SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
การร ักษามะเร็งเต้านม                 ต ้องให ้แพทย์ผู ้เชียวชาญ พิจารณารักษาตามความเหมาะสมและสอดคล ้องกับสภาพของผู ้ป่ วย ทังนี้้
การรักษาจะได ้ผลดีหรือไม่ ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมควรเตรียมความพร ้อมในการรักษามะเร็งเต ้านม ทังเรือง ข ้อมูล การปฏิบตตัวในระหว่างการ
                                                                                             ้ ่                   ั ิ
รักษามะเร็งเต ้านม เพือการรักษาทีได ้ประสิทธิภาพดีทสด
                      ่             ่                     ี่ ุ




                 แผลบริเวณเต ้านมทีไม่หาย หรือมีการลุกลาม
                                        ่
                 หัวนมบุม โดยไม่มสาเหตุนามาก่อน เช่น การติดเชือ
                           ๋          ี                              ้
                 มีสารคัดหลัง ไม่วาจะเป็ นน้ าหรือเลือด ออกจากหัวนม
                               ่    ่
                 ก ้อนทีเต ้านม โดยเฉพาะก ้อนทีคอนข ้างแข็ง และไม่มอาการเจ็บ
                         ่                       ่ ่                   ี
                                          ่
                  มีก ้อนทีบริเวณรักแร ้ ซึงอาจหมายถึงการมีมะเร็งเต ้านมกระจายมาทีตอมน้ าเหลืองของรักแร ้
                             ่                                                    ่ ่
                 มีลกษณะของเต ้านมทีบวมขึน คล ้ายเปลือกผิวส ้ม หรือมีก ้อนเล็กๆขึนทีผวหนัง บริเวณรอบๆก ้อนทีเคยคลาได ้มาก่อน
                      ั                      ่ ้                                   ้ ่ ิ                     ่




1. การซักประวัติ ควรถามถึงอาการทีมาพบแพทย์อย่างละเอียด การเปลียนแปลงของเต ้านมตังแต่เริมจนถึงปั จจุบนรวมไปถึงอาการร่วม
                                 ่                            ่                 ้      ่            ั
                                        ่
ต่างๆ ทีเกิดกับก ้อนมะเร็ง และปั จจัยเสียงต่างๆ
        ่

2. การตรวจร่ างกาย ควรตรวจทีเต ้านมทังสองข ้าง รวมถึงรักแร ้ เพือหาต่อมน้ าเหลืองทีโตผิดปกติ นอกจากนี้แล ้วการตรวจบริเวณคอ เพือ
                            ่        ้                          ่                  ่                                          ่
หาว่ามีตอมน้ าเหลือง supraclavicular node โตหรือไม่ โดยเฉพาะกรณีทเป็ นมากๆ แล ้ว ควรตรวจบริเวณทีผู ้ป่ วยมีอาการ ปวดกระดูก
        ่                                                        ี่                             ่
หายใจขัด หรือลาบาก เพราะอาจมีการแพร่กระจายมาที่ กระดูก หรือ ปอดและ เยือหุ ้มปอดได ้
                                                                        ่

3. การวินิจฉัยทางพยาธิวทยา จัดว่ามีความจาเป็ นอย่างยิงทีจะต ้องได ้รับผลวินจฉัยทีชดเจน เพือพิสจน์ให ้ได ้ว่าเป็ นมะเร็งจริง ซึงสามารถทา
                       ิ                             ่ ่                   ิ     ่ ั      ่   ู                               ่
ได ้โดย
   fine needle aspiration
       core needle biopsy
       incisional biopsy
       excisional biopsy

4. การตรวจพิเศษเพิมเติม เพือเป็ นการประเมินระยะของโรคมะเร็ง ให ้มีการรักษามะเร็งได ้ถูกต ้อง การตรวจพิเศษเพือพบความผิดปกติใน
                  ่        ่                                                                                ่
อวัยวะต่างๆ ทีเป็ นแหล่งกระจายของโรค มะเร็งทีสาคัญมีดงนี้
              ่                              ่       ั

       CXR และ LFT ถือเป็ นส่วนหนึงของการทา routine investigation
                                    ่
       U/S* หรือ CT. abdomen กรณีทมอาการตับโต หรือมีความผิดปกติของ LFT
                                      ี่ ี
       Bone survey* กรณีทมอาการปวดทีกระดูกหรือสงสัยว่าจะมี bone metastasis
                               ี่ ี        ่
       Bone scan* กรณีทพบความผิดปกติใน film bone survey
                            ี่
       CT brain กรณีทมอาการผิดปกติของระบบประสาท หรือสงสัยว่ามีการแพร่กระจายมาทีสมอง
                       ี่ ี                                                     ่

                                  ่ ี      ่                                             ี่ ี               ึ้    ่
Mammogram จะพิจารณาทาในผู ้ป่ วยทีมความเสียงสูงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต ้านม และในสตรีทมอายุมากกว่า 40 ปี ขนไป ซึงถือเป็ น
ส่วนหนึงของโปรแกรมการตรวจหามะเร็งเต ้านมในระยะแรก นอกจากนียังใช
       ่                                                   ้     ้เป็ นเป็ นตัวเปรียบเทียบ เมือเกิดความผิดปกติในภายหลัง
                                                                                              ่

*หมายเหตุ : โดยมีข ้อสังเกตว่าผู ้ป่ วยทีมลักษณะของโรคทีเป็ นมากแล ้วหรืออยูใน Advanced stage และผู ้ป่ วยทีมการเป็ นกลับซ้า (
                                         ่ ี            ่                   ่                               ่ ี
Recurrence) มักมีการกกระจายของโรคไปตามอวัยวะทีสาคัญๆ เช่น กระดูก ปอด และตับ ดังนั นการส่งตรวจ U/S abdomen และ Bone
                                                     ่                                  ้
scan จึงมีความสาคัญ ทีจะละเลยไม่ได ้
                       ่




ยึดตามการแบ่งโดยใช ้ ขนาดของก ้อนมะเร็ง (Primary Tumor) ต่อมน้ าเหลือง (Regional lymph node) และการแพร่กระจายของโรค
(Metastasis) ตาม AJCC (American join committee of cancer) ปี 1992 ดังนี้




Primary tumor (T): ขนาดของก้อนมะเร็ งที่ยาวที่สุดที่วดได้
                                                     ั

                     Tx - Primary cancer cannot be assessed
                     To - No evidence of primary tumor
                     Tis - Carcinoma in situ
                     T1 - Tumor  2 cm. In greatest diameter
    T2 - Tumor size: 2 < size < 5 cm.
                     T3 - Tumor  5 cm. in greatest diameter
                     T4 - Any size: with direct extension into chest wall (not include pectoral is m.) or involved skin
                      (edema or ulceration or satellite nodules) or inflammatory carcinoma


Regional Lymph node (N): จานวน และลักษณะของต่อมน้ าเหลืองที่รักแร้ หรื อที่ใกล้เคียงที่คลาได้
                     Nx :   Regional lymph nodes cannot be assessed
                     N0:    No regional lymph node involvement
                     N1:    Metastasis to movable ipsilateral axially lymph node(s)
                     N2:    Metastasis fixed ipsilateral axially lymph node(s) (fixed to one another or to other structures)
                     N3:    Metastasis to ipsilateral internal mammary lymph node


Distant metastasis (M): การกระจายของมะเร็ งมาที่อวัยวะต่างๆ นอกเหนือจากต่อมน้ าเหลืองรักแร้หรื อใกล้เคียง
                     Mx : Distant metastasis cannot be assessed
                     M0 : No distant metastasis
                     M1 : Distant metastasis present (include ipsitateral supraclavicular lymph nodes)

             โดยจะนา T N และ M มาเป็ นตัวแปรในการแบ่งระยะของโรค ดังนี้

                                         S                  N              N               N                N
                                     tage             0              1               2              3
                                         T                  O              -               -                -
                                     is
                                         T                  -              I               I                I
                                     0                               IA              IIA            IIB
                                         T                  I              I               I                I
                                     1                               IA              IIA            IIB
                                         T                  I              I               I                I
                                     2                IA             IB              IIA            IIB
                                         T                  I              I               I                I
                                     3                IB             IIA             IIA            IIB
                                         T                  I              I               I                I
                                     4                IIB            IIB             IIB            IIB

                                             * Any T or any N with M1 => stage IV

การแบ่งระยะของมะเร็งเต้านม จากตารางจะเห็นว่าประกอบไปด ้วย ระยะ 0 ถึง 4 (ดูตารางประกอบ)

    1. มะเร็ งเต้านมระยะ 0 คือ หมายถึง มะเร็งในระยะเริมแรก ( ductal และ lobular carcinoma in situ ) โดยทียังไม่มการ
                                                               ่                                                          ่     ี
                      ้
       ลุกลามผ่านชัน Basement membrane ของ Duct หรือ Lobule
    2. มะเร็ งเต้านมระยะ I คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีขนาดไม่เกิน 2 ซม.
                                                                   ่        ่
    3. มะเร็ งเต้านมระยะ II คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีมขนาดโตมากขึน และเริมมีการแพร่กระจายมาทีตอม
                                                                         ่       ่ ี              ้   ่                       ่ ่
       น้ าเหลืองทีรักแร ้ แต่ยังสามารถรักษามะเร็งเต ้านมให ้หายขาดได ้ เช่นเดียวกับ ระยะ 0 และ I
                   ่
    4. มะเร็ งเต้านมระยะ III คือ หมายถึง มะเร็งในระยะลุกลาม ซึงมีการแบ่งย่อยเป็ น IIIA และ IIIB อีกที เพราะมีความแตกต่าง
                                                                      ่
       เรือง การพยากรณ์โรค โดย IIIA จะเป็ นระยะทียังพอให ้การรักษามะเร็งเต ้านมโดยการผ่าตัด เป็ นวิธ ี แรกได ้ แล ้วตามด ้วยการให ้
          ่                                            ่
       เคมีบาบัด ส่วน IIIB จะเป็ นระยะทีลกลามเกินกว่าทีจะรักษามะเร็งเต ้านมเริมแรกด ้วยการผ่าตัดได ้ เพราะจะมีปัญหาเรืองการขจัด
                                          ่ ุ              ่                      ่                                     ่
       มะเร็งเต ้านมออกไม่หมด และ มีปัญหาในการ ปิ ดแผล ทาให ้มีความเสียงต่อการเกิดการเป็ นกลับซ้าได ้
                                                                              ่
    5. มะเร็ งเต้านมระยะ IV คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะแพร่กระจาย โดยอวัยวะทีมการแพร่กระจายมากทีสด คือ กระดูก
                                                                                              ่ ี                   ่ ุ
       รองลงมาคือ เยือหุ ้มปอด ปอด ตับ และ สมอง ตามลาดับ
                        ่
มักใช ้เป็ นวิธการรักษาเริมแรกในระยะทียงไม่มการลุกลามไปมาก เพราะให ้ผลในการขจัดมะเร็งได ้อย่างดี (ได ้ผลทัง Local
               ี          ่           ่ ั     ี                                                                        ้ และ
                            ่ ี
regional control) ซึงวิธในการผ่าตัดทีนยมในปั จจุบน ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมส่วนใหญ่จะได ้รับการผ่าตัดเพือนาเนืองอกออกจากหน ้าอก
                                          ่ ิ         ั                                                    ่        ้
ร่วมกับต่อมน้ าเหลืองบางส่วน เพือดูวายังมีเซลล์มะเร็งเหลืออยูหรือไม่การผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม มีอยู่ 4 วิธ ี ได ้แก่
                                 ่  ่                        ่




                                                                        ้         ่
1.1 การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม โดยนาเอาเนืองอกออก ซึงประกอบไปด ้วยวิธตาง ๆ ดังนี้
                                                                                                   ี ่
     การตัดเฉพาะตัวเนืองอกออก Wide excision : เป็ นการผ่าตัดนาเอาเนื้องอกและเนือเยือทีปกติรอบ ๆ เนืองอกออก
                         ้                                                          ้ ่ ่              ้

       มักใช ้เป็ นการรักษาในมะเร็งเต ้านมทีอยูในระยะ 0 ( Tis ) โดยจะมีการผ่าตัดอาเฉพาะเนื้อเยือรอบก ้อนมะเร็งออก ร่วมกับการเปิ ด
                                             ่ ่                                                ่
                                         ่                  ่                                       ่          ่
        แผลผ่าตัดเล็กๆบริเวณรักแร ้ เพือเอาต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ ในระดับ I และ II ออก ในลักษณะทีเป็ นการสุมตรวจ( ในกรณีท ี่ มี
        การแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองแล ้ว ก็จะมีการให ้ยาเคมีบาบัดต่อไป)
                             ่ ่

       ส่วนการใช ้ การรักษาโดยการทา wide excision เดียวๆ นัน ไม่แนะนา การตัดเอาเต ้านมบางส่วนออก Simple mastectomy :
                                                           ่     ้
        เป็ นการตัดเอาเนือเยือเต ้านมออกทังหมด
                          ้  ่              ้           โดยไม่ได ้ตัดต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ออกด ้วย
                                                                                       ่             เหมาะสาหรับการรักษาโรค
        Cystosarcoma phyllodes tumor ทีมขนาดใหญ่ Paget's disease of nipple และ Early breast cancer ทีผู ้ป่ วยไม่ต ้องการ
                                              ่ ี                                                            ่
        สงวนเต ้านมไว ้ เป็ นการผ่าตัดนาเอาเต ้านมทีมเนืองอกออกบางส่วนร่วมกับเนือเยือทีผดปกติรอบ ๆ นอกจากนียังมีการนาเอา
                                                    ่ ี ้                            ้   ่ ่ ิ                 ้
        ต่อมน้ าเหลืองทีบริเวณใต ้รักแร ้ออกมาตรวจพร ้อมกับการผ่าตัด รักษามะเร็งเต ้านมอีกด ้วย
                        ่

1.2 การผ่าตัดเอาเต ้านมออกทังข ้าง เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็ งเต ้านมต ้องนาเอาเต ้านมข ้างทีมเนืองอกออกทังหมดร่วมกับต่อมน้ าเหลือง
                               ้                                                            ่ ี ้        ้
ใต ้รักแร ้เพือการตรวจวินจฉัย Modified radical mastectomy : เป็ นวิธการทีรักษาโดยการตัดเอาเนือเยือเต ้านมและต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้
              ่          ิ                                           ี     ่                      ้  ่                        ่
ออกพร ้อมกัน ถือเป็ นการรักษาทีเป็ นมาตรฐานสาหรับโรคมะเร็ งเต ้านมในระยะที่ I II และIIIA
                                 ่

1.3 การผ่าตัดเอาเต ้านมออกทังข ้างแบบปรับปรุง (Modified radical mastectomy) เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมทีนาเอาเต ้านมข ้าง
                            ้                                                                                 ่
ทีมเนืองอกออกทังหมดร่วมกับต่อมน้ าเหลืองใต ้รักแร ้ ต่อมน้ าเหลืองใต ้ผนังหน ้าอกและกล ้ามเนือผนังหน ้าอก
  ่ ี ้         ้                                                                            ้

1.4 การผ่าตัดเต ้านมแบบกว ้าง (Radical mastectomy) เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมทีนาเอาเต ้านมข ้างทีมเนืองอกกล ้ามเนือใต ้
                                                                                     ่                  ่ ี ้            ้
หน ้าอก และต่อมน้ าเหลืองทังหมดทีรักแร ้ออก
                           ้      ่
สามารถใช ้เป็ นการรักษาร่วมกับการผ่าตัดและการให ้ยาเคมีบาบัด โดยมักให ้หลังจากทีได ้รับการผ่าตัดแล ้ว แต่ในบางกรณีทไม่สามารถ
                                                                                      ่                             ี่
ผ่าตัดได ้ เช่น ระยะ IIIBทีไม่ตอบสนองต่อเคมีบาบัด หรือ มีการเป็ นกลับซ้าทีแผลผ่าตัดทีไม่สามารถผ่าตัดเอาเนือมะเร็งออกได ้หมด
                            ่                                                 ่           ่                      ้
อาจพิจารณาให ้รังสีรักษาก่อนนอกจากนีแล ้วการฉายแสงยังใช ้เพือ ลดอาการเจ็บปวดทีเกิดเนืองจากมะเร็งทีแพร่กระจายมากระดูก หรือ
                                           ้                      ่                     ่     ่               ่
ต่อมน้ าเหลืองได ้ เป็ นการใช ้รังสีพลังงานสูงเพือกาจัดเซลล์มะเร็งหรือป้ องกันเซลล์มะเร็งเติบโตแบ่งได ้เป็ น 2 ชนิด
                                                 ่

   1. การฉายแสงภายนอก เป็ นการใช ้เครืองฉายรังสีสงรังสีไปยังบริเวณก ้อนเนืองอก ผนังหน ้าอก หรือต่อมน้ าเหลือง มักใช ้ภายหลัง
                                           ่            ่                          ้
      ได ้รับการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม และได ้ยาเคมีบาบัดแล ้ว ในผู ้ป่ วยทีมก ้อนมะเร็งเต ้านมขนาดใหญ่กว่า 5 ซม. มีการลุกลามที่
                                                                              ่ ี
      ต่อมน้ าเหลือง หรือผ่าตัดก ้อนมะเร็งเต ้านมได ้ขอบเขตไม่เพียงพอ และกรณีผู ้ป่ วยทีได ้รับการผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม
                                                                                           ่
   2. การฉายแสงภายในหรือการฝั งแร่ เป็ นการใช ้สารกัมมันตรังสีตดกับอุปกรณ์บางชนิด เช่น เข็ม, ลวด จากนันนาไปวางไว ้ในบริเวณ
                                                                   ิ                                           ้
      ทีเป็ นเนืองอกหรือบริเวณข ้างเคียง
        ่       ้

        ้ ี่ ้
ข้อบ่งชีทใชร ังสีร ักษามะเร็ งเต้านมโดยเฉพาะหล ังผ่าต ัด ได้แก่

      ก ้อนมะเร็งทีมขนาดโตมากกว่า 5 ซม. หรือมีลกษณะของการลุกลามมาทีผวหนัง (Locally advanced of skin involvement : T4
                      ่ ี                           ั                        ่ ิ
       lesion )
                         ่ ่
       ก ้อนมะเร็งเป็ นทีสวนกลาง หรือด ้านในของเต ้านม
      มีจานวนต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ทีมมะเร็งกระจาย มากกว่าหรือเท่ากับ 4 ต่อม ขึนไป
                               ่       ่ ี                                       ้
           ้
       ผลชินเนื้อทีมพยาธิสภาพเป็ น Angio-lymphatic invasion หรือmetastasis to axillary fat tissue
                    ่ ี
             ้
       ผลชินเนื้อทีมพยาธิสภาพเป็ น Positive margin หรือ not free margin หมายถึง ตัดเอามะเร็งออกไม่หมด
                     ่ ี




เป็ นการใช ้ยาเพือหยุดการเจริญเติบโตของเนืองอกโดยการกาจัดหรือหยุดเนืองอกจากการแบ่งตัววิธการให ้ยารักษามะเร็งเต ้านมมีทงชนิด
                 ่                        ้                               ้                      ี                    ั้
รับประทานและชนิดฉีดเข ้าเส ้นเลือดหรือฉีดเข ้าบริเวณกล ้ามเนือ วิธการให ้ยารักษามะเร็งเต ้านมขึนอยูกับระยะของโรค
                                                             ้    ี                            ้   ่

การให้ยาเคมีบาบ ัดร ักษามะเร็ งเต้านม : มักใช ้เป็ นการรักษาร่วม ( Adjuvant therapy) กับการผ่าตัด ในผู ้ป่ วยทีมการแพร่กระจายของ
                                                                                                               ่ ี
มะเร็งมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ โดยจะให ้ 6 เดือน ในระยะที่ I, II แต่ในระยะที่ III จะให ้จะครบ 12 เดือน แต่ในระยะที่ IV หรือ
          ่ ่
recurrence จะให ้ใช ้ในช่วง 3 - 6 เดือน หากไม่มการตอบสนองอาจเปลียนเป็ นยาขนานทีแรงกว่าเดิม (CMF  CAF)
                                               ี                     ่              ่

หลักการให ้สารเคมีบาบัดก็เพือกาจัดเซลล์มะเร็งทีอยูในระยะแพร่กระจายออกเต ้า นมและต่อมน้ าเหลืองใกล ้เคียงเนืองจากการผ่าตัดไม่
                            ่                  ่ ่                                                         ่
สามารถกาจัดออกไปได ้หมด โดยหวังผลในแง่ของการลดการเป็ นกลับซ้า (Recurrence) และเพิมการอยูรอด (survival) โดยเฉพาะใน
                                                                                        ่      ่
กลุมสตรีทอยูในวัยทีมประจาเดือน และ Estrogen receptor (ER)negative
   ่     ี่ ่      ่ ี
ในมะเร็งระยะลุกลาม (III B) มักจะให ้เคมีบาบัดก่อนการรักษาโดยการผ่าตัด เรียกว่า Neoadjuvant chemotherapy หรือ Induction
chemotherapy โดยหวังผลในการลดขนาดของมะเร็ง และการ down stage (ลดจากระยะทีรุนแรงมากให ้มาอยูในระยะทีรุนแรงน ้อย)
                                                                                         ่                ่     ่
   ่ ่                                         ่
เพือทีจะให ้การรักษาโดยการผ่าตัดตามหลังได ้ ซึงปกติมักจะเริมให ้เป็ น CMF 3 เดือน ก่อนหากมีการตอบสนองดี ก็จะสามารถผ่าตัดได ้
                                                            ่
หาก ตอบสนองไม่เต็มที่ ควรให ้ต่อเป็ น 6 เดือน แล ้วประเมินผลอีกครัง หรือเปลียนเป็ น CAF อีก 3 เดือน หากยังไม่ตอบสนอง อาจ
                                                                      ้        ่
พิจารณา เปลียนเป็ น CAF 3-6 เดือน หรือ การให ้รังสีรักษาร่วมด ้วย หรือไม่ก็ทดลอง Regimen อืน (ยาขนานใหม่ๆ)
              ่                                                                            ่

ในโรคมะเร็งทีมการลุกลามมากๆ หรือมีการดาเนินโรคทีรวดเร็วอาจจาเป็ นต ้องพิจารณายาเคมีบาบัดทีม ี Adriamycin (C A F regimen)
              ่ ี                                     ่                                            ่
ตังแต่เริมแรก เพราะในรอยโรคชนิดทีเป็ นและลุกลามรวดเร็วนี้ อาจไม่ตอบสนอง หรือ ตอบสนองช ้าต่อ C M F regimen ซึงข ้อควรระวัง
  ้      ่                           ่                                                                            ่
ในการให ้ Adriamycin คือ ยาจะมี toxic accumulation dose เท่ากับ 550 มก.นั่นคือ จะทาให ้ผู ้ป่ วยไม่สามารถรับยา Adriamycin ได ้
เกิน 6 รอบ(รอบละ 2 ครัง) หากผู ้ป่ วยได ้รับยาเกินขนาดจะมีผลข ้างเคียง เกิดพิษต่อหัวใจทีรุนแรงได ้
                      ้                                                                 ่

                                       ่ ้ ็
การให้ยาเคมีบาบ ัดร ักษามะเร็ งเต้านมทีใชเปนมาตรฐาน คือ CMF และ CAF Regimen

1. CMF Regimen: ประกอบด ้วย

                                              ่
        -C: Cyclophosphamide หรือ Endoxan (ชือการค ้า) โดยการทาน ขนาด 100 มก./ตร.ม.( mg/m2 ) 14 วัน
       -M: Methotrexate โดยให ้ทางหลอดเลือดดาช ้าๆ ขนาด 30*-40 มก./ตร.ม.( mg/m2 ) วันที1 และ8 ของการให ้ยา
                                                                                         ่
       -F: 5-Fluorouracil (5-FU) โดยผสมให ้ทางน้ าเกลือ 5% DW 500 ml. ให ้ทางหลอดเลือดดาในเวลา 6 ชม.ขนาด 400*-600
        มก./ตร.ม.( mg/m2 ) วันที1และ8 ของการให ้ยา
                                 ่

2. CAF Regimen: ประกอบด ้วย

       -C และ F เหมือนกัน
       -A: Adriamycin (ชือการค ้า)หรือ Doxorubicin โดยให ้ทางหลอดเลือดดาช ้าๆ ขนาด 30 มก./ตร.ม.( mg/m2) วันที1 และ8
                          ่                                                                                   ่
        ของการให ้ยา

*หมายเหตุ:กรณีทผู ้ป่ วยมีอายุมากกว่า 65 ปี จะลดขนาดยา Methotrexate เป็ น30 มก./ตร.ม.( mg/m2 )และ 5-Fluorouracil เป็ น400
               ี่
มก./ตร.ม.( mg/m2 )

โดยขนาดของยาทีจะเริมใช ้ในผู ้ป่ วยปกติ จะเริมที่ Maximal dose (Methotrexate =40 mg/m2 และ 5-FU=600 mg/m2 ) เพือหวัง
                 ่   ่                       ่                                                                 ่
ผลให ้ได ้ Maximum tumor killing effect ยกเว ้นว่าจะเกิดผลข ้างเคียงจากการใช ้ยาตามมา ได ้แก่ Anemia Leucopenia หรือ
                   ่
Thrombocytopenia ซึงจาเป็ นทีจะต ้องลดขนาดยาในครังต่อไป (เป็ น 90% 80%…ต่อไป)
                                ่                      ้

ส่วนยา Adriamycin เป็ นยาทีมอนตรายต่อหัวใจมาก ไม่สามารถให ้ได ้เกิน ขนาด 30 mg/m2 และมีระดับยาทีสะสมจนเกิดพิษได ้( toxic
                           ่ ี ั                                                                  ่
accumulation dose) หากให ้เกินขนาดสะสม 550 mg.       ดังนันปริมาณของยาทีจะสามารถใช ้ได ้จึงไม่ควรเกิน 6 รอบ ของการให ้ยา
                                                          ้                ่
( course )




เป็ นการรักษามะเร็งเต ้านมโดยการนาเอาฮอร์โมนหรือหยุดการทางานของฮอร์โมนเป็ นผลทาให ้เซลล์มะเร็งหยุดการเจริญเติบโต ถ ้าตรวจ
พบว่าเซลล์มะเร็งมีตวรับการตอบสนองต่อฮอร์โมน (receptors) อาจเลือกวิธการรักษามะเร็งเต ้านมเพือลดการทางานของฮอร์โมนได ้
                    ั                                                     ี                    ่
หลายวิธดงนี้ การใช ้ยาการผ่าตัดและการฉายรังสี เช่น มะเร็งเต ้านมซึงตอบสนองต่อฮอร์โมนเอสโตรเจนและเอสโตรเจนสร ้างมาจากรัง
         ี ั                                                      ่
ไข่ อาจใช ้วิธการผ่าตัดรังไข่ออกเพือหยุดการสร ้างฮอร์โมนเอสโตรเจน หรือการรักษาด ้วยยา Tamoxifen ซึงใช ้ในการรักษามะเร็งเต ้านม
              ี                    ่                                                              ่
ในระยะเริมต ้น และระยะลุกลาม
           ่

แต่มข ้อพึงระวังเนืองจากการทานยา Tamoxifen สามารถออกฤทธิได ้กับเซลล์ทวร่างกายทาให ้อาจเพิมโอกาสในการเป็ นมะเร็งเยือบุ
    ี              ่                                         ์            ั่                   ่                     ่
                                                        ่
โพรงมดลูกได ้หรือการรักษาด ้วยยา Aromatase Inhibitor ซึงให ้ในผู ้หญิงวัยหมดระดูทเป็ นมะเร็งชนิดทีตอบสนองต่อการรักษาด ้วย
                                                                                 ี่               ่
ฮอร์โมน โดยยาชนิดนีจะไปยับยังการเปลียนฮอร์โมนแอนโดนเจนไปเป็ นเอสโตรเจน ซึงยาชนิดนีสามารถใช ้ในระยะต ้นของโรคมะเร็งเต ้า
                       ้      ้     ่                                        ่        ้
นมโดยเป็ นการรักษาเสริมแทนยา Tamoxifen หรือหลังจากสองปี หรือมากกว่าของการใช ้ยา Tamoxifen

การรักษาโดยการใช ้ยาฮอร์โมน :

  ่                                              ่
ทียังถือเป็ นมาตรฐานในปั จจุบันก็ม ี Tamoxifen ซึงเป็ นยาต ้านการออกฤทธิของ Estrogen โดยมักจะให ้ในรายทีหมดประจาเดือนแล ้ว
                                                                        ์                               ่
และมีระดับการตรวจวัด Estrogen receptor ทีเป็ นบวก เพราะจะตอบสนองต่อการให ้ยา Tamoxifen มากกว่า
                                             ่
ขนาดของยา Tamoxifen ควรให ้ควรเป็ น 20 มก./ วัน โดยการทานเป็ นเวลาต่อเนืองกันอย่างน ้อย 2 ปี แต่ก็มบางตาราทีแนะนาให ้ทาน
                                                                             ่                           ี        ่
               ่
ไปจนถึง 5 ปี ซึงจะเห็นผลทีดกว่า อย่างไรก็ตามผลข ้างเคียงของยาตัวนี้ทยังไม่ปลอดภัยก็คอ การกระตุ ้นให ้เกิดการเป็ นมะเร็งของมดลูก
                           ่ ี                                        ี่             ื
และ การเกิดลิมเลือดอุดตัน ดังนันควรมีการตรวจ เฝ้ าระวัง ภาวะมะเร็งในมดลูกก่อน และ ระหว่างการใช ้ยาตัวนี้
             ่                 ้




        Sentinel Lymph node biopsy followed by surgery เป็ นการนาต่อมน้ าเหลืองต่อมแรกทีมการแพร่กระจายจากเนืองอกออก
                                                                                                   ่ ี                   ้
         โดยใช ้สารกัมมันตรังสีฉีดเข ้าใกล ้กับเนืองอก ซึงต่อมน้ าเหลืองต่อมแรกทีได ้รับสารกัมมันตรังสีจะถูกตัดออก พยาธิ-แพทย์ จะ
                                                  ้      ่                       ่
         ทาการตรวจเพือหาเซลล์มะเร็ง ถ ้าไม่พบเซลล์มะเร็งก็ไม่มความจาเป็ นทีจะต ้องนาต่อมน้ าเหลืองอืน ๆ ออกหลังจากนัน
                       ่                                             ี             ่                       ่               ้
         ศัลยแพทย์จะผ่าตัดเนื้องอกออกตามวิธข ้างต ้นี

        High dose chemotherapy with stem cell transplant เป็ นการให ้ยาเคมีบาบัดขนาดสูงร่วมกับการให ้เซลล์ต ้นกาเนิดเม็ด
                              ่ ู                         ่
         เลือดทดแทนเซลล์เดิมทีถกทาลายจากการรักษามะเร็งซึงมีวธการ ดังนี้
                                                              ิ ี

                 1. นาเซลล์ต ้นกาเนิดเม็ดเลือดออกจากไขกระดูกของผู ้ป่ วยหรือผู ้บริจาคแล ้วแช่แข็งเก็บไว ้

                                                 ้
                 2. หลังจากให ้ยาเคมีบาบัดเสร็จสินนาเอาเซลล์ต ้นกาเนิดกลับไปให ้ผู ้ป่ วยอีกครัง
                                                                                               ้

การศึกษานีพบว่าผลการรักษาไม่แตกต่างจากการรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดเพียงอย่างเดียว
          ้

        Monoclonal Antibodies as adjuvant therapy เป็ นการรักษาโดยการใช ้ Antibodies โดย Antibodies เหล่านี้ จะไปจับกับ
         สารทีทาให ้ตัวเนืองอกเจริญเติบโต ผลโดยรวมจะทาให ้เซลล์มะเร็งตาย หยุดการเจริญเติบโตหรือหยุดการแพร่กระจาย การ
                ่          ้
                                                                                                                      ่
         รักษาด ้วยวิธนี้สามารถให ้ร่วมกับการรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดได ้ด ้วย ตัวอย่างเช่น ยา Trastuzumab (Herceptin) ซึงมีผลในการ
                      ี
                                                    ่
         ยับยังการทางานของโปรตีน HER-2 ซึงโปรตีน HER-2 เป็ นตัวเร่งการเจริญเติบโตของมะเร็งเต ้านม
              ้
        Tyrosine kinase inhibitors as adjuvant therapy เป็ นการยับยังการเจริญเติบโตของเนื้องอกอย่างเฉพาะเจาะจง (Targeted
                                                                            ้
         therapy) สามารถใช ้ร่วมกับยากต ้านมะเร็งตัวอืนเป็ นการรักษาเสริมได ้ ตัวอย่างเช่น Lapatinib ซึงยับยังการทางานของ HER-2
                                                        ่                                              ่     ้
         สามารถใช ้รักษาผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมทีมผล HER-2 receptor เป็ นบวกในรายทีได ้รับการรักษาด ้วย Trastuzumab แล ้วไม่ได ้ผล
                                                ่ ี                                   ่




1. Ductal Carcinoma in situ

             -      การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านมและการฉายแสง อาจมีการใช ้ยา Tamoxifen ร่วมด ้วยหรือไม่ขนกับผลการตรวจ receptor
                                                                                                   ึ้
             -      การผ่าตัดเต ้านมออกทังหมด อาจมีการใช
                                         ้               ้ยา Tamoxifen ร่วมด ้วยหรือไม่ขนกับผลการตรวจ receptor
                                                                                        ึ้
             -      การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม โดยไม่มการฉายแสงร่วมด ้วยในผู ้ป่ วยบางกรณี
                                                    ี

การร ักษามะเร็ งเต้านมระยะแรก (Early breast cancer) หมายถึง ระยะ 0 I IIA และ IIB

มะเร็ งเต้านมระยะ 0 หมายถึง Carcinoma in situ (Tis N0 M0) ประกอบไปด ้วย Ductal carcinoma in situ (DCIS.) และ Lobular
carcinoma in situ (LCIS.)

1. LCIS. : เป็ นมะเร็งในระยะก่อนลุกลาม ทีเกิดในส่วนของ Mammary lobule มักพบรอยโรคแบบนีในสตรีวัยมีประจาเดือนโดยบังเอิญ
                                              ่                                                     ้
   จากการทา biopsy อาจพบร่วมกับ invasive cancer ได ้ประมาณ 5 % และโดยทีรอยโรคนี้อาจมีการเปลียนแปลงเป็ น invasive
                                                                                       ่                      ่
                                   ่
   carcinoma ได ้(10-37 %) ซึง 50-65 % ของ invasive cancer ทีพบ จะเป็ น invasive ductal carcinoma แต่ไม่สามารถพยากรณ์
                                                                          ่
                        ่              ่           ้                                                                     ่
   ได ้ชัดเจนว่าจะเกิดทีข ้างใด(ข ้างทีเป็ น หรือทังสองข ้างก็ได ้) หรือระยะเวลาเท่าไร(บางตารา ให ้ไว ้มากกว่า 15 ปี ) ซึงจัดว่ามีความ
      ่
   เสียงมากกว่าประชากรปกติ ประมาณ 8-10 เท่า ดังนันการรักษาจึงมีได ้ 2 แนวทาง ดังนี้
                                                          ้

        รอดูอาการอย่างใกล ้ชิด: โดยการติดตามอาการและทา Mammogram เป็ นระยะๆ
                                                                      ่
         Prophylactic bilateral mastectomy: ในผู ้ป่ วยทีไม่ต ้องการเสียงกับการเกิดโรคมะเร็งเต ้านมในอนาคต
                                                         ่

2.    DCIS. : เป็ นมะเร็งในระยะก่อนลุกลาม ทีเกิดในส่วนของ mammary duct รอยโรคชนิดนี้ มักจะคลาไม่พบ แต่จะพบได ้ จากการทา
                                            ่
                        ่                                                                          ้
     Mammogram ซึงจะพบเป็ นลักษณะผิดปกติตางๆ โดยเฉพาะ micro-calcification และสามารถชีตาแหน่งเอาชินเนือมาตรวจได ้
                                                 ่                                                                 ้ ้
              ่                                                                    ่
     รอยโรคทีเป็ น DCIS นี้ มักมีการลุกลามออกมาเป็ น invasive cancer ได ้(มีความเสียง 30-50 % ในช่วง 10ปี ) ดังนันหากเราสามารถ
                                                                                                                 ้
วินจฉั ยในระยะทียังไม่แพร่กระจาย โดยตัดเอารอยโรคทังหมดออกไป (free margin) จะทาให ้สามารถรักษาได ้โดยวิธ ี breast
       ิ            ่                                  ้
    conservative therapy ดังนันการรักษาจึงมีได ้ดังนี้
                                ้

       Excision : เป็ นการตัดเอาเฉพาะรอยโรคทีม ี DCIS ออกอย่างเดียว
       Breast conservative treatment : เป็ นการตัดเอารอยโรคทีม ี DCIS ออกไป ร่วมกับการฉายแสงรักษาเฉพาะบริเวณรอยโรค
                                                              ่
                                                                               ่
        Mastectomy : เป็ นการตัดเอาเต ้านมออกทังข ้าง จะทาเฉพาะในรายทีมความเสียงต่อการเป็ นมะเร็งสูง
                                                ้                       ่ ี

ระยะ I II หมายถึง Early breast cancer (T1 N0, T0 N1, T1 N1, T2 N0, T2 N1, T2 N1) ประกอบด ้วยรอยโรคทีมก ้อน แต่จะไม่
                                                                                                           ่ ี
มีการลุกลามมาทีผวหนัง ( T4B)หรือ ผนังทรวงอก (T4A) และมีการแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ทีจับเคลือนได ้ ( N1) เท่านัน
                ่ ิ                                                     ่ ่                   ่      ่                  ้
การรักษามีดงนี้
           ั

       Breast conservative treatment : นอกจากจะต ้องตัดเอาก ้อนมะเร็งออกโดยให ้ได ้ free margin และการฉายแสงเหมือนกับ
                                                                                                              ่
        In situ lesion แล ้ว ยังต ้องเลาะเอาต่อมน้ าเหลืองรักแร ้ ระดับที่ 1และ2 ( Level I,II ) ออกในลักษณะสุมตรวจ ( sampling
        node dissection) เพือประเมินการแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ เพราะหากมีแล ้ว จาเป็ นต ้องให ้ยาเคมีบาบัดร่วมด ้วยเป็ น
                              ่                              ่ ่
        ระยะเวลา 6 เดือน
       Modified radical mastectomy : ถือเป็ นมาตรฐานในการรักษามะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีได ้ผลในการขจัดมะเร็งดีทสด
                                                                                              ่         ่                   ี่ ุ
        เพราะมีการเสียงต่อการเป็ นกลับซ้าน ้อยกว่าวิธแรก และหากผลชินเนือมีแพร่การกระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ (Node
                      ่                                 ี                  ้  ้                     ่ ่
        positive) จาเป็ นต ้องให ้ยาเคมีบาบัดร่วมด ้วยเป็ นระยะเวลา 6 เดือน ( course) หรือในกรณีทผู ้ป่ วยหมดประจาเดือนแล ้ว ควร
                                                                                                     ี่
        พิจารณาให ้ยา Tamoxifen (อย่างน ้อย 5 ปี )หากผล ER +

                                      ้
ในกรณีทผู ้ป่ วยยังมีประจาเดือนและผลชินเนื้อไม่มแพร่การกระจายมาทีตอมน้ าเหลือง รักแร ้ ( Node negative) แต่มขนาดของก ้อนมะเร็ง
       ี่                                       ี                ่ ่                                        ี
ทีขนาดมากกว่า 1 ซม.ก็ควรจะให ้ Adjuvant therapy โดยพิจารณาตาม ผล ER ดังนี้
  ่

       กรณี ER – ( negative) : ให ้ chemotherapy 6 เดือน
       กรณี ER + ( positive) : ให ้ tamoxifen +/- chemotherapy( การให ้ยาเคมีบาบัดในกรณีนอาจจาเป็ นในผู ้ป่ วยบางราย ทัง
                                                                                          ี้                            ้
        แทนทีหรือเสริมกับ tamoxifen )
              ่

2. Lobular carcinoma in situ

            -                            ้
                การเฝ้ าระวังโดยการตัดชินเนือร่วมกับการตรวจร่างกายและ Mammogram เป็ นประจาเพือความเปลียนแปลงทีอาจ
                                            ้                                                             ่      ่ ่
                เกิดขึนให ้เร็วทีสด
                      ้          ่ ุ
            -   ให ้การรักษาด ้วยยา Tamoxifen เพือลดอัตราการเกิดมะเร็งเต ้านม
                                                    ่
            -   ผ่าตัดเต ้านมออกทัง 2 ข ้างเพือเป็ นการป้ องกัน ซึงเป็ นการรักษาทีใช ้ในผู ้ป่ วยทีมความเสียงสูง
                                     ้        ่                   ่               ่                ่ ี      ่

3. ระยะ I, II, IIIA และ IIIC ทีผาต ัดได้
                               ่ ่

            -   การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านมร่วมกับการเลาะต่อมน้ าเหลืองและการฉายแสง
            -   การผ่าตัดเต ้านมแบบปรับปรุง
            -   การรักษาเสริมเป็ นการรักษาทีให ้หลังผ่าตัดเพือเพิมอัตราการหายขาด เช่น
                                            ่                ่   ่
            -   การฉายแสงทีตอมน้ าเหลืองใกล ้กับเต ้านมและผนังหน ้าอกหลังจากการผ่าตัดเต ้านมแบบปรับปรุง
                               ่ ่
            -   การให ้ยาเคมีบาบัดร่วมกับพิจารณาให ้การรักษาเพิมเติมด ้วยฮอร์โมน
                                                                   ่
            -   การรักษาด ้วยฮอร์โมน




4. ระยะ IIIB และ IIIC ทีผาต ัดไม่ได้
                        ่ ่

            -   การให ้ยาเคมีบาบัด
            -   การให ้ยาเคมีบาบัดและตามด ้วยการผ่าตัด (การผ่าตัดอาจเป็ นได ้ทังแบบอนุรักษ์ หรือการผ่าตัดเต ้านมทังหมดก็ได ้)
                                                                               ้                                  ้
                ร่วมกับการตัดต่อมน้ าเหลืองออกแล ้วตามด ้วยการฉายแสง อาจพิจารณาให ้ยาเคมีบาบัดหรือฮอร์โมนหรือทังสองอย่าง
                                                                                                                     ้
                เพิมอีก
                   ่

ระยะลุกลาม (Locally advanced breast cancer) หมายถึง ระยะ IIIA และ IIIB

       ระยะ III A หมายถึง Surgical favorable locally advanced breast cancer (T0 N2, T1 N2, T2 N2, T3 N1, T3 N2) เป็ น
        ระยะทีลกลามเฉพาะส่วนของเต ้านมเท่านัน โดยทียังสามารถรักษาด ้วยการผ่าตัดเอาเต ้านมและต่อมน้ าเหลืองรักแร ้ออกไปได ้
               ่ ุ                            ้         ่
        (MRM) ร่วมกับการให ้ยาเคมีบาบัดต่ออีก 12 เดือน (กรณีทยังมีประจาเดือนอยู่) หรือให ้ยา Tamoxifen (กรณีทหมดประจาเดือน
                                                             ี่                                              ี่
        แล ้ว และมี ER positive)
   ระยะ III B หมายถึง Surgical unfavorable, locally advanced breast cancer (T4 any N, any T N3) เป็ นระยะทีลกลามเกิน
                                                                                                                    ่ ุ
        กว่าขอบเขตเนือเยือเต ้านม ได ้แก่ ผิวหนัง และทรวงอกหรือมีลักษณะของ Inflammatory breast cancer โดยทีการรักษาด ้วย
                     ้   ่                                                                                        ่
        การผ่าตัด มักไม่สามารถเอาเนือมะเร็งออกได ้หมด และจะทาให ้เกิดการกลับซ้าของมะเร็ง ส่งผลให ้ผู ้ป่ วยต ้องทรมานจาก
                                       ้
        บาดแผลและผลแทรกซ ้อนต่างๆได ้ดังนันการรักษาจึงมักเริมด ้วยการให ้ยาเคมีบาบัดก่อน
                                                ้                   ่                             (Neoadjuvant or     induction
        chemotherapy) ในระยะ 3-6 เดือน
       หากมีการตอบสนอง โดยก ้อนมะเร็งมีขนาดเล็กลง หรือหายไป ก็จะนาผู ้ป่ วยรักษาด ้วยวิธ ี MRM หรือ Extended simple
        mastectomy (Simple mastectomy + level I axillary node dissection)
       หากไม่มการตอบสนอง หรือเป็ นมากขึน จาเป็ นต ้องเปลียน Regimen ยาเคมีบาบัด เช่น จาก CMF เป็ น CAF (หรือ
                ี                             ้                   ่
                                  ่                                   ่
        chemotherapeutic trial อืนๆ) หรือ ให ้รังสีรักษาร่วมด ้วย ซึงมักให ้ผลการรักษาทีได ้ผลค่อนข ้างน ้อย
                                                                                        ่

5. ระยะ IV หรือระยะแพร่กระจาย

             -   การให ้ยาฮอร์โมนและ/หรือการให ้ยาเคมีบาบัด อาจมีการพิจารณาให ้ยา Trastuzumab ร่วมด ้วย
             -   การให ้ยา Tyrosine kinase inhibitors ร่วมกับยาเคมีบาบัดแบบรับประทาน (Capecitabine)
             -   การฉายแสงและ/หรือการผ่าตัดเพือลดอาการปวดและอาการอืน ๆ
                                                 ่                        ่
             -   Bisphosphonate เพือลดอาการปวดจากการทีมะเร็งมีการแพร่กระจายไปทีกระดูก
                                     ่                       ่                      ่

ระยะแพร่กระจาย (Metastasis) หมายถึง ระยะ IV (any T, any N, M1)

การรักษาส่วนใหญ่เพือลดผลแทรกซ ้อนและเพิมคุณภาพชีวตของผู ้ป่ วย ทังนีขนอยู่กบการปรึกษาหาแนวทางรักษาร่วมกันระหว่าง แพทย์
                       ่                 ่       ิ               ้ ้ ึ้    ั
ผู ้ป่ วย และ ญาติ (Balanced discussion)

การรักษาต่างๆ มีดงนี้
                 ั

                                                                                                     ่
        Tamoxifen : กรณีท ี่ ER positive โดยเฉพาะในผู ้ป่ วยทีมการดาเนินโรคอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และมีชวงระยะเวลาทีปลอดโรค
                                                              ่ ี                                                     ่
        อยูนาน (Long disease free survival)
           ่
       การให ้ยาเคมีบาบัด : ถือว่าเป็ น Chemotherapeutic trial โดยให ้ CAF Regimen ในเวลา 3-6 เดือน แล ้วประเมินผู ้ป่ วยซ้าว่ามี
        การตอบสนองหรือไม่
       การตัดรังไข่ หรือการตัดต่อมหมวกไต
       การให ้รังสีรักษา บริเวณทีมอาการปวดกระดูก หรือมี Pathological fracture
                                  ่ ี
                                                                 ้
        การผ่าตัด Toilet mastectomy : โดยเอาเต ้านมทีมการติดเชือ เน่าเหม็น หรือเสียเลือดบ่อยๆ ออกไป
                                                       ่ ี

6. มะเร็ งเต้านมอ ักเสบ (Inflammatory breast cancer)

             -   การให ้ยาเคมีบาบัด
             -   การให ้ยาเคมีบาบัดและตามด ้วยการผ่าตัด (การผ่าตัดอาจเป็ นได ้ทังแบบสงวนเต ้านมหรือการผ่าตัดเต ้านมทังหมดก็
                                                                                ้                                    ้
                 ได ้) ร่วมกับการตัดต่อมน้ าเหลืองออกแล ้วตามด ้วยการฉายแสง อาจพิจารณาให ้ยาเคมีบาบัดหรือฮอร์โมนหรือทังสอง
                                                                                                                        ้
                 อย่างเพิมอีก
                           ่

7. มะเร็ งเต้านมกาเริบ (Recurrent Breast cancer)

             -   การผ่าตัด (แบบกว ้างหรือแบบปรับปรุง) หรือการฉายแสง หรือการรักษาทังสองวิธร่วมกัน
                                                                                  ้      ี
             -   การรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดหรือการรักษาด ้วยฮอร์โมน

             ้
ระยะเปนกล ับซา (Recurrence)
      ็

เมือวินจฉัยได ้ว่ามีรอยโรคเกิดซ้า ไม่วาจะเป็ นทีแผลผ่าตัด ทีอก หรือทีรักแร ้ ให ้ระลึกเสมอไว ้ว่า อาจมีการแพร่กระจายมาสูอวัยวะสาคัญๆ
   ่    ิ                             ่          ่           ่       ่                                                  ่
แล ้ว ( กระดูก ตับ เยือหุ ้มปอด หรือ ปอด) ดังนันการตรวจเพิมเติมเพือยืนยันว่าการเป็ นกลับซ้านัน ปราศจากระยะแพร่กระจายเพือการวาง
                      ่                        ้           ่       ่                              ้                          ่
                                           ่
แผนการรักษาและพยากรณ์โรคทีต่างกัน ซึงการตรวจเพิมเติมทีควรทามีดงนี้
                                  ่                    ่       ่        ั

       CXR ,LFT, Skeletal survey (กรณีทมอาการทางกระดูก)
                                        ี่ ี
       U/S Abdomen
       Bone scan

กรณีทพบว่ามีการแพร่กระจายมาอวัยวะต่างๆ ก็ให ้การรักษาเช่นเดียวกับ ระยะแพร่กระจายดังทีได ้กล่าวมาแล ้ว การรักษาในระยะทีมการ
       ่ี                                                                            ่                                ่ ี
เป็ นกลับซ้า มีดงนี้
                ั

                 ้
1. กรณีทเปนกล ับซาหล ังการทา MRM:
        ่ี ็
่   ่
1.1 มีลกษณะของก ้อนทีแผลผ่าตัด ซึงเป็ นก ้อนเดียว และไม่มการยึดติดกับอวัยวะข ้างเคียง ให ้รักษาโดยการทา Wide excision
       ั                                       ่         ี
                 ้
     หากผลชินเนือ Free margin และไม่เคยได ้รับรังสีรักษามาก่อน พิจารณาให ้รังสีรักษา ( Field radiation + boost radiation)
                       ้
                   ้
     หากผลชินเนือ Free margin แต่เคยได ้รับรังสีรักษามาก่อน พิจารณาให ้ Electron beam radiation (ส่งต่อศูนย์มะเร็ง)
                         ้
                     ้
     หากผลชินเนือ ไม่ Free margin: ทา Re-excision ตามด ้วยการให ้รังสีรักษาต่อ โดยพิจารณาดูวาเคยรับรังสีรักษามาแล ้ว
                           ้                                                                            ่
         หรือไม่

1.2 มีลกษณะของก ้อนทีแผลผ่าตัด เป็ นหลายก ้อน และมีการยึดติดกับอวัยวะข ้างเคียง ให ้รักษาโดยการให ้รังสีรักษา ร่วมกับยาเคมีบาบัด
       ั             ่

       กรณีทเป็ นกลับซ้าในระยะเวลา ไม่เกิน 1 ปี หลังการรับยาเคมีบาบัดครังสุดท ้าย ให ้ใช ้ Regimen CAF (เนืองจากมีการเป็ นกลับ
              ี่                                                         ้                                  ่
        ซ้าในระยะเวลาสัน แสดงว่ามีความล ้มเหลวในการตอบสนองต่อยาทีได ้รับ และมีโอกาสทีจะลุกลามโดยเร็ว)
                        ้                                              ่                     ่
       กรณีทเป็ นกลับซ้า และตามมาด ้วยการแพร่กระจายในขณะทีได ้รับยาเคมีบาบัดอยู่ ให ้เปลียนมาใช ้ Regimen CAF แทน
                 ี่                                              ่                              ่
        (โดยเฉพาะพวกทีม ี Multiple chest wall nodule หรือมี positive lymph node อยูแล ้ว)
                          ่                                                          ่

                   ้
2. กรณีทเปนกล ับซาหล ังการทา Breast conservative treatment: ให ้ทา MRM หรือ Simple mastectomy แล ้วพิจารณาให ้
         ่ี ็
    Adjuvant therapy ตามความเหมาะสม (positive lymph node หรือ estrogen receptor)

             ็      ้
3. กรณีทการเปนกล ับซา ทีตอมนาเหลืองทีร ักแร้ (Regional lymph node)
        ่ี              ่ ่ ้        ่

       3.1 หากเป็ นหลังการผ่าตัดที่ inadequate lymph node dissection ให ้ทา more radical lymph node dissection
       3.2 หากเป็ นหลังการผ่าตัด ร่วมกับการให ้รังสีรักษามาแล ้ว มักไม่ได ้ผลการรักษาทีด ี (poor result) ในผู ้ป่ วยกลุมนี้ อาจ
                                                                                        ่                               ่
        พิจารณาทดลองยาใหม่ๆ (Chemotherapeutic trial) โดยความสมัครใจ ของผู ้ป่ วย




การวัดอัตราการอยูรอดของผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านม ใน 5 ปี พบว่า
                 ่

       ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 1   มีอตราการอยูรอด
                                             ั        ่         ใน5ปี   โดยประมาณ   90   %
       ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 2   มีอตราการอยูรอด
                                               ั        ่       ใน5ปี   โดยประมาณ   75   %
       ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 3   มีอตราการอยูรอด
                                                 ั        ่     ใน5ปี   โดยประมาณ   50   %
       ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 4   มีอตราการอยูรอด
                                                   ั        ่   ใน5ปี   โดยประมาณ   15   %




1. กรณีทไม่ปรากฏอาการแทรกซ ้อน หรือ การเป็ นกลับซ้า ควรนัดตรวจอาการ* ทุก 1 เดือน จนครบ 1 ปี หลังการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้า
         ี่
นมแล ้ว และจากนันทุก 3 เดือน จนครบ 5 ปี หลังการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมจากนันทุก 12 เดือน ตลอดไป
                ้                                                           ้

                                                                  ่
         * หมายเหตุ: พร ้อมกับการตรวจหาการแพร่กระจายของมะเร็งสูอวัยวะสาคัญ โดยการตรวจ CXR และ LFT ในระยะทุก 6 เดือน
ของ 5 ปี แรก และทุก 12 เดือนของ 10 ปี ตอไป หรืออาจให ้ทาทุกปี ทีมาติดตามผลการรักษา
                                       ่                        ่

2. กรณีทมอาการของการมีการเป็ นกลับซ้า หรือแพร่กระจายให ้ตรวจวินจฉัยเพิม ตามความจาเป็ น
        ี่ ี                                                   ิ      ่

3. การตรวจ Mammography สามารถทาได ้ใน 1 ปี หลังการรักษา หากผลปกติด ี ให ้ติดตามซ้าทุก 3-5 ปี จนผู ้ป่ วยอายุ 60 ปี อาจให ้ทา
ทุกปี ทมาติดตามผลการรักษา
       ี่




ศูนย์การรักษามะเร็ง ด้วยหลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center
1. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต)
2. โปรแกรมการรักษามะเร็ง TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็ ง)
                                                   ้
3. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER
4. โปรแกรมการรักษามะเร็ง MEGA C PLUS
5. การตรวจโรคมะเร็งด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS




      สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งโดยตรงที่ Wholly Medical Center
               ่       ่
                                       ั้
                              ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21
                                                         ุ
                    ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี

                    โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ
                         Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง    ั่


                       ข้ อมูลอ้ างอิง นพ.ธิติ วีระปรี ยากูร,whollymedical.com,chulacancer.net

Contenu connexe

Tendances

มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57Wassana Srisawat
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี อบต. เหล่าโพนค้อ
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรbo2536
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกaungkararak
 

Tendances (20)

มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57มะเร็งปากมดลูก by swd57
มะเร็งปากมดลูