
กรรมสิทธิ์ (กำามะสิด) ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (กรฺม + สิทฺธิ)
กระษาปณ์ (- สาบ)
เงินตราที่ทำาด้วยโลหะ กษาปณ์ก็ใช้
กริยา
คำาที่แสดงอาการของนาม หรือสรรพนาม
กรีฑา
กีฬาประเภทลู่และลาน ; การเล่นสนุก
กฤษฎี (กฺริดสะดี)
รูป
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 6
กษมา (กะสะมา)
ความอดกลั้น , ความอดโทษ ; กล่าวคำาขอโทษ
กษัตริย์ (กะสัด)
พระเจ้าแผ่นดิน ใช้เต็มคำาว่า พระมหากษัตริย์
กันยา
นางงาม , สาวรุ่น , สาวน้อย
กัลป์
ระยะเวลานานมาก โบราณถือว่าโลก
ประลัยครั้งหนึ่งคือสิ้นกัลป์หนึ่ง
กัลปพฤกษ์ (กันละปะพรึก) ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลตามปรารถนา
กัลปาวสาน (กันละปาวะสาน) ที่สุดแห่งระยะเวลาอันยาวนาน (กลฺป
+ อวสาน)
กาญจนา
ทอง
กานต์
เป็นที่รัก ( มักเป็นส่วนท้ายของสมาส)
กาพย์
คำาร้อยกรองจำาพวกหนึ่ง
กายกรรม (กายยะกำา)
การทำาด้วยกาย ; การดัดตนเพื่อให้
ร่างกายแข็งแรง (กาย + กรฺม)
กาลเทศะ ( กาละเทสะ)
เวลาและสถานที่ ; ความควรไม่ควร
กาลกิณี (กาละ- , กานละ)
เสนียดจัญไร , ลักษณะที่เป็นอัปมงคล
กาลี
ชั่วร้าย , เสนียดจัญไร
กาสร (กาสอน)
ควาย
กำาจร ( กำาจอน)
ฟุ้งไปในอากาศ
กีรติ, เกียรติ ,
ชื่อเสียง , ความยกย่องนับถือ
กุลบุตร ( กุลละบุด)
ลูกชายผู้มีตระกูล
กุลสตรี (กุนละสัดตฺรี)
หญิงผู้มีตระกูล
กุศล (- สน)
สิ่งที่ดีที่ชอบ , บุญ ; ฉลาด
เกลศ (กะเหฺลด)
กิเกส
เกศ (เกด)
ผม , หัว
เกษตร (กะเสด)
ที่ดิน , ทุ่งนา , ไร่
เกษม (กะเสม)
ความสุขสบาย , ความปลอดภัย
เกษียณ (กะเสียน)
สิ้นไป
เกษียรสมุทร
ทะเลนำ้านม (กฺษีร + สมุทร)
เกียรติ์ (เกียด)
ชื่อเสียง , ความยกย่องนับถือ
โกเมน
พลอยสีแดงเข้ม
โกรธ (โกฺรด)
ขุ่นเคืองใจอย่างแรง ; ไม่พอใจมาก
โกศ (โกด)
ที่ใส่ศพนั่งเป็นรูปกลมทรงกระบอกฝา
ครอบมียอด ; ที่ใส่กระดูกผี
โกศล (โกสน)
ฉลาด
คเชนทร์ (คะเชน)
พญาช้าง (คช + อินฺทร)
คณาจารย์
อาจารย์ของหมู่คณะ , คณะอาจารย์ (
คณ + อาจารฺย)
คณิตศาสตร์ (คะนิดตะสาด) วิชาว่าด้วยการคำานวณ (คณิต +
ศาสฺตฺรย)
ครรภ์ (คัน)
ท้อง (เฉพาะท้องหญิงมีลูก)
คราส (คฺราด)
กิน ; จับ ; ถือ
ครุฑ (คฺรุด)
พญานก พาหนะของพระนารายณ์
คฤหบดี (คะรึหะบอดี) ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน
คฤหัสถ์ (คะรึหัด)
ฆราวาส , ผู้ครองเรือนที่ไม่ใช่นักบวช
คามภีร์ (คามพี)
ลึกซึ้ง (คัมภีร์)

เรื่อง การยืม
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 7
คุปต์
รักษา , คุ้มครอง , ปกครอง
เคหสถาน (เคหะ-)
บ้านเรือน , ที่อยู่อาศัยรวมพื้นที่บริเวณที่เป็น
ที่อยู่
เคารพ (เคารบ)
แสดงอาการนับถือ , ไม่ล่วงเกิน
โคตร (โคด)
วงศ์ตระกูล , เผ่าพันธุ์ , ต้นสกุล
โฆษก (โคสก)
ผู้ประกาศ , ผู้โฆษณา
โฆษณา (โคดสะนา)
การเผยแพร่หนังสือออกสู่สาธารณชน ; ป่าว
ประกาศ
จงกรม (จงกฺรม)
เดินไปมาในที่ที่กำาหนดอย่างพระเจริญ
กรรมฐานเดิน
จตุร
สี่ ( ใช้ประกอบหน้าคำาอื่น)
จรรยา (จันยา)
ความประพฤติ ; กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่
ในคณะ (ใช้ทางดี)
จักร (จัก)
อาวุธในนิยายรูปเป็นวงกลมมีแฉกโดยรอบ
จักรพรรดิ (จักกระพัด) พระราชาธิราช , ประมุขของจักรวรรดิ
คำา ยืม จากภาษาอัง กฤษ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่วโลก การที่ไทยติดต่อ
ค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร. 3 ไทยเริ่ม
มีการยืมคำาจากภาษาอังกฤษมาใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจนเจ้านายและ
ข้าราชการที่ได้ศึกษาภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทำาให้ภาษา
อังกฤษเข้ามามีบทบาทในภาษาไทยมากขึ้น ร. 4 ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษา ภาษาอังกฤษ
มากด้วย
ลัก ษณะภาษาอัง กฤษ
1. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดง
ลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล ( go-went-gone) หรือทำาให้คำาเปลี่ยนความ
หมายไป
2. คำาในภาษาอังกฤษมีการลงนำ้าหนัก ศัพท์คำาเดียวกันถ้าลงนำ้าหนักต่างพยางค์กันก็ย่อม
เปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำา เช่น record - record
3. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร 26 ตัว สระเดี่ยว (สระแท้) 5 ตัว สระประสมมากมาย
4. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกลำ้ามากมาย ทั้งควบกลำ้า 2 เสียง 3 เสียง 4 เสียง
ปรากฏได้ทั้งต้นและท้ายคำา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past,
text พยัญชนะท้ายควบ
การสร้า งคำา ในภาษาอัง กฤษ
1. การใช้หน่วยคำาเติมทั้งหน้าศัพท์ ( prefix) และหลังศัพท์ ( suffix) โดยศัพท์นั้นเมื่อ
เติมอุปสรรค , ปัจจัย จะทำาให้เกิดศัพท์ความหมายใหม่ หรือ ความหมายเกี่ยวข้องกันก็ได้ การ
ปัจจัย ( suffix) เช่น draw ( วาด) - drawer ( จิตรกร) , write ( เขียน) - writer ( นักเขียน)
การเติมอุปสรรค
( prefix) เช่น - polite ( สุภาพ) - impolite ( ไม่สุภาพ) , action ( การก
ระทำา) - reaction ( การตอบสนอง)
2. การประสมคำาโดยการนำาคำาศัพท์ 2 คำาขึ้นไปมาเรียงติดต่อกันทำาให้เกิดคำาใหม่ ความ
หมายกว้างขึ้น อาจใช้ นาม + นาม , นาม + กริยา , นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคำาขยายจะอยู่
หน้าคำาศัพท์ คำาประสมอาจเขียนติดหรือแยกกันก็ได้
คำาภาษาอังกฤษที่กลายเป็นคำายืมในภาษาไทยมักเกิดการเปลี่ยนแปลงตามระบบเสียงที่แตก
ต่างกันโดย
1. การตัดเสียงพยัญชนะต้นคำาและท้ายคำา
2. การเพิ่มเสียง มีทั้งเสียงสระและเสียงพยัญชนะ โดยเฉพาะสระระหว่างพยัญชนะควบ
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3
เรื่อง การยืม
ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย
หน้า 8
เช่น copy - ก๊อปปี้ , meeting - มี้ตติ้ง เพิ่มเสียงพยัญชนะ slang - สแลง , screw - สกรู เพิ่ม
เสียงสระ
3. การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะทั้งต้นคำาและพยัญชนะท้ายคำา เช่น g = k-golf =
กอล์ฟ , g หรือ j = y-jam = แยม gypsy = ยิปซี sh = ch-shirt = เชิ้ต , v = w-vote = โหวต
เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นคำา jazz = แจ๊ส , bungalow = บังกะโล เปลี่ยนเสียงพยัญชนะท้ายคำา
ประมวลคำา ยืม จากภาษาอัง กฤษที่ใ ช้บ ่อ ย
กราฟ ( graph)
แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรเทียบ
กับตัวแปรอื่น
ก๊อก ( cork)
เครื่องปิด-เปิดนำ้าจากท่อ หรือภาชนะบรรจุนำ้า
กอซ ( gauze)
ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล
ก๊อปปี้ ( copy)
กระดาษที่ใช้ทำาสำาเนา
กอล์ฟ ( golf)
กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื้นที่ขวางกั้น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่กำาหนด
กะรัต (carat)
หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย
กัปตัน ( captain)
นายเรือ
ก๊าซ ( gas)
อากาศธาตุ
การ์ด ( card)
บัตร , บัตรเชิญ
การ์ตูน ( cartoon) ภาพล้อ , ภาพตลก บางทีเขียนติดต่อกันเป็นเรื่องยาว
กีตาร์ ( guitar)
เครื่องดนตรีใช้ดีด
กุ๊ก ( cook)
พ่อครัวทำากับข้าวฝรั่ง
เกม ( game)
การเล่น , การแข่งขัน
เกรด ( grade)
ระดับคะแนน , ชั้นเรียน
เกียร์ ( gear)
กลไกอุปกรณ์ส่งผ่านกำาลังและการเคลื่อนที่ของเครื่องกล ; ส่วนของรถต่อจากคล
แก๊ง ( gang)
กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า ( มักใช้ความหมายไม่ดี)
แก๊ป ( cap)
ชื่อหมวกมีกระบังหน้า
โกโก้ ( cocoa)
ชื่อเครื่องดื่มที่ทำามาจากเมล็ดผลโกโก้
โกล์ ( goal)
ประตูฟุตบอล
ไกด์ ( guide)
ผู้นำาเที่ยว , คนนำาทาง
ครีม ( cream)
คลาสสิก (classic) ดีถึงขนาด
คลินิก ( clinic)
สถานพยาบาลของเอกชน
เคลียร์ ( clear)
ทำาให้ชัดเจน , ทำาให้หมดสิ้น
คอฟฟีเมต ( coffee mate) ครีมเทียมใส่กาแฟ เป็นผงสีขาวรสมัน
คอตตอนบัด ( cotton bud) สำาลีพันปลายไม้
คอนกรีต ( concrete)
วัสดุก่อสร้างประกอบด้วย ซีเมนต์หิน ทราย นำ้าผสมกัน เมื่อแห้งจะแข็งม

Contenu connexe

Tendances

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
ยาหม่องตราถ้วยทอง
ยาหม่องตราถ้วยทองยาหม่องตราถ้วยทอง
ยาหม่องตราถ้วยทองSikarin Lerksirikornkull
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวนางสาวอัมพร แสงมณี
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยPitchyJelly Matee
 
วิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอยวิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอยSittikorn Thipnava
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
Teknologji XII
Teknologji XIITeknologji XII
Teknologji XIIDenis Lezo
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 

Tendances (20)

การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
ยาหม่องตราถ้วยทอง
ยาหม่องตราถ้วยทองยาหม่องตราถ้วยทอง
ยาหม่องตราถ้วยทอง
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
 
ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
วิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอยวิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ทวีปอาฟริกา
ทวีปอาฟริกาทวีปอาฟริกา
ทวีปอาฟริกา
 
Teknologji XII
Teknologji XIITeknologji XII
Teknologji XII
 
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุวัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 

Similaire à ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59Manee Prakmanon
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศKSPNKK
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 

Similaire à ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม (20)

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 

Plus de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Plus de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 

ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 1 การยืม คำา การยืม คือ ภาษาหนึ่งนำาเอาคำาหรือลักษณะทางภาษาของอีกภาษาหนึ่งไปใช้ใน ภาษาของตน ซึ่งภาษาที่ถูกยืมมามักจะถูกเปลี่ยนแปลง รูปคำา เสียง และความหมายในภาษาใหม่เพื่อความสะดวกในการออกเสียง และเป็นไปตามลักษณะ สำาคัญของภาษาของผู้ยืม จำาแนกการยืมคำาหรือลักษณะของภาษาอื่นไว้ 3 ประเภท คือ 1. เนื่องจากวัฒนธรรม ซึ่งหมายถึงชน 2 กลุ่ม ต่างภาษาและ ต่างวัฒนธรรมกัน กลุ่ม ที่ด้อยกว่ามักจะรับเอาวัฒนธรรมจากกลุ่มที่เจริญกว่า เมื่อรับเอาวัฒนธรรมก็ยอมรับเอาภาษามา ด้วย เพราะภาษาก็เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม 2. เนื่องจากความใกล้ชิด ชน 2 กลุ่ม ต่างภาษา เช่น คนไทยกับคนเขมรในภาษา ไทยมีคำาภาษาเขมรอยู่มากมาย เช่น เดิน เสวย เถกิง เป็นต้น ในขณะเดียวกันภาษาเขมรก็มีคำา ภาษาไทยเป็นจำานวนมาก เช่น สามสิบ สี่สิบ ห้าสิบ เป็นต้น หรือคนไทยกับคนจีน เช่น คำาภาษา จีนในคำาไทย ก๋วยเตี๋ยว โอเลี้ยง แป๊ะเจี๊ยะ หรือ คำาภาษาไทยในคำาภาษาจีน นำ้าปลา ตลาด เป็นต้น 3. การยืมจากกลุ่มภาษาหรือจากภาษาถิ่น เช่น ระหว่างกลุ่มคนภาคเหนือกับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ กลุ่มคนภาคกลางกับกลุ่มคนภาคใต้ เป็นต้น อิทธิพลของการยืม การยืมทำาให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่อวงศัพท์ซึ่งการยืมทำาให้ จำานวนศัพท์ในภาษามีการเพิ่มพูน เกิดวาระการใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคำาไวพจน์ คือ คำาที่มีความ หมายเดียวกัน แต่เราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทั้งยังมีประโยชน์ในการแต่ง บทร้องกรองเพราะมีหลากคำา ประวัต ศ าสตร์ก ารยืม ของประเทศไทย ิ ภาษาไทยมีการยืมจากภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนเป็นเวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลา จารึกของพ่อขุนรามคำาแหงเมื่อปี พ.ศ. 1826 ปรากฏคำายืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเขมร เข้ามาปะปนมากมาย ประเทศไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทำาให้มีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ใน ภาษา ไทยเป็นจำานวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส พม่า มอญ อังกฤษ สาเหตุก ารยืม ของภาษาไทย 1. ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน การมีอาณาเขตติดต่อหรือใกล้เคียงกันกับมิตรประเทศ 2. ความสัมพันธ์ทางการค้า การติดต่อซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับต่างประเทศ 3. ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม การเผยแพร่ ศิลปะ วรรณคดี ของต่าง ประเทศ สู่ประเทศไทย 4. การศึกษาและการกีฬา การที่นักเรียนไทยไปศึกษาที่ต่างประเทศทำาให้รับวิชาความรู้ และวิทยาการมากมาย 5. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีซึ่งกันและกัน ระหว่างไทยกับต่าง ประเทศ คำาในภาษาต่างประเทศที่ไทยยืมมาใช้นั้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 ได้บันทึกไว้ 11 ภาษา คือ เขมร จีน ชวา ญวน ตะเลง เบงคอลี บาลี ฝรั่งเศส สันสกฤต อังกฤษ และฮินดู ต่อมาพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้บันทึกที่มาของคำายืมไว้ 14 ภาษา โดยเพิ่มจากเดิมอีก 3 ภาษา คือ ญี่ปุ่น มาลายู และลาติน ซึ่งภาษาที่เป็นแหล่งสำาคัญของคำา ยืมในภาษาไทย ได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาซึ่งเป็นภาษาวิภัตติปัจจัย คำาในภาษา เหล่านี้มักจะมีหลายพยางค์
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 2 คำา ยืม จากภาษาเขมร เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั้งทางการค้า การสงคราม การเมืองและ วัฒนธรรม เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมี อาณาเขตติดต่อกัน ทำาให้เขมรภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่น เขมรก็คล้ายคลึงกับภาษาพูดของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดน ไทย - กัมพูชาด้วย ลัก ษณะภาษาเขมร 1. ภาษาเขมรเป็นภาษาคำาโดด คำาส่วนใหญ่มีเพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด มี พยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ : ก ข ค ฆ ง วรรคจะ : จ ฉ ช ฌ ญ วรรคฏะ : ฏ ฐ ฑ ฒ ณ วรรคตะ : ต ถ ท น ธ วรรคปะ : ป ผ พ ภ ม เศษวรรค : ย ร ล ว ส ห ฬ อ 2. ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคำายืมบางคำาให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้ 3. ภาษาเขมรมีสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระ ประสม 2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเดี่ยวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3 เสียง 4. ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกลำ้ามากมาย มีพยัญชนะควบกลำ้า 2 เสียง ถึง 85 หน่วย และพยัญชนะควบกลำ้า 3 เสียง 3 หน่วย การสร้า งคำา ในภาษาเขมร 1. การเติมหน่วยหน้าคำา ทำาให้คำาเดิมพยางค์เดียวเป็นคำาใหม่ 2 พยางค์เรียกว่าการลง อุปสรรค บำ (บัง , บัน , บำา) เช่น เพ็ญ - บำาเพ็ญ , เกิด - บังเกิด , โดย-บันโดย -เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอ่านว่า "บัง" เช่น บังคม , บังเกิด , บังอาจ -เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคตะ อ่านว่า "บัน" เช่น บันดาล , บันโดย , บันเดิน -เมื่อ บำ อยู่หน้าวรรคปะ อ่านว่า "บำา" เช่น บำาบัด , บำาเพ็ญ , บำาบวง 2. การเติมหน่วยกลางคำา ทำาให้คำาเดิมพยางค์เดียว เป็นคำาใหม่ 2 พยางค์ เรียกว่าการ ลงอาคม ก. การลง อำา น เช่น จง- จำานง , ทาย -ทำานาย , อวย-อำานวย ข. การเติม อำา เช่น กราบ-กำาราบ.ตรวจ-ตำารวจ , เปรอ-บำาเรอ ค. การเปลี่ยน ข เป็น ก , ฉ เป็น จ และเพิ่ม ห เช่น ฉัน-จังหัน , แข็ง-กำาแหง ง. การเติม ง , บ , ร , ล เช่น เรียง-ระเบียง , เรียบ-ระเบียบ , ราย-ระบาย ลัก ษณะคำา เขมรในภาษาไทย 1. ส่วนมากมาจากสะกดด้วย จ ญ ร ล ส เช่น เผด็จ , บำาเพ็ญ , กำาธร , ถกล ,ตรัส 2. ต้องแปลความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง 3. เมื่อมาใช้ในภาษาไทย ข แผลงกระ เช่น ขจาย-กระจาย , โขดง -กระโดง 4. นิยมใช้อักษรนำาแบบออกเสียงตัวนำาโดยพยางค์ต้นออกเสียง อะ กึ่งเสียง พยางค์หลัง ออกเสียงตามสระที่ผสมอยู่ เช่น สนุก , สนาน , เสด็จ ,ถนน , เฉลียว 5. ส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น เสวย , บรรทม , เสด็จ , โปรด ประมวลคำา ยืม จากภาษาเขมรที่ใ ช้บ อ ย ่ กฎ จด ไว้เป็นหลักฐาน ; ข้อบังคับ กรรไตร(กันไต เครื่องมือสำาหรับตัดโดยใช้หนีบ
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 3 ร) หลั่งนำ้าอุทิศส่วนกุศล กรวด(กฺรวด) ชื่อเต่าทะเลหลังเป็นเกร็ดแผ่นโตๆ สีนำ้าตาลเหลืองปากงุ้ม ขาเป็นพาย กระ อาการที่ของเหลวพุ่งออกไป กระฉูด แนบแน่น กระชับ ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก กระเชอ เอาเข้าสะเอว กระเดียด ใบเรือ กระโดง กระโถน ภาชนะบ้วนนำ้าหรือทิ้งของที่ไม่ต้องการลงไป กระทรวง ส่วนราชการเหนือทบวง , กรม กระท่อม เรือนเล็กทำาด้วยไม้หลังคามุงจาก กระบอง ไม้สั้นสำาหรับใช้ตี กระบือ ควาย กระเพาะ อวัยวะภายในท้อง มีหน้าที่ย่อยอาหาร กระแส นำ้าหรือลมที่ไหล-พัดเรื่อยเป็นแนวไม่ขาดสาย กังวล มีใจพะวงอยู่ กัน โกนให้เสมอกัน กำาจัด ขับไล่ , ปราบปราม กำาเดา เลือดที่ออกทางจมูก กำาธร สนั่น , หวันไหว ่ กำาแพง เครื่องกั้น , เครื่องล้อมที่ก่อด้วยอิฐ กำาลัง แรง ; สิ่งที่ทำาให้เกิดอำานาจความเข้มแข็ง ขจร(ขะจอน) ฟุ้งไปในอากาศ คำา ยืม จากภาษาจีน ไทยและจีนเป็นมิตรประเทศที่ติดต่อเจริญสัมพันธไมตรี อีกทั้งยังมีการค้าขายแลกเปลี่ยน สินค้าและวัฒนธรรมอันดีงามกันมาช้านานรวมทั้งศิลปะ สถาปัตยกรรมต่างๆ ด้วย ชาวจีนที่เข้ามาค้าขายตลอดจนตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศไทยเป็นจำานวนมาก ปัจจุบัน คน ไทยเชื้อสายจีนก็เพิ่มพูนขึ้นมากมาย ภาษาจีนจึงเข้ามาสู่ไทยโดยทางเชื้อสาย นอกจากนี้ภาษาจีน และภาษาไทยยังมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันจึงทำาให้คำาภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่ใน ภาษาไทยจนแทบแยกกันไม่ออก ลัก ษณะภาษาจีน ภาษาจีนมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เป็นภาษาคำาโดดและมีเสียง วรรณยุกต์ใช้ เช่นเดียวกัน เมื่อนำาคำาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกต์และสระประสมใช้ จึงทำาให้สามารถ ออกเสียงวรรณยุกต์และสระตามภาษาจีนได้อย่างง่ายดาย คำาภาษาจีนยังมีคำาที่ บอกเพศในตัวเช่นเดียว กับภาษาไทยอีกด้วย เช่น เฮีย(พี่ชาย) , ซ้อ(พี่สะใภ้) , เจ๊(พี่สาว) นอกจากนี้การสะกดคำาภาษาจีนในภาษาไทยยังใช้ตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา และมีการใช้ทัณฑฆาต หรือตัวการันต์ด้วย ประมวลคำา ยืม จากภาษาจีน ที่ใ ช้บ ่อ ย ก๊ก พวก , หมู่ , เหล่า กงเต๊ก การทำาบุญให้ผู้ตายพิธีจีนโดยสวดและเผากระดาษรูปต่างๆ มี บ้านรถ , คนใช้ กวยจั๊บ ชื่อของกินทำาด้วยแป้งข้าวเจ้าหั่นเป็นชิ้นใหญ่ ก๋วยเตี๋ยว ชื่อของกินทำาด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นๆ กอเอี๊ยะ ขี้ผึ้งปิดแผลชนิดหนึ่งแบบจีน กะหลำ่า ชื่อไม้ล้มลุก มีหลายพันธุ์ กังฟู ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบจีนเน้นสมาธิและความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 4 กุ๊น ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่นๆแต่ต้องใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียง กุยช่าย ชื่อไม้ล้มลุกคล้ายต้นหอม ใบแบน กลิ่นฉุน กินได้ เก๊ ปลอมเลียนแบบให้คิดว่าเป็นของแท้ ; ของปลอม เก๋ งามเข้าที เก๊ก วางท่า ; ขับไล่ เกาลัด ไม้ต้นขนาดเล็ก เปลือกผลหนา ไม่มีหนาม เมล็ดเกลี้ยง เกาเหลา แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด ไม่ใช่แกงเผ็ดแกงส้ม เก้าอี้ ที่นั่งมีขา ยกย้ายได้มีหลายชนิด ลักษณนามว่า ตัว เกี๊ยว ของกินทำาด้วยแป้งสาลีเป็นแผ่นห่อหมูสับเป็นต้น เกี๊ยะ เกือกไม้แบบจีน โก๋ ชื่อขนมทำาด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมนำ้าตาลทรายอัดใส่พิมพ์รูปต่างๆ ขาก๊วย กางเกงจีน ขาสั้น ขิม ชื่อเครื่องดนตรีจีนรูปคล้ายพระจันทร์ครึ่งซีกใช้ตี เข่ง ภาชนะสานมีรูปต่างๆ ทำาจากไม้ไผ่ ง่วน เพลิน , ทำาเพลิน , เล่นอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง งิว ้ ละครจีนแบบโบราณ , อุปรากรจีน จับกัง กรรมกร , ผู้ใช้แรงงาน จับฉ่าย ชื่อแกงอย่างจีนใส่ผักหลายชนิด ; ของต่างๆ ที่ปะปนกันไม่เป็นชุด เจ หรือแจ อาหารที่ไม่มีของสดของคาวสำาหรับผู้ถือศีล , เจ๊ง ล้มเลิกกิจการเพราะหมดทุน ; สิ้นสุดเลิกกันไป , เจ๊า หายกัน(ภาษาการพนัน) เจี๊ยบ จัด(รสชาติ) , มาก , ยิ่งนัก โจ๊ก ข้าวต้มที่ใช้ปลายข้าวต้มจนเละ ฉำาฉา ต้นก้ามปู , ต้นจามจุรี ไม้เนื้ออ่อน เฉาก๊วย ชื่อขนมคล้ายวุ้นสีดำากินกับนำ้าหวาน แฉ แบ , ตีแผ่ , เปิดเผย ชีชำ้า เศร้าโศก , เสียใจ ซวย เคราะห์ร้าย , อับโชค ซาลาเปา ชื่อขนมของจีนทำาด้วยแป้งสาลีเป็นลูกกลมมีไส้ข้างในทั้งหวานและเค็ม เซียน ผู้สำาเร็จ , ผู้วิเศษ , ผู้ที่เก่ง ชำานาญทางเฉพาะ ต๋ง ชักเอาเงินไว้จากขาไพ่ที่เป็นผู้กินหรือลูกค้าที่แทงถูกในการพนัน ตะหลิว เครื่องมือใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผัดในกระทะทำาด้วยเหล็กมีด้ามจับ ตังเก ชื่อเรือจับปลาตามชายฝั่งทะเล มีเสากระโดง มีเก๋ง 2 ชั้น ตังโอ๋ ้ ชื่อไม้ล้มลุกใบเล็กหนา กลิ่นหอม กินได้ ตัว ๋ บัตรบางอย่างแสดงสิทธิของผู้ใช้ ตุน การเก็บหรือกันสิ่งใดๆ ไว้กันขาดแคลน หรือ หวังค้ากำาไร ตุน ๋ การปรุงอาหารโดยเอาใส่ภาชนะวางในภาชนะที่มีนำ้าเอาฝาครอบตั้งไฟ ตุย ๊ เอาหมัดกระแทก เต้าเจี้ยว ถั่วเหลืองหมักเกลือ ใช้ปรุงอาหาร เต้าส่วน ขนมหวานทำาด้วยแป้งเปียกกวนกับถั่วเขียวที่เอาเปลือกออกราดกะทิ เต้าหู้ ถั่วเหลืองโม่เป็นแป้ง ทำาเป็นแผ่นๆ ก้อนๆ เต้าฮวย ขนมหวานทำาด้วยนำ้าถั่วเหลืองแข็งตัว ปรุงด้วยนำ้าขิงต้มนำ้าตาล
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 5 คำา ยืม จากภาษาสัน สกฤต ภาษาสันสกฤตเกิดจากภาษาพระเวท มีกฎเกณฑ์รัดกุมมาก เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็น ภาษาที่ผู้มีการศึกษาสูงใช้ และเป็นภาษาทางวรรณคดีใช้เขียนคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์มี ผู้ศึกษาน้อยจนเป็นภาษาที่ตายไปในที่สุด การที่ไทยเรารับเอาลัทธิบางอย่างมาจากศาสนา พราหมณ์ ทำาให้ภาษาสันสกฤตได้เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยด้วย ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาที่ ไพเราะและสุภาพมากจึงมักใช้ในบทร้อยกรองและวรรณคดี สระในภาษาสัน สกฤต ภาษาสันสกฤตมีสระทั้งหมด 14 เสียง สระเดี่ยว 10 เสียง สระประสม 4 เสียง พยัญชนะวรรคในภาษาบาลีสันสกฤต กัณฐชะ ฐานคอ วรรคกะ กขคฆง ตาลุชะ ฐานเพดาน วรรคจะ จฉชฌญ มุทธชะ ฐานปุ่มเหงือก วรรคฏะ ฏฐฑฒณ ทันตชะ ฐานฟัน วรรคตะ ตถทธน โอษฐชะ ฐานริมฝีปาก วรรคปะ ปผพภม เศษวรรค ยรลวศษสหฬ การสร้า งคำา ในภาษาสัน สกฤต 1. การสมาส เช่น ศิลป + ศาสตร์ = ศิลปศาสตร์ , มานุษย + วิทยา = มานุษยวิทยา 2. การสนธิ เช่น คณ + อาจารย์ = คณาจารย์ , ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์ 3. การใช้อุปสรรค คือ การเติมพยางค์ประกอบหน้าศัพท์เป็นส่วนขยายศัพท์ ทำาให้ความ หมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น วิ - วิเทศ , สุ - สุภาษิต , อป - อัปลักษณ์ , อา - อารักษ์ ข้อ สัง เกต 1. ภาษาสันสกฤตจะใช้สระประสม ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา คำาประสมสระไอเมื่อเป็นคำาไทย ใช้สระแอ (ไวทย - แพทย์) 2. ภาษาสันสกฤตจะใช้พยัญชนะ ศ ษ ฑ (บาลีใช้ ส , ฬ) เช่น กรีฑา , ศิลป , ษมา 3. ภาษาสันสกฤตมีพยัญชนะประสมและ รร ใช้ เช่น ปรากฏ , กษัตริย์ ; ครรภ์ , จักรวรรดิ ประมวลคำา ยืม จากภาษาสัน สกฤตที่ใ ช้บ ่อ ย กนิษฐ์ น้อง , น้อย ( คู่กับเชษฐ์) กบินทร์ พญาลิง (กปิ + อินทร) กรกฎ (กอระกด) ปู ; ชื่อกลุ่มดาวปู กรม (กฺรม) ลำาดับ กรรณ (กัน) หู , ใบหู กรรณิกา (กัน-) ดอกไม้ กรรม (กำา) การกระทำาที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบันหรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปยังอนาคต กรรมกร ผู้ใช้แรงงาน , คนงาน , ลูกจ้าง (กรฺม+ กร) กรรมการ คณะบุคคลที่ร่วมกันทำางานที่ได้รับมอบหมาย (กรฺม + การ) กรรมฐาน (กำามะถาน) ทีตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ ่ กรรมพันธุ์ (กำามะพัน) มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ , ลักษณะนิสัย-โรคที่สืบมาจากพ่อแม่ (กรฺม + พนฺธุ) กรรมวาจา (กำามะ-) คำาประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์ (กรฺม + วาจา) กรรมสิทธิ์ (กำามะสิด) ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (กรฺม + สิทฺธิ) กระษาปณ์ (- สาบ) เงินตราที่ทำาด้วยโลหะ กษาปณ์ก็ใช้ กริยา คำาที่แสดงอาการของนาม หรือสรรพนาม กรีฑา กีฬาประเภทลู่และลาน ; การเล่นสนุก กฤษฎี (กฺริดสะดี) รูป
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 6 กษมา (กะสะมา) ความอดกลั้น , ความอดโทษ ; กล่าวคำาขอโทษ กษัตริย์ (กะสัด) พระเจ้าแผ่นดิน ใช้เต็มคำาว่า พระมหากษัตริย์ กันยา นางงาม , สาวรุ่น , สาวน้อย กัลป์ ระยะเวลานานมาก โบราณถือว่าโลก ประลัยครั้งหนึ่งคือสิ้นกัลป์หนึ่ง กัลปพฤกษ์ (กันละปะพรึก) ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลตามปรารถนา กัลปาวสาน (กันละปาวะสาน) ที่สุดแห่งระยะเวลาอันยาวนาน (กลฺป + อวสาน) กาญจนา ทอง กานต์ เป็นที่รัก ( มักเป็นส่วนท้ายของสมาส) กาพย์ คำาร้อยกรองจำาพวกหนึ่ง กายกรรม (กายยะกำา) การทำาด้วยกาย ; การดัดตนเพื่อให้ ร่างกายแข็งแรง (กาย + กรฺม) กาลเทศะ ( กาละเทสะ) เวลาและสถานที่ ; ความควรไม่ควร กาลกิณี (กาละ- , กานละ) เสนียดจัญไร , ลักษณะที่เป็นอัปมงคล กาลี ชั่วร้าย , เสนียดจัญไร กาสร (กาสอน) ควาย กำาจร ( กำาจอน) ฟุ้งไปในอากาศ กีรติ, เกียรติ , ชื่อเสียง , ความยกย่องนับถือ กุลบุตร ( กุลละบุด) ลูกชายผู้มีตระกูล กุลสตรี (กุนละสัดตฺรี) หญิงผู้มีตระกูล กุศล (- สน) สิ่งที่ดีที่ชอบ , บุญ ; ฉลาด เกลศ (กะเหฺลด) กิเกส เกศ (เกด) ผม , หัว เกษตร (กะเสด) ที่ดิน , ทุ่งนา , ไร่ เกษม (กะเสม) ความสุขสบาย , ความปลอดภัย เกษียณ (กะเสียน) สิ้นไป เกษียรสมุทร ทะเลนำ้านม (กฺษีร + สมุทร) เกียรติ์ (เกียด) ชื่อเสียง , ความยกย่องนับถือ โกเมน พลอยสีแดงเข้ม โกรธ (โกฺรด) ขุ่นเคืองใจอย่างแรง ; ไม่พอใจมาก โกศ (โกด) ที่ใส่ศพนั่งเป็นรูปกลมทรงกระบอกฝา ครอบมียอด ; ที่ใส่กระดูกผี โกศล (โกสน) ฉลาด คเชนทร์ (คะเชน) พญาช้าง (คช + อินฺทร) คณาจารย์ อาจารย์ของหมู่คณะ , คณะอาจารย์ ( คณ + อาจารฺย) คณิตศาสตร์ (คะนิดตะสาด) วิชาว่าด้วยการคำานวณ (คณิต + ศาสฺตฺรย) ครรภ์ (คัน) ท้อง (เฉพาะท้องหญิงมีลูก) คราส (คฺราด) กิน ; จับ ; ถือ ครุฑ (คฺรุด) พญานก พาหนะของพระนารายณ์ คฤหบดี (คะรึหะบอดี) ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน คฤหัสถ์ (คะรึหัด) ฆราวาส , ผู้ครองเรือนที่ไม่ใช่นักบวช คามภีร์ (คามพี) ลึกซึ้ง (คัมภีร์) เรื่อง การยืม
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 7 คุปต์ รักษา , คุ้มครอง , ปกครอง เคหสถาน (เคหะ-) บ้านเรือน , ที่อยู่อาศัยรวมพื้นที่บริเวณที่เป็น ที่อยู่ เคารพ (เคารบ) แสดงอาการนับถือ , ไม่ล่วงเกิน โคตร (โคด) วงศ์ตระกูล , เผ่าพันธุ์ , ต้นสกุล โฆษก (โคสก) ผู้ประกาศ , ผู้โฆษณา โฆษณา (โคดสะนา) การเผยแพร่หนังสือออกสู่สาธารณชน ; ป่าว ประกาศ จงกรม (จงกฺรม) เดินไปมาในที่ที่กำาหนดอย่างพระเจริญ กรรมฐานเดิน จตุร สี่ ( ใช้ประกอบหน้าคำาอื่น) จรรยา (จันยา) ความประพฤติ ; กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่ ในคณะ (ใช้ทางดี) จักร (จัก) อาวุธในนิยายรูปเป็นวงกลมมีแฉกโดยรอบ จักรพรรดิ (จักกระพัด) พระราชาธิราช , ประมุขของจักรวรรดิ คำา ยืม จากภาษาอัง กฤษ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่วโลก การที่ไทยติดต่อ ค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร. 3 ไทยเริ่ม มีการยืมคำาจากภาษาอังกฤษมาใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจนเจ้านายและ ข้าราชการที่ได้ศึกษาภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทำาให้ภาษา อังกฤษเข้ามามีบทบาทในภาษาไทยมากขึ้น ร. 4 ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษา ภาษาอังกฤษ มากด้วย ลัก ษณะภาษาอัง กฤษ 1. ภาษาอังกฤษมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาหรือเติมท้ายศัพท์ในลักษณะต่างๆ กันเพื่อแสดง ลักษณะไวยากรณ์ เช่น การบอกเพศ พจน์ กาล ( go-went-gone) หรือทำาให้คำาเปลี่ยนความ หมายไป 2. คำาในภาษาอังกฤษมีการลงนำ้าหนัก ศัพท์คำาเดียวกันถ้าลงนำ้าหนักต่างพยางค์กันก็ย่อม เปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำา เช่น record - record 3. ภาษาอังกฤษมีตัวอักษร 26 ตัว สระเดี่ยว (สระแท้) 5 ตัว สระประสมมากมาย 4. ภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกลำ้ามากมาย ทั้งควบกลำ้า 2 เสียง 3 เสียง 4 เสียง ปรากฏได้ทั้งต้นและท้ายคำา เช่น spring, grease, strange พยัญชนะต้นควบ desk, past, text พยัญชนะท้ายควบ การสร้า งคำา ในภาษาอัง กฤษ 1. การใช้หน่วยคำาเติมทั้งหน้าศัพท์ ( prefix) และหลังศัพท์ ( suffix) โดยศัพท์นั้นเมื่อ เติมอุปสรรค , ปัจจัย จะทำาให้เกิดศัพท์ความหมายใหม่ หรือ ความหมายเกี่ยวข้องกันก็ได้ การ ปัจจัย ( suffix) เช่น draw ( วาด) - drawer ( จิตรกร) , write ( เขียน) - writer ( นักเขียน) การเติมอุปสรรค ( prefix) เช่น - polite ( สุภาพ) - impolite ( ไม่สุภาพ) , action ( การก ระทำา) - reaction ( การตอบสนอง) 2. การประสมคำาโดยการนำาคำาศัพท์ 2 คำาขึ้นไปมาเรียงติดต่อกันทำาให้เกิดคำาใหม่ ความ หมายกว้างขึ้น อาจใช้ นาม + นาม , นาม + กริยา , นาม + คุณศัพท์ ก็ได้ โดยคำาขยายจะอยู่ หน้าคำาศัพท์ คำาประสมอาจเขียนติดหรือแยกกันก็ได้ คำาภาษาอังกฤษที่กลายเป็นคำายืมในภาษาไทยมักเกิดการเปลี่ยนแปลงตามระบบเสียงที่แตก ต่างกันโดย 1. การตัดเสียงพยัญชนะต้นคำาและท้ายคำา 2. การเพิ่มเสียง มีทั้งเสียงสระและเสียงพยัญชนะ โดยเฉพาะสระระหว่างพยัญชนะควบ
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ท 20204 ชั้น ม. 3 เรื่อง การยืม ภาษาอื่นมาใช้ในภาษาไทย หน้า 8 เช่น copy - ก๊อปปี้ , meeting - มี้ตติ้ง เพิ่มเสียงพยัญชนะ slang - สแลง , screw - สกรู เพิ่ม เสียงสระ 3. การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะทั้งต้นคำาและพยัญชนะท้ายคำา เช่น g = k-golf = กอล์ฟ , g หรือ j = y-jam = แยม gypsy = ยิปซี sh = ch-shirt = เชิ้ต , v = w-vote = โหวต เปลี่ยนเสียงพยัญชนะต้นคำา jazz = แจ๊ส , bungalow = บังกะโล เปลี่ยนเสียงพยัญชนะท้ายคำา ประมวลคำา ยืม จากภาษาอัง กฤษที่ใ ช้บ ่อ ย กราฟ ( graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรเทียบ กับตัวแปรอื่น ก๊อก ( cork) เครื่องปิด-เปิดนำ้าจากท่อ หรือภาชนะบรรจุนำ้า กอซ ( gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล ก๊อปปี้ ( copy) กระดาษที่ใช้ทำาสำาเนา กอล์ฟ ( golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื้นที่ขวางกั้น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่กำาหนด กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย กัปตัน ( captain) นายเรือ ก๊าซ ( gas) อากาศธาตุ การ์ด ( card) บัตร , บัตรเชิญ การ์ตูน ( cartoon) ภาพล้อ , ภาพตลก บางทีเขียนติดต่อกันเป็นเรื่องยาว กีตาร์ ( guitar) เครื่องดนตรีใช้ดีด กุ๊ก ( cook) พ่อครัวทำากับข้าวฝรั่ง เกม ( game) การเล่น , การแข่งขัน เกรด ( grade) ระดับคะแนน , ชั้นเรียน เกียร์ ( gear) กลไกอุปกรณ์ส่งผ่านกำาลังและการเคลื่อนที่ของเครื่องกล ; ส่วนของรถต่อจากคล แก๊ง ( gang) กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า ( มักใช้ความหมายไม่ดี) แก๊ป ( cap) ชื่อหมวกมีกระบังหน้า โกโก้ ( cocoa) ชื่อเครื่องดื่มที่ทำามาจากเมล็ดผลโกโก้ โกล์ ( goal) ประตูฟุตบอล ไกด์ ( guide) ผู้นำาเที่ยว , คนนำาทาง ครีม ( cream) คลาสสิก (classic) ดีถึงขนาด คลินิก ( clinic) สถานพยาบาลของเอกชน เคลียร์ ( clear) ทำาให้ชัดเจน , ทำาให้หมดสิ้น คอฟฟีเมต ( coffee mate) ครีมเทียมใส่กาแฟ เป็นผงสีขาวรสมัน คอตตอนบัด ( cotton bud) สำาลีพันปลายไม้ คอนกรีต ( concrete) วัสดุก่อสร้างประกอบด้วย ซีเมนต์หิน ทราย นำ้าผสมกัน เมื่อแห้งจะแข็งม