SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Emerging Technologies 
in Teaching and 
Learning 
3D Printing | Games and Gamification | Cloud Computing 
จัดทำโดย 
1. นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4 
2. นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 
3. นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4
3D Printing 
3D Printing คืออะไร 
“การพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) หมายถึง เทคโนโลยีในการ 
สร้างวัตถุทางกายภาพจากไฟล์ดิจิตอล 3 มิติ เช่น โปรแกรมช่วย 
ออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (CAD), การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัย 
คอมพิวเตอร์ (CAT), การยิงรังสีเอ็กซ์ในผลึกสาร (X-ray 
crystallography)”
3D Printing 
ออกแบบโมเดล 3 มิติด้วยคอมพิวเตอร์ พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์3 มิติ เสร็จสมบูรณ์
3D Printing 
คุณลักษณะช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
• การพิมพ์ 3 มิติช่วยให้ผู้เรียนสามารถสารวจและศึกษาวัตถุทาง 
กายภาพบางอย่างที่ไม่สามารถนามาแสดงในห้องเรียนได้ดียิ่งขึน้ 
เช่น การพิมพ์โครงสร้างโปรตีนที่ซับซ้อน, การพิมพ์อวัยวะภายใน 
ร่างกาย 
• สร้างแนวคิดที่เราสามารถสร้างวัตถุที่เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม 
รอบตัวได้ ซึ่งจะช่วยเพาะบ่มทักษะในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ 
• ฝึกให้ผู้เรียนได้มีทักษะในการวาดภาพในจินตนาการเพื่อช่วยในการ 
ออกแบบ
3D Printing 
แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
• ก า ร น า ไ ป ใ ช้ใ น ก า ร เ รีย น ร ะ ดับ 
ประถมศึกษา ผู้เรียนจะได้รับมอบหมาย 
กรณีปัญหาให้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องทาการ 
วิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยการสร้าง 
ต้นแบบที่จับต้องได้ ซึ่งจะพัฒนาทักษะ 
การวิเคราะห์, การตระหนักถึงระยะ 
ระหว่างวัตถุ เช่นเดียวกับทักษะทาง 
คณิตศาสตร์
3D Printing 
แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
• การนาไปใช้ในการเรียนระดับมัธยมศึกษา จะมีการ 
เรียนรู้ที่เปิดกว้างมากขึน้ การเรียนวิชาศิลปะและ 
งานฝีมือจะมีตัวเลือกที่มากขึน้ ความคิดสร้างสรรค์ 
ของผู้เรียนจะถูกจุดประกายจากการที่ไม่มีข้อจากัด 
ในสายการเรียนที่เกี่ยวกับทางช่างจะสามารถมี 
กระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ได้เนื่องจากสามารถ 
ออกแบบและสร้างวัตถุต้นแบบแล้วนามาวิเคราะห์ 
แล้วปรับปรุงให้ดีขึน้ได้ การเรียนรู้ในลักษณะนีจ้ะ 
กระตุ้นความมั่นใจของผู้เรียน เพราะว่านอกจาก 
การปรับปรุงการออกแบบจะไม่เพียงแต่ปรับปรุง 
ข้อผิดพลาดเท่านัน้ แต่จะเป็นการส่วนหนึ่งของ 
กระบวนการออกแบบด้วย
3D Printing 
แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
• การนาไปใช้ในการเรียนระดับอุดมศึกษา จะ 
เปลี่ยนการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาใน 
หลายส่วน ส่วนที่เปลี่ยนแปลงมากคือ 
ความสามารถในการสร้างงานต้นแบบที่มี 
ประโยชน์อย่างมากสาหรับผู้เรียนในสาย 
วิศวกรรม, สถาปัตยกรรม และศิลปะ
3D Printing 
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำร 
ผเู้เรรีียยนนนราู้เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติมาช่วยในการสร้าง 
ชิ้นส่วนโครงกระดูกของไดโนเสาร์เพื่อประกอบขึ้นเป็น 
ชิน้ส่วนที่สมบูรณ์ 
http://www.youtube.com/watch?v=_ 
KBxG1_WO8k
3D Printing 
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำร 
กเารรียใชน้การรู้พิมพ์ 3 มิติเพื่อช่วยเป็นสื่อการเรียนรู้ในการเรียน 
การสอนทางการแพทย์ และการฝึกซ้อมการผ่าตัด 
http://www.youtube.com/watch?v= 
Xb4zMK9Lsz8
3D Printing 
 Reference 
 The New Media Consortium. Horizon Report 2013 Higher Education Edition. 
http://www.nmc.org/pdf/2013-horizon-report-HE.pdf 
 Wikipedia. 3D Printing http://en.wikipedia.org/wiki/3D_printing 
 3D Printing System. 3D Printer in Education. 
http://3dprintingsystems.com/education/
Games and Gamification 
Games (เกม) เป็นลักษณะของกิจกรรมของมนุษย์ เพื่อประโยชน์ 
อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เพื่อฝึกทักษะ 
และเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น และในบางครัง้อาจใช้เพื่อประโยชน์ทาง 
การศึกษาได้เกมประกอบด้วย เป้าหมาย กฎเกณฑ์ การแข่งขันและ 
ปฏิสัมพันธ์ เกมมักจะเป็นการแข่งขันทางจิตใจหรือด้านร่างกาย 
หรือทัง้สองอย่างรวมกัน ซงึ่ส่งผลให้เกิดพัฒนาการของทักษะ ใช้ 
เป็นรูปแบบของการออกกาลังกาย หรือการศึกษา บทบาทสมมุติ 
และ จิตศาสตร์ เป็นต้น
Games and Gamification 
Gamification คือแนวคิดที่นาเอาทฤษฎีของเกม เทคนิคการออกแบบเกม เช่น การ 
สะสมแตม้ (Score) การเลื่อนระดับ (Level) การบ่งบอกระดับ (Badges or 
Achievements) เงินตราเสมือน (Virtual currency) ของรางวัล (Gifting) การซื้อ 
ขาย/แลกเปลี่ยน (Trading) และเทคนิคอื่น ๆ ที่ใชใ้นเกมมาใชใ้นการออกแบบการเรียน 
เรียนการสอน เพื่อกระตุน้ความสนใจในการเรียนรู้ โดยทา ให้การเรียนรู้เป็นเสมือนเกม 
เกมการแข่งขัน ระบบจะแสดงให้เห็นว่า ตอนนี้เรามีคะแนนในการเรียนรู้เท่าไรเมื่อเทียบ 
เทียบกับ คนอื่น ใครกา ลังเป็นผูท้า คะแนนนาอยู่ และเมื่อครบตามเวลาที่กา หนดไว้ใคร 
ไว้ใครที่มีคะแนนสูงสุด ก็จะมีการให้รางวัล พร้อมกันนั้นยังไดรั้บการจารึกชื่อไวเ้สมือน 
เสมือนการประกาศศักดาให้รู้ว่าใครมีคะแนนสูงสุด ที่สา คัญตอ้งพยายามรักษาตา แหน่ง 
ตา แหน่งแชมป์นี้ไวใ้ห้ได้ในขณะเดียวกันระบบก็จะเชิญชวนให้คนอื่นๆ อยากจะเขา้ 
เขา้มา “ลม้แชมป์” ในการเรียนรู้ดว้ย รวมทงั้มีฟิตแบก เพื่อกระตุน้ให้ผูเ้รียนกลับมาเล่น 
เล่นซา้อีกหลายๆ ครั้ง
องค์ประกอบของ Gamification 
ที่มา : http://www.ict.buu.ac.th/Blog/Lists/Posts/Post.aspx?ID=1335
แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนกำรสอน 
 ทา ความคุน้เคยกับเกมมาก่อนนาไปใชป้ระกอบการสอน โดย 
อ่านกติกาเล่นหลายๆครั้ง เพื่อให้เกิดความเขา้ใจที่ดี 
 เลือกใชใ้ห้เหมาะสมกับขนั้ตอนการสอน โดยพิจารณาว่าควร 
ใชเ้กมใดในขนั้ตอนใด 
 อธิบายวิธีการเล่นเกมแก่ผูเ้รียนอย่างชัดเจน จงตระหนักเสมอ 
ว่าเด็กทุกคนในชนั้เรียนเขา้ใจวิธีการเล่น 
 ควรแสดงวิธีการเล่นดว้ยตนเอง โดยยืนอยู่หน้าชนั้เรียน 
เพื่อให้ผูเ้รียนทงั้ชนั้มองเห็นอย่างทั่วถึง 
 ควรปฏิบัติตามกติกาที่กา หนดไวใ้นแต่ละเกมอย่างเคร่งครัด 
 ควบคุมเกมในขณะที่เล่นอย่าให้ผูเ้ล่นส่งเสียงดังมากเกินไป ทา 
ให้ระเบียบวินัยของห้องเรียนเสีย 
 สังเกตปฏิกิริยาของผูเ้รียนแต่ละคนในขณะที่เล่น ไม่ควรติ 
เตียนผูก้ระทา ผิดอย่างรุนแรง 
 อย่าเล่นเกมนั้นนานจนเกินไป แต่ละเกมควรใชเ้วลา 8- 
10 นาที 
 อย่าใชเ้กมบางอย่างบ่อยนัก เพราะจะทา ให้ผูเ้รียนไม่ 
กระตือรือร้นในการเล่น 
 ศึกษาขอ้เสนอแนะของเกมแต่ละอัน เพื่อดัดแปลงวิธีเล่นให้ 
สอดคลอ้งตามสภาพการเรียนการสอน
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนรู้ 
Games การเลือกและนาเสนอเกม ผูส้อนตอ้งสร้างขึ้นให้สอดคลอ้งกับวัตถุประสงค์ของ 
เนื้อหาสาระของการสอน ถา้นาเกมที่ผูอ้ื่นสร้างมาใช้ตอ้งนามาปรับ ดัดแปลงให้เหมาะสม 
กับวัตถุประสงค์ ซึ่งเกมการศึกษามี 3 ประเภท คือ 
 1 เกมแบบไม่มีการแข่งขัน เช่น เกมการสื่อสาร เกมการตอบคา ถาม เป็นตน้ 
 2 เกมแบบแข่งขัน มีผูแ้พ้ผูช้นะ เกมส่วนใหญ่จะเป็นเกมแบบนี้ 
เพราะการแข่งขันช่วยให้การเล่นเพ่มิความสนุกสนาน 
 3 เกมจา ลองสถานการณ์เป็นเกมที่จา ลองความเป็นจริง สถานการณ์จริง 
เกมแบบนี้มี 2 ลักษณะ คือ 
3.1 การจา ลองความเป็นจริงลงมาเล่นในกระดานหรือบอรด์เช่น 
เกมเศรษฐีเกมมลภาวะ เกมแกปั้ญหาความขัดแยง้เป็นตน้ 
3.2 การจา ลองสถานการณ์และบทบาทให้เหมือนความเป็นจริง 
โดยผูเ้ล่นจะตอ้งลงไปเล่นจริง 
http://www.l3nr.org/posts/532480
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนรู้ 
Gamification กลยุทธ์สา หรับการทา Gamification (หรือเรียกว่า gamify) 
ก็คือการให้รางวัลกับผูเ้ล่นที่ประสบผลสา เร็จถึงเป้าหมายที่ตงั้ไว้ซึ่งรางวัลก็จะเป็น 
แตม้ (point) เข็มหรือตรารับรอง (badge) หรือการไดข้ึ้นระดับชนั้ (level) ที่สูงขึ้น 
การไดเ้งินแบบเสมือน เป็นตน้“การแข่งขัน” ถือเป็นหัวใจสา คัญของการทา gamification 
การให้รางวัลแก่ผูช้นะหรือประสบผลสา เร็จ ก็ควรตอ้งให้ผูร้่วมแข่งขันทุกคนไดรั้บรู้ดว้ย 
ซึ่งจะเป็นกระตน้ให้ผูเ้ล่นทุกคนอยากจะแข่งขันเอาชนะกัน 
http://sipaedumarket.wordpress.com/2014/05/19/gamification
Cloud Computing 
Cloud Computing (การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ) 
เป็นรูปแบบบริการใชท้รัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกับผูอ้ื่น 
ผูใ้ชท้า งานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ซอฟต์แวร์และขอ้มูลทงั้หมด 
จะถูกเก็บไวบ้นเซิร์ฟเวอร์ของผูใ้ห้บริการ การใชท้รัพยากร 
บนอินเทอร์เน็ตมีความยืดหยุ่น สามารถที่จะปรับขนาดได้ 
ตามความตอ้งการของผูใ้ช้และมีการจัดสรรทรัพยากร โดย 
เน้นการทา งานระยะไกลอย่างง่าย 
ที่ใชอิ้นเทอร์เน็ตเป็นโครงสร้างพื้นฐาน
คุณลักษณะช่วยส่งเสริมกำร 
เรียนรู้ 
1) Agility : มีความรวดเร็วในการใช้งาน 
2) Cost : ค่าใช้จ่ายน้อย หรืออาจไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับ Client 
3) Device and Location Independence : ใช้ได้ทุกที่ 
แค่มีคอมพิวเตอร์ 
และอินเตอร์เน็ต 
4) Multi-Tenancy : แบ่งการใช้ทรัพยากรให้ผู้ใช้จานวนมากได้ 
5) Reliability : มีความน่าเชื่อถือ 
6) Scalability : มีความยืดหยุ่น 
7) Security : มีความปลอดภัย 
8) Sustainability : มีความมนั่คง
แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ 
หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนกำรสอน 
1. อีเมล์ช่วยให้การรับส่ง การสั่งงานดว้ยอีเมล์ระหว่างครู อาจารย์ 
นักเรียน นักศึกษาเป็นไปไดโ้ดยสะดวกดว้ยบริการของ Gmail, Hotmail 
หรือ Yahoo Mail เป็นตน้ 
2. ครู อาจารย์ใชบ้ริการฟรีของ WordPress.com, Slideshare.net, 
Youtube นาสื่อจาก PowerPoint เอกสารการสอนในรูปแบบ Word 
และ Video clip จากกลอ้งถ่ายภาพดิจิทัลส่งเขา้ระบบ พร้อมการพิมพ์ 
เนื้อหาบทเรียน และหรือการบา้น รวมทงั้เชื่อมโยงความสามารถระหว่าง 
เว็บเพื่อสร้างสรรค์เว็บ eLearning ที่มีลูกเล่นโดนใจนักเรียน นักศึกษาได้ 
ง่าย
3. การสร้างสรรค์บทเรียน สื่อการเรียนการสอน ครู อาจารย์ด้วยบริการ 
แปลงฟอร์แมต Video ของ Youtube บริการสร้างสไลด์ออนไลน์ของ Google Docs 
บริการตัดต่อภาพ/ปรับแต่งภาพจาก Pixlr.com จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาละเมิด 
ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ 
4. ช่องทางการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นไปได้ง่าย 
ขึน้ 
โดยการประยุกต์ใช้ Facebook, Wiki หรือ Google Group
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำร 
เรียนรู้ 
http://www.youtube.com/watch?v=SdWvm1hVXNM
ที่มำข้อมูล 
http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing 
http://ictandservices.blogspot.com/2012/05/cloud-computing.html 
http://macroart.net/2014/03/6-benefits-cloud-computing-technology/ 
http://ictandservices.blogspot.com/2012/05/cloud-computing.html 
จัดทำโดย 
1. นำยวีรวัฒน์สุดหำ 575050191-4 
2. นำงสำวสุธำทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 
3. นำงสำวสุนิจฐำ พองพรหม 575050196-4

Contenu connexe

Similaire à [Final] emerging technologies in teaching and learning

โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมNantiporn Khamluepluk
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKanyarat606
 
ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้Yong Panupun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Darunee Ongmin
 
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมTaksinfeef
 

Similaire à [Final] emerging technologies in teaching and learning (15)

โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกมการแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
การแข่งขันประกวดพัฒนาเกม
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
1247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 20111247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 2011
 
ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้ใบงาน8 แก้
ใบงาน8 แก้
 
ใบงานท 4
ใบงานท  4ใบงานท  4
ใบงานท 4
 
K7
K7K7
K7
 
Activity3 606
Activity3 606Activity3 606
Activity3 606
 
K8 (1)
K8 (1)K8 (1)
K8 (1)
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นมนายทักษิณ ดารา-ชั้นม
นายทักษิณ ดารา-ชั้นม
 

[Final] emerging technologies in teaching and learning

  • 1. Emerging Technologies in Teaching and Learning 3D Printing | Games and Gamification | Cloud Computing จัดทำโดย 1. นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4 2. นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 3. นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4
  • 2. 3D Printing 3D Printing คืออะไร “การพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) หมายถึง เทคโนโลยีในการ สร้างวัตถุทางกายภาพจากไฟล์ดิจิตอล 3 มิติ เช่น โปรแกรมช่วย ออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (CAD), การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัย คอมพิวเตอร์ (CAT), การยิงรังสีเอ็กซ์ในผลึกสาร (X-ray crystallography)”
  • 3. 3D Printing ออกแบบโมเดล 3 มิติด้วยคอมพิวเตอร์ พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์3 มิติ เสร็จสมบูรณ์
  • 4. 3D Printing คุณลักษณะช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ • การพิมพ์ 3 มิติช่วยให้ผู้เรียนสามารถสารวจและศึกษาวัตถุทาง กายภาพบางอย่างที่ไม่สามารถนามาแสดงในห้องเรียนได้ดียิ่งขึน้ เช่น การพิมพ์โครงสร้างโปรตีนที่ซับซ้อน, การพิมพ์อวัยวะภายใน ร่างกาย • สร้างแนวคิดที่เราสามารถสร้างวัตถุที่เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม รอบตัวได้ ซึ่งจะช่วยเพาะบ่มทักษะในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ • ฝึกให้ผู้เรียนได้มีทักษะในการวาดภาพในจินตนาการเพื่อช่วยในการ ออกแบบ
  • 5. 3D Printing แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ • ก า ร น า ไ ป ใ ช้ใ น ก า ร เ รีย น ร ะ ดับ ประถมศึกษา ผู้เรียนจะได้รับมอบหมาย กรณีปัญหาให้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องทาการ วิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยการสร้าง ต้นแบบที่จับต้องได้ ซึ่งจะพัฒนาทักษะ การวิเคราะห์, การตระหนักถึงระยะ ระหว่างวัตถุ เช่นเดียวกับทักษะทาง คณิตศาสตร์
  • 6. 3D Printing แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ • การนาไปใช้ในการเรียนระดับมัธยมศึกษา จะมีการ เรียนรู้ที่เปิดกว้างมากขึน้ การเรียนวิชาศิลปะและ งานฝีมือจะมีตัวเลือกที่มากขึน้ ความคิดสร้างสรรค์ ของผู้เรียนจะถูกจุดประกายจากการที่ไม่มีข้อจากัด ในสายการเรียนที่เกี่ยวกับทางช่างจะสามารถมี กระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ได้เนื่องจากสามารถ ออกแบบและสร้างวัตถุต้นแบบแล้วนามาวิเคราะห์ แล้วปรับปรุงให้ดีขึน้ได้ การเรียนรู้ในลักษณะนีจ้ะ กระตุ้นความมั่นใจของผู้เรียน เพราะว่านอกจาก การปรับปรุงการออกแบบจะไม่เพียงแต่ปรับปรุง ข้อผิดพลาดเท่านัน้ แต่จะเป็นการส่วนหนึ่งของ กระบวนการออกแบบด้วย
  • 7. 3D Printing แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ • การนาไปใช้ในการเรียนระดับอุดมศึกษา จะ เปลี่ยนการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาใน หลายส่วน ส่วนที่เปลี่ยนแปลงมากคือ ความสามารถในการสร้างงานต้นแบบที่มี ประโยชน์อย่างมากสาหรับผู้เรียนในสาย วิศวกรรม, สถาปัตยกรรม และศิลปะ
  • 8. 3D Printing ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำร ผเู้เรรีียยนนนราู้เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติมาช่วยในการสร้าง ชิ้นส่วนโครงกระดูกของไดโนเสาร์เพื่อประกอบขึ้นเป็น ชิน้ส่วนที่สมบูรณ์ http://www.youtube.com/watch?v=_ KBxG1_WO8k
  • 9. 3D Printing ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำร กเารรียใชน้การรู้พิมพ์ 3 มิติเพื่อช่วยเป็นสื่อการเรียนรู้ในการเรียน การสอนทางการแพทย์ และการฝึกซ้อมการผ่าตัด http://www.youtube.com/watch?v= Xb4zMK9Lsz8
  • 10. 3D Printing  Reference  The New Media Consortium. Horizon Report 2013 Higher Education Edition. http://www.nmc.org/pdf/2013-horizon-report-HE.pdf  Wikipedia. 3D Printing http://en.wikipedia.org/wiki/3D_printing  3D Printing System. 3D Printer in Education. http://3dprintingsystems.com/education/
  • 11. Games and Gamification Games (เกม) เป็นลักษณะของกิจกรรมของมนุษย์ เพื่อประโยชน์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เพื่อฝึกทักษะ และเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น และในบางครัง้อาจใช้เพื่อประโยชน์ทาง การศึกษาได้เกมประกอบด้วย เป้าหมาย กฎเกณฑ์ การแข่งขันและ ปฏิสัมพันธ์ เกมมักจะเป็นการแข่งขันทางจิตใจหรือด้านร่างกาย หรือทัง้สองอย่างรวมกัน ซงึ่ส่งผลให้เกิดพัฒนาการของทักษะ ใช้ เป็นรูปแบบของการออกกาลังกาย หรือการศึกษา บทบาทสมมุติ และ จิตศาสตร์ เป็นต้น
  • 12. Games and Gamification Gamification คือแนวคิดที่นาเอาทฤษฎีของเกม เทคนิคการออกแบบเกม เช่น การ สะสมแตม้ (Score) การเลื่อนระดับ (Level) การบ่งบอกระดับ (Badges or Achievements) เงินตราเสมือน (Virtual currency) ของรางวัล (Gifting) การซื้อ ขาย/แลกเปลี่ยน (Trading) และเทคนิคอื่น ๆ ที่ใชใ้นเกมมาใชใ้นการออกแบบการเรียน เรียนการสอน เพื่อกระตุน้ความสนใจในการเรียนรู้ โดยทา ให้การเรียนรู้เป็นเสมือนเกม เกมการแข่งขัน ระบบจะแสดงให้เห็นว่า ตอนนี้เรามีคะแนนในการเรียนรู้เท่าไรเมื่อเทียบ เทียบกับ คนอื่น ใครกา ลังเป็นผูท้า คะแนนนาอยู่ และเมื่อครบตามเวลาที่กา หนดไว้ใคร ไว้ใครที่มีคะแนนสูงสุด ก็จะมีการให้รางวัล พร้อมกันนั้นยังไดรั้บการจารึกชื่อไวเ้สมือน เสมือนการประกาศศักดาให้รู้ว่าใครมีคะแนนสูงสุด ที่สา คัญตอ้งพยายามรักษาตา แหน่ง ตา แหน่งแชมป์นี้ไวใ้ห้ได้ในขณะเดียวกันระบบก็จะเชิญชวนให้คนอื่นๆ อยากจะเขา้ เขา้มา “ลม้แชมป์” ในการเรียนรู้ดว้ย รวมทงั้มีฟิตแบก เพื่อกระตุน้ให้ผูเ้รียนกลับมาเล่น เล่นซา้อีกหลายๆ ครั้ง
  • 13. องค์ประกอบของ Gamification ที่มา : http://www.ict.buu.ac.th/Blog/Lists/Posts/Post.aspx?ID=1335
  • 14. แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนกำรสอน  ทา ความคุน้เคยกับเกมมาก่อนนาไปใชป้ระกอบการสอน โดย อ่านกติกาเล่นหลายๆครั้ง เพื่อให้เกิดความเขา้ใจที่ดี  เลือกใชใ้ห้เหมาะสมกับขนั้ตอนการสอน โดยพิจารณาว่าควร ใชเ้กมใดในขนั้ตอนใด  อธิบายวิธีการเล่นเกมแก่ผูเ้รียนอย่างชัดเจน จงตระหนักเสมอ ว่าเด็กทุกคนในชนั้เรียนเขา้ใจวิธีการเล่น  ควรแสดงวิธีการเล่นดว้ยตนเอง โดยยืนอยู่หน้าชนั้เรียน เพื่อให้ผูเ้รียนทงั้ชนั้มองเห็นอย่างทั่วถึง  ควรปฏิบัติตามกติกาที่กา หนดไวใ้นแต่ละเกมอย่างเคร่งครัด  ควบคุมเกมในขณะที่เล่นอย่าให้ผูเ้ล่นส่งเสียงดังมากเกินไป ทา ให้ระเบียบวินัยของห้องเรียนเสีย  สังเกตปฏิกิริยาของผูเ้รียนแต่ละคนในขณะที่เล่น ไม่ควรติ เตียนผูก้ระทา ผิดอย่างรุนแรง  อย่าเล่นเกมนั้นนานจนเกินไป แต่ละเกมควรใชเ้วลา 8- 10 นาที  อย่าใชเ้กมบางอย่างบ่อยนัก เพราะจะทา ให้ผูเ้รียนไม่ กระตือรือร้นในการเล่น  ศึกษาขอ้เสนอแนะของเกมแต่ละอัน เพื่อดัดแปลงวิธีเล่นให้ สอดคลอ้งตามสภาพการเรียนการสอน
  • 15. ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนรู้ Games การเลือกและนาเสนอเกม ผูส้อนตอ้งสร้างขึ้นให้สอดคลอ้งกับวัตถุประสงค์ของ เนื้อหาสาระของการสอน ถา้นาเกมที่ผูอ้ื่นสร้างมาใช้ตอ้งนามาปรับ ดัดแปลงให้เหมาะสม กับวัตถุประสงค์ ซึ่งเกมการศึกษามี 3 ประเภท คือ  1 เกมแบบไม่มีการแข่งขัน เช่น เกมการสื่อสาร เกมการตอบคา ถาม เป็นตน้  2 เกมแบบแข่งขัน มีผูแ้พ้ผูช้นะ เกมส่วนใหญ่จะเป็นเกมแบบนี้ เพราะการแข่งขันช่วยให้การเล่นเพ่มิความสนุกสนาน  3 เกมจา ลองสถานการณ์เป็นเกมที่จา ลองความเป็นจริง สถานการณ์จริง เกมแบบนี้มี 2 ลักษณะ คือ 3.1 การจา ลองความเป็นจริงลงมาเล่นในกระดานหรือบอรด์เช่น เกมเศรษฐีเกมมลภาวะ เกมแกปั้ญหาความขัดแยง้เป็นตน้ 3.2 การจา ลองสถานการณ์และบทบาทให้เหมือนความเป็นจริง โดยผูเ้ล่นจะตอ้งลงไปเล่นจริง http://www.l3nr.org/posts/532480
  • 16. ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนรู้ Gamification กลยุทธ์สา หรับการทา Gamification (หรือเรียกว่า gamify) ก็คือการให้รางวัลกับผูเ้ล่นที่ประสบผลสา เร็จถึงเป้าหมายที่ตงั้ไว้ซึ่งรางวัลก็จะเป็น แตม้ (point) เข็มหรือตรารับรอง (badge) หรือการไดข้ึ้นระดับชนั้ (level) ที่สูงขึ้น การไดเ้งินแบบเสมือน เป็นตน้“การแข่งขัน” ถือเป็นหัวใจสา คัญของการทา gamification การให้รางวัลแก่ผูช้นะหรือประสบผลสา เร็จ ก็ควรตอ้งให้ผูร้่วมแข่งขันทุกคนไดรั้บรู้ดว้ย ซึ่งจะเป็นกระตน้ให้ผูเ้ล่นทุกคนอยากจะแข่งขันเอาชนะกัน http://sipaedumarket.wordpress.com/2014/05/19/gamification
  • 17. Cloud Computing Cloud Computing (การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ) เป็นรูปแบบบริการใชท้รัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกับผูอ้ื่น ผูใ้ชท้า งานผ่านเว็บเบราว์เซอร์ซอฟต์แวร์และขอ้มูลทงั้หมด จะถูกเก็บไวบ้นเซิร์ฟเวอร์ของผูใ้ห้บริการ การใชท้รัพยากร บนอินเทอร์เน็ตมีความยืดหยุ่น สามารถที่จะปรับขนาดได้ ตามความตอ้งการของผูใ้ช้และมีการจัดสรรทรัพยากร โดย เน้นการทา งานระยะไกลอย่างง่าย ที่ใชอิ้นเทอร์เน็ตเป็นโครงสร้างพื้นฐาน
  • 18. คุณลักษณะช่วยส่งเสริมกำร เรียนรู้ 1) Agility : มีความรวดเร็วในการใช้งาน 2) Cost : ค่าใช้จ่ายน้อย หรืออาจไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับ Client 3) Device and Location Independence : ใช้ได้ทุกที่ แค่มีคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต 4) Multi-Tenancy : แบ่งการใช้ทรัพยากรให้ผู้ใช้จานวนมากได้ 5) Reliability : มีความน่าเชื่อถือ 6) Scalability : มีความยืดหยุ่น 7) Security : มีความปลอดภัย 8) Sustainability : มีความมนั่คง
  • 19. แนวทำงในกำรใช้ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ หรือใช้ในกระบวนกำรเรียนกำรสอน 1. อีเมล์ช่วยให้การรับส่ง การสั่งงานดว้ยอีเมล์ระหว่างครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษาเป็นไปไดโ้ดยสะดวกดว้ยบริการของ Gmail, Hotmail หรือ Yahoo Mail เป็นตน้ 2. ครู อาจารย์ใชบ้ริการฟรีของ WordPress.com, Slideshare.net, Youtube นาสื่อจาก PowerPoint เอกสารการสอนในรูปแบบ Word และ Video clip จากกลอ้งถ่ายภาพดิจิทัลส่งเขา้ระบบ พร้อมการพิมพ์ เนื้อหาบทเรียน และหรือการบา้น รวมทงั้เชื่อมโยงความสามารถระหว่าง เว็บเพื่อสร้างสรรค์เว็บ eLearning ที่มีลูกเล่นโดนใจนักเรียน นักศึกษาได้ ง่าย
  • 20. 3. การสร้างสรรค์บทเรียน สื่อการเรียนการสอน ครู อาจารย์ด้วยบริการ แปลงฟอร์แมต Video ของ Youtube บริการสร้างสไลด์ออนไลน์ของ Google Docs บริการตัดต่อภาพ/ปรับแต่งภาพจาก Pixlr.com จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาละเมิด ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ 4. ช่องทางการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นไปได้ง่าย ขึน้ โดยการประยุกต์ใช้ Facebook, Wiki หรือ Google Group
  • 22. ที่มำข้อมูล http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing http://ictandservices.blogspot.com/2012/05/cloud-computing.html http://macroart.net/2014/03/6-benefits-cloud-computing-technology/ http://ictandservices.blogspot.com/2012/05/cloud-computing.html จัดทำโดย 1. นำยวีรวัฒน์สุดหำ 575050191-4 2. นำงสำวสุธำทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 3. นำงสำวสุนิจฐำ พองพรหม 575050196-4