SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
• ฮำร์ดแวร์ (Hardware)
คือลักษณะทำงกำยของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมำยถึงตัว
เครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้ำง (peripheral) ที่
เกี่ยวข้อง เช่น ฮำร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮำร์ดแวร์
ประกอบด้วย
o หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
o หน่วยประมวลผลกลำง ( central processor unit )
หรือ CPU
o หน่วยควำมจำำหลัก
o หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
o หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับข้อมูลต่ำง ๆ เข้ำสู่
คอมพิวเตอร์ จำกนั้น หน่วยประมวลผลกลำง จะนำำไปประมวล
ผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมำกให้ผู้ใช้รับทรำบทำง หน่วย
แสดงผลลัพธ์
หน่วยควำมจำำหลัก จะทำำหน้ำที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วครำวที่มี
ขนำดไม่สูงมำกนัก กำรที่ฮำร์ดแวร์จะทำำหน้ำที่ได้มี
ประสิทธิภำพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วน
กำรทำำงำนได้มำกน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยควำม
จำำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยควำมจำำหลักคือ
หำกปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยควำมจำำหลักจะหำย
ไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง จะไม่สูญหำย
ตรำบเท่ำที่ผู้ใช้ไม่ทำำกำรลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูล
สำำรองยังมีควำมจุที่สูงมำก จึงเหมำะสำำหรับกำรเก็บข้อมูลที่มี
ขนำดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภำยหลัง ข้อเสียของหน่วย
เก็บข้อมูลสำำรองคือกำรเรียกใช้ข้อมูลจะช้ำกว่ำหน่วยควำม
จำำหลักมำก
ฮำร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
• ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์ที่ประกอบออกมำจำกโรงงำนจะยังไม่
สำมำรถทำำงำนใดๆ เนื่องจำกต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software)
ซึ่งเป็นชุดคำำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำำงำนต่ำง ๆ
ตำมต้องกำร โดยชุดคำำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมำจำก
ภำษำคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภำษำใด
ภำษำหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนัก
เขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์เหล่ำนั้นเขียน
ซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ขึ้นมำ
ซอฟต์แวร์ สำมำรถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
o ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
o ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมำกแล้วจะติดตั้งมำกับเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจำกซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำำงำนต่ำง ๆ ของคอมพิวเตอร์
เพื่อให้สำมำรถเริ่มต้นกำรทำำงำนอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องกำรได้ต่อไป ส่วน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในกำรช่วยกำรทำำงำนต่ำง ๆ ให้
กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่ำงกันไปตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้แต่ละคน
ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์
บุคลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำางาน เรียก
บุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถ
ทำางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคง
ต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้
คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่บางส่วนก็
พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทำาให้มีความชำานาญใน
การใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์
(power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้
ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้
เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน
และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นัก
เขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์
เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะ
นำาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับ
ระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนำา
คอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้
การดำาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึก
ข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการ
ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
(Data Entry Operator) เป็นต้น
การพัฒนาและบำารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้า
หน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์
ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
(System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ
(System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล
(Database Adminstrator) เป็นต้น
การพัฒนาและบำารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้า
หน้าที่ควบคุมการทำางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer
Operator) เป็นต้น การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล
เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP
Manager) เป็นต้น
• ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทำางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้
สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำาเอา
ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้
ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ
ข้อมูล คือ ได้จากการสำารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จาก
ข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่
สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง
มีความสัมพันธ์กัน
(relevant)
สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ
สถานการณ์ปัจจุบัน
มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันที
เมื่อต้องการ
มีความถูกต้องแม่นยำา
(accurate)
เมื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะ
ต้องถูกต้องในทุกส่วน
มีความกระชับรัดกุม
(concise)
ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ
มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
(complete)
ต้องรวบรวมข้อมูลที่สำาคัญไว้อย่างครบถ้วน
คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์
การเปลี่ยนรูปจากข้อมูลสู่สารสนเทศ
• กระบวนการทำางาน (Procedure)
กระบวนการทำางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำาตาม
เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้
การทำางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่าง
ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอน
เงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำางาน
2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
3. เลือกรายการ
4. ใส่จำานวนเงินที่ต้องการ
5. รับเงิน
6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับ
ซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือ
การปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation
Manual) คู่มือสำาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับ
ซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือ
การปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation
Manual) คู่มือสำาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น

Contenu connexe

Tendances

งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์abdtaehng
 
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์Wnida Krs
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Pak SnakeZa
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Chaiwattana Tongpramoon
 
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 

Tendances (14)

งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทอม2 คาบ1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

En vedette

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
Q & a on quest atlantis 97 2003
Q & a on quest atlantis 97 2003Q & a on quest atlantis 97 2003
Q & a on quest atlantis 97 2003Mary Del Bianco
 
Powering up your professional learning network
Powering up your professional learning networkPowering up your professional learning network
Powering up your professional learning networkMary Del Bianco
 
Pet sitting, dog walking, dog training
Pet sitting, dog walking, dog trainingPet sitting, dog walking, dog training
Pet sitting, dog walking, dog trainingPet Sitting
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 

En vedette (9)

Goldilocks Story
Goldilocks StoryGoldilocks Story
Goldilocks Story
 
Ja fem p 4 11 !!
Ja fem p 4 11 !!Ja fem p 4 11 !!
Ja fem p 4 11 !!
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
Q & a on quest atlantis 97 2003
Q & a on quest atlantis 97 2003Q & a on quest atlantis 97 2003
Q & a on quest atlantis 97 2003
 
Goldilocks story
Goldilocks storyGoldilocks story
Goldilocks story
 
Powering up your professional learning network
Powering up your professional learning networkPowering up your professional learning network
Powering up your professional learning network
 
Pet sitting, dog walking, dog training
Pet sitting, dog walking, dog trainingPet sitting, dog walking, dog training
Pet sitting, dog walking, dog training
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 

Similaire à องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555

หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workหลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workUthaiwan Suantai
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Martie Tangjaipattana
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์chukiat008
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Kasamesak Posing
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kasamesak Posing
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kasamesak Posing
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kasamesak Posing
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointcharnwit55
 

Similaire à องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555 (20)

หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg workหลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์ Cg work
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
1
11
1
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
 

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555

  • 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ • ฮำร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทำงกำยของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมำยถึงตัว เครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้ำง (peripheral) ที่ เกี่ยวข้อง เช่น ฮำร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮำร์ดแวร์ ประกอบด้วย o หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) o หน่วยประมวลผลกลำง ( central processor unit ) หรือ CPU o หน่วยควำมจำำหลัก o หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) o หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง (secondary storage unit ) หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับข้อมูลต่ำง ๆ เข้ำสู่ คอมพิวเตอร์ จำกนั้น หน่วยประมวลผลกลำง จะนำำไปประมวล ผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมำกให้ผู้ใช้รับทรำบทำง หน่วย แสดงผลลัพธ์ หน่วยควำมจำำหลัก จะทำำหน้ำที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วครำวที่มี ขนำดไม่สูงมำกนัก กำรที่ฮำร์ดแวร์จะทำำหน้ำที่ได้มี ประสิทธิภำพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วน กำรทำำงำนได้มำกน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยควำม จำำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยควำมจำำหลักคือ
  • 2. หำกปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยควำมจำำหลักจะหำย ไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง จะไม่สูญหำย ตรำบเท่ำที่ผู้ใช้ไม่ทำำกำรลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูล สำำรองยังมีควำมจุที่สูงมำก จึงเหมำะสำำหรับกำรเก็บข้อมูลที่มี ขนำดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภำยหลัง ข้อเสียของหน่วย เก็บข้อมูลสำำรองคือกำรเรียกใช้ข้อมูลจะช้ำกว่ำหน่วยควำม จำำหลักมำก ฮำร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ • ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮำร์ดแวร์ที่ประกอบออกมำจำกโรงงำนจะยังไม่ สำมำรถทำำงำนใดๆ เนื่องจำกต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ทำำงำนต่ำง ๆ ตำมต้องกำร โดยชุดคำำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมำจำก ภำษำคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภำษำใด ภำษำหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนัก เขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์เหล่ำนั้นเขียน ซอฟต์แวร์ต่ำง ๆ ขึ้นมำ ซอฟต์แวร์ สำมำรถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ o ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) o ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมำกแล้วจะติดตั้งมำกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจำกซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำำงำนต่ำง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สำมำรถเริ่มต้นกำรทำำงำนอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องกำรได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในกำรช่วยกำรทำำงำนต่ำง ๆ ให้ กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่ำงกันไปตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้แต่ละคน
  • 3. ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำางาน เรียก บุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถ ทำางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคง ต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้ คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่บางส่วนก็ พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทำาให้มีความชำานาญใน การใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้ เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นัก เขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์ เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะ นำาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
  • 4. บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับ ระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนำา คอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้ การดำาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึก ข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการ ทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น การพัฒนาและบำารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนา โปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้า หน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น การพัฒนาและบำารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้า หน้าที่ควบคุมการทำางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น • ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทำางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้ สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำาเอา ระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้อมูล คือ ได้จากการสำารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จาก ข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่ สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนำามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบัน มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันที
  • 5. เมื่อต้องการ มีความถูกต้องแม่นยำา (accurate) เมื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะ ต้องถูกต้องในทุกส่วน มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สำาคัญไว้อย่างครบถ้วน คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์ การเปลี่ยนรูปจากข้อมูลสู่สารสนเทศ • กระบวนการทำางาน (Procedure) กระบวนการทำางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้ การทำางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอน เงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ 1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำางาน 2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 3. เลือกรายการ 4. ใส่จำานวนเงินที่ต้องการ 5. รับเงิน 6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร
  • 6. การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับ ซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือ การปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
  • 7. การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับ ซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือ การปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น