SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
OSI (Open Systems Interconnect) Model เป็นแบบจาลองที่อธิบายถึงโครงสร้างการทำางานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์ที่มีหน้าที่ต่างๆ กัน โดยได้รับการคิดค้นและพัฒนาขึ้นในปี 1984 โดย Open Systems Interconnect นั่นเอง การเรียงตัวของเลเยอร์จะถูกจัดจากบนลงล่าง โดยประกอบไปด้วยเลเยอร์Application, Presentation, Session, Transport, Network, Data Link และ Physical  แบบอ้างอิง OSI (OSI Reference model)
Osi model
Layer1: Physical Layer  เป็นเลเยอร์ล่างสุดสาหรับจัดเตรียมอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า และกลไกการทางานในการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย เป็นนิยามของความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างอุปกรณ์ฐานล่างและเลเยอร์ในระดับกลาง ตัวอย่างเช่น รูปแบบการจัดวางของพิน การเดินกระแสไฟ สายเคเบิ้ล ฮับ อแดปเตอร์เครือข่าย เป็นต้น  Layer2: Data Link Layer  เป็นเลเยอร์สาหรับการจัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครือข่าย และตรวจสอบความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นใน Physical Layer แรกเริ่มนั้นเลเยอร์นี้จะกล่าวถึงในระบบโทรศัพท์ ที่มีการสื่อสารจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหนึ่ง หรือจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอุปกรณ์รับสัญญาณ จากนั้นจึงพัฒนาต่อมาจนถึงในระบบแลน (LAN) ด้วย ซึ่งมีรูปแบบการสื่อสารที่ซับซ้อนกว่า สาหรับโปรโตคอลที่อยู่ในเลเยอร์นี้ก็คือ TCP (Transport Control Protocol) ที่ทาหน้าที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารกันได้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  ความหมายและหลักการของแต่ละเลเยอร์
Layer3: Network Layer  เป็นเลเยอร์ที่จัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางภายในเครือข่าย โดยการดาเนินการจะทาการรับข้อมูลที่ส่งออกจากต้นทาง และรวมข้อมูลหรือแยกส่วนข้อมูลมาเป็นแพ็กเกจ (Package) และเพิ่มข้อมูลตาแหน่งปลายทางที่ส่วนหัวของแพ็กเกจเพื่อใช้ในการส่ง  โปรโตคอลที่รู้จักกันดีซึ่งอยู่ในเลเยอร์นี้ คือ IP (Internet Protocol) ซึ่งจะคอยจัดการเส้นทางการเดินทางของข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  Layer4: Transport Layer  เป็นเลเยอร์ที่ทาหน้าที่จัดเตรียมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างผู้ใช้งาน จัดเตรียมข้อมูลที่เชื่อถือได้ให้กับเลเยอร์ถัดไป โดยควบคุมความถูกต้องในการเดินทางของข้อมูล และความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น  สาหรับโปรโตคอลที่ทางานอยู่บนเลเยอร์นี้ ก็เช่น TCP (Transmission Control Protocol) และ UDP (User Datagram Protocol)  ความหมายแต่ละ layer
Layer5: Session Layer  เป็นเลเยอร์ที่ควบคุมเซสชั่น (Session) การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย จัดการการสื่อสารระหว่างกัน ทั้งแบบ Full-duplex, Half-duplex และ Simplex โดยมีกระบวนการสร้างจุดตรวจสอบ การเคลื่อนย้ายเซสชั่น การจัดการ และการเริ่มต้นเซสชั่นใหม่  เลเยอร์นี้มักไม่ได้ถูกใช้ในโปรโตคอลเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต แต่จะถูกนาไปใช้เป็นส่วนของแอพพลิเคชั่น (Application) เพื่อใช้งานเกี่ยวกับกระบวนการ Remote Procedure Calls (RPC)  ความหมายแต่ละ layer
Layer6: Presentation Layer  เป็นเลเยอร์สาหรับจัดเตรียมการรับและจัดโครงสร้างของข้อมูล เพื่อส่งต่อให้เลเยอร์ถัดไป โดยอาจมีการแปลข้อความที่ได้เป็นโค้ด หรือมีการเข้ารหัส/ถอดรหัสข้อมูลตามคาสั่งที่ได้รับ โดยกาหนดรูปแบบของการสื่อสาร อย่างเช่น ASCII Text, EBCDIC, Binary และ JPEG รวมถึงการเข้ารหัส (Encryption) ก็รวมอยู่ในเลเยอร์นี้ด้วย ตัวอย่างเช่น โปรแกรม FTP ต้องการรับส่งโอนย้ายไฟล์กับเครื่อง Server ปลายทาง โปรโตคอล FTP จะอนุญาตให้ผู้ใช้ระบุรูปแบบของข้อมูลที่โอนย้ายกันได้ว่าเป็นแบบ ASCII Text หรือแบบ Binary เป็นต้น  ความหมายแต่ละ layer
Layer7: Application Layer  เป็นเลเยอร์ชั้นบนสุด ซึ่งเป็นการจัดเตรียมแอฟฟลิเคชั่นไว้ให้คอยบริการใช้งาน รูปแบบต่างๆ บนเครือข่าย ซึ่งจะร้องขอจาก Presentation Layer เพื่อดาเนินการตามกระบวนการลงไปชั้นเลเยอร์ต่างๆ สาหรับบริการโปรโตคอลที่เกี่ยวกับเลเยอร์นี้ เช่น FTP (File Transfer Protocol) Mail Transfer (SMTP/POP3/MAP Protocol) และเว็บเบราเซอร์ที่ทางานอยู่บน HTTP (Hypertext Markup Language Protocol)  ความหมายแต่ละlayer
OSI Model ได้แบ่งลักษณะของเลเยอร์ (Layer) ออกเป็น 2 กลุ่ม  1. Application-oriented Layers เป็น 4 เลเยอร์ด้านบน คือ เลเยอร์ ที่ 7, 6, 5 และ 4 (Application, Presentation, Session และ Transport) ทาหน้าที่เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้กับโปรแกรมประยุกต์ เพื่อให้รับส่งข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ที่อยู่ชั้นล่างได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับซอฟแวร์เป็นหลัก  2. Network-dependent Layers เป็น 3 เลเยอร์ด้านล่าง (Network, Data Link และ Physical) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลือกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก ทาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ต่างบริษัทกันได้อย่างไม่มีปัญหา  การแบ่งกลุ่มของ Layer
จัดอยู่ในระดับ2 คือ  2. Network-dependent Layers เป็น 3 เลเยอร์ด้านล่าง (Network, Data Link และ Physical) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลือกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก ทาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ต่างบริษัทกันได้อย่างไม่มีปัญหา  สังเกตได้จาก  มีห้อง server computer บริการ Hardware นอกจากนั้นยังมี computer บริการ 15 เครื่อง และบริการ printer ซึ่งจากข้างต้นใน Osi model
Application-oriented Layers และ Network-dependent Layers
ลักษณะของเลเยอร์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม และการส่งผ่านข้อมูลระหว่างชั้น
การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่อง
ความสัมพันธ์ของเลเยอร์กับ protocol
แสดงภาพรวมการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยใช้ OSI 7- Layer
สรุปความสัมพันธ์ของเลเยอร์ กับ Protocol ต่าง
ในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบสถานะเปิด (ON) คือ ค่า 1 และสถานะปิด (Off) คือ ค่า 0 โดย 1 สถานะเปิดปิดเราเรียกว่า 1 บิต (Bit) และถ้าเป็น 8 บิต เราเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) ดูตารางต่อไปนี้เพื่อเปรียบเทียบหน่วยวัดขนาดต่างๆ (อัมรินทร์เพ็ชรกุล, 2551)  หน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูล
หน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูล  ในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบสถานะเปิด (ON) คือ ค่า 1 และสถานะปิด (Off) คือ ค่า 0 โดย 1 สถานะเปิดปิดเราเรียกว่า 1 บิต (Bit) และถ้าเป็น 8 บิต เราเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) ดูตารางต่อไปนี้เพื่อเปรียบเทียบหน่วยวัดขนาดต่างๆ (อัมรินทร์เพ็ชรกุล, 2551)
ตารางหน่วยที่ใช้ในการวัดในการส่งข้อมูล หน่วย (ตัวย่อ) 	ไบท์ (Byte) 	บิต (Bit) 	หมายเหตุ 	 Bit (b) 	1/8 ไบท์ 	1 บิต 	 Byte (B) 	1 ไบท์ 	8 บิต 	 Kilobit (Kb) 	ไม่นิยาม 	1,000 บิต 	หน่วยหลักของโมเด็ม 56 Kb 	 Kilobyte (KB) 	1,000 ไบท์ 	8,000 บิต 	 Megabit (Mb) 	ไม่นิยาม 	1,000,000 บิต 	หน่วยหลักของโมเด็ม Hi-Speed 	 Megabyte (MB) 	1,000,000 ไบท์ 	8,000,000 บิต 	หน่วยที่ใช้บอกความจุฮาร์ดดิสก์และหน่วยความจา 	 Gigabit (Gb) 	ไม่นิยาม 	1 พันล้านบิต 	หน่วยความจาหลักของเราท์เตอร์และสวิทซ์ Hi-Speed 	 Gigabyte (GB) 	1 พันล้านไบท์ 	8 พันล้านบิต 	หน่วยที่ใช้บอกความจุฮาร์ดดิสก์และหน่วยความจา

Contenu connexe

Tendances

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1 Ver Faiir
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2monnoonan
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1Ver Faiir
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์Wutcharawit Nunjuntee
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์driftmaric
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์driftmaric
 

Tendances (16)

4.2
4.24.2
4.2
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
Chapter5.2
Chapter5.2Chapter5.2
Chapter5.2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1 Presentation1
Presentation1
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2
 
ok'lk
ok'lkok'lk
ok'lk
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Osi
OsiOsi
Osi
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similaire à Osi (open systems interconnect) model

แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2Noofang DarkAnegl
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2Noofang DarkAnegl
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายtaenmai
 
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์Ver Faiir
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 

Similaire à Osi (open systems interconnect) model (19)

แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
 
Second
SecondSecond
Second
 
Second
SecondSecond
Second
 
Mission4.2
Mission4.2Mission4.2
Mission4.2
 
OSI Model
OSI ModelOSI Model
OSI Model
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
 
Mission2
Mission2Mission2
Mission2
 
2
22
2
 
2
22
2
 
2
22
2
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Osi reference model
Osi reference modelOsi reference model
Osi reference model
 
4.2
4.24.2
4.2
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 

Osi (open systems interconnect) model

  • 1. OSI (Open Systems Interconnect) Model เป็นแบบจาลองที่อธิบายถึงโครงสร้างการทำางานของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์ที่มีหน้าที่ต่างๆ กัน โดยได้รับการคิดค้นและพัฒนาขึ้นในปี 1984 โดย Open Systems Interconnect นั่นเอง การเรียงตัวของเลเยอร์จะถูกจัดจากบนลงล่าง โดยประกอบไปด้วยเลเยอร์Application, Presentation, Session, Transport, Network, Data Link และ Physical แบบอ้างอิง OSI (OSI Reference model)
  • 3. Layer1: Physical Layer เป็นเลเยอร์ล่างสุดสาหรับจัดเตรียมอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า และกลไกการทางานในการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย เป็นนิยามของความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างอุปกรณ์ฐานล่างและเลเยอร์ในระดับกลาง ตัวอย่างเช่น รูปแบบการจัดวางของพิน การเดินกระแสไฟ สายเคเบิ้ล ฮับ อแดปเตอร์เครือข่าย เป็นต้น Layer2: Data Link Layer เป็นเลเยอร์สาหรับการจัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครือข่าย และตรวจสอบความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นใน Physical Layer แรกเริ่มนั้นเลเยอร์นี้จะกล่าวถึงในระบบโทรศัพท์ ที่มีการสื่อสารจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอีกตาแหน่งหนึ่ง หรือจากตาแหน่งหนึ่งไปยังอุปกรณ์รับสัญญาณ จากนั้นจึงพัฒนาต่อมาจนถึงในระบบแลน (LAN) ด้วย ซึ่งมีรูปแบบการสื่อสารที่ซับซ้อนกว่า สาหรับโปรโตคอลที่อยู่ในเลเยอร์นี้ก็คือ TCP (Transport Control Protocol) ที่ทาหน้าที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารกันได้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความหมายและหลักการของแต่ละเลเยอร์
  • 4. Layer3: Network Layer เป็นเลเยอร์ที่จัดเตรียมหน้าที่ และกระบวนการในการส่งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางภายในเครือข่าย โดยการดาเนินการจะทาการรับข้อมูลที่ส่งออกจากต้นทาง และรวมข้อมูลหรือแยกส่วนข้อมูลมาเป็นแพ็กเกจ (Package) และเพิ่มข้อมูลตาแหน่งปลายทางที่ส่วนหัวของแพ็กเกจเพื่อใช้ในการส่ง โปรโตคอลที่รู้จักกันดีซึ่งอยู่ในเลเยอร์นี้ คือ IP (Internet Protocol) ซึ่งจะคอยจัดการเส้นทางการเดินทางของข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Layer4: Transport Layer เป็นเลเยอร์ที่ทาหน้าที่จัดเตรียมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างผู้ใช้งาน จัดเตรียมข้อมูลที่เชื่อถือได้ให้กับเลเยอร์ถัดไป โดยควบคุมความถูกต้องในการเดินทางของข้อมูล และความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น สาหรับโปรโตคอลที่ทางานอยู่บนเลเยอร์นี้ ก็เช่น TCP (Transmission Control Protocol) และ UDP (User Datagram Protocol) ความหมายแต่ละ layer
  • 5. Layer5: Session Layer เป็นเลเยอร์ที่ควบคุมเซสชั่น (Session) การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย จัดการการสื่อสารระหว่างกัน ทั้งแบบ Full-duplex, Half-duplex และ Simplex โดยมีกระบวนการสร้างจุดตรวจสอบ การเคลื่อนย้ายเซสชั่น การจัดการ และการเริ่มต้นเซสชั่นใหม่ เลเยอร์นี้มักไม่ได้ถูกใช้ในโปรโตคอลเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต แต่จะถูกนาไปใช้เป็นส่วนของแอพพลิเคชั่น (Application) เพื่อใช้งานเกี่ยวกับกระบวนการ Remote Procedure Calls (RPC) ความหมายแต่ละ layer
  • 6. Layer6: Presentation Layer เป็นเลเยอร์สาหรับจัดเตรียมการรับและจัดโครงสร้างของข้อมูล เพื่อส่งต่อให้เลเยอร์ถัดไป โดยอาจมีการแปลข้อความที่ได้เป็นโค้ด หรือมีการเข้ารหัส/ถอดรหัสข้อมูลตามคาสั่งที่ได้รับ โดยกาหนดรูปแบบของการสื่อสาร อย่างเช่น ASCII Text, EBCDIC, Binary และ JPEG รวมถึงการเข้ารหัส (Encryption) ก็รวมอยู่ในเลเยอร์นี้ด้วย ตัวอย่างเช่น โปรแกรม FTP ต้องการรับส่งโอนย้ายไฟล์กับเครื่อง Server ปลายทาง โปรโตคอล FTP จะอนุญาตให้ผู้ใช้ระบุรูปแบบของข้อมูลที่โอนย้ายกันได้ว่าเป็นแบบ ASCII Text หรือแบบ Binary เป็นต้น ความหมายแต่ละ layer
  • 7. Layer7: Application Layer เป็นเลเยอร์ชั้นบนสุด ซึ่งเป็นการจัดเตรียมแอฟฟลิเคชั่นไว้ให้คอยบริการใช้งาน รูปแบบต่างๆ บนเครือข่าย ซึ่งจะร้องขอจาก Presentation Layer เพื่อดาเนินการตามกระบวนการลงไปชั้นเลเยอร์ต่างๆ สาหรับบริการโปรโตคอลที่เกี่ยวกับเลเยอร์นี้ เช่น FTP (File Transfer Protocol) Mail Transfer (SMTP/POP3/MAP Protocol) และเว็บเบราเซอร์ที่ทางานอยู่บน HTTP (Hypertext Markup Language Protocol) ความหมายแต่ละlayer
  • 8. OSI Model ได้แบ่งลักษณะของเลเยอร์ (Layer) ออกเป็น 2 กลุ่ม 1. Application-oriented Layers เป็น 4 เลเยอร์ด้านบน คือ เลเยอร์ ที่ 7, 6, 5 และ 4 (Application, Presentation, Session และ Transport) ทาหน้าที่เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้กับโปรแกรมประยุกต์ เพื่อให้รับส่งข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ที่อยู่ชั้นล่างได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับซอฟแวร์เป็นหลัก 2. Network-dependent Layers เป็น 3 เลเยอร์ด้านล่าง (Network, Data Link และ Physical) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลือกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก ทาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ต่างบริษัทกันได้อย่างไม่มีปัญหา การแบ่งกลุ่มของ Layer
  • 9. จัดอยู่ในระดับ2 คือ 2. Network-dependent Layers เป็น 3 เลเยอร์ด้านล่าง (Network, Data Link และ Physical) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลือกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก ทาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ต่างบริษัทกันได้อย่างไม่มีปัญหา สังเกตได้จาก มีห้อง server computer บริการ Hardware นอกจากนั้นยังมี computer บริการ 15 เครื่อง และบริการ printer ซึ่งจากข้างต้นใน Osi model
  • 10. Application-oriented Layers และ Network-dependent Layers
  • 11. ลักษณะของเลเยอร์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม และการส่งผ่านข้อมูลระหว่างชั้น
  • 16. ในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบสถานะเปิด (ON) คือ ค่า 1 และสถานะปิด (Off) คือ ค่า 0 โดย 1 สถานะเปิดปิดเราเรียกว่า 1 บิต (Bit) และถ้าเป็น 8 บิต เราเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) ดูตารางต่อไปนี้เพื่อเปรียบเทียบหน่วยวัดขนาดต่างๆ (อัมรินทร์เพ็ชรกุล, 2551) หน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูล
  • 17. หน่วยในการวัดปริมาณการส่งข้อมูล ในระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบสถานะเปิด (ON) คือ ค่า 1 และสถานะปิด (Off) คือ ค่า 0 โดย 1 สถานะเปิดปิดเราเรียกว่า 1 บิต (Bit) และถ้าเป็น 8 บิต เราเรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) ดูตารางต่อไปนี้เพื่อเปรียบเทียบหน่วยวัดขนาดต่างๆ (อัมรินทร์เพ็ชรกุล, 2551)
  • 18. ตารางหน่วยที่ใช้ในการวัดในการส่งข้อมูล หน่วย (ตัวย่อ) ไบท์ (Byte) บิต (Bit) หมายเหตุ Bit (b) 1/8 ไบท์ 1 บิต Byte (B) 1 ไบท์ 8 บิต Kilobit (Kb) ไม่นิยาม 1,000 บิต หน่วยหลักของโมเด็ม 56 Kb Kilobyte (KB) 1,000 ไบท์ 8,000 บิต Megabit (Mb) ไม่นิยาม 1,000,000 บิต หน่วยหลักของโมเด็ม Hi-Speed Megabyte (MB) 1,000,000 ไบท์ 8,000,000 บิต หน่วยที่ใช้บอกความจุฮาร์ดดิสก์และหน่วยความจา Gigabit (Gb) ไม่นิยาม 1 พันล้านบิต หน่วยความจาหลักของเราท์เตอร์และสวิทซ์ Hi-Speed Gigabyte (GB) 1 พันล้านไบท์ 8 พันล้านบิต หน่วยที่ใช้บอกความจุฮาร์ดดิสก์และหน่วยความจา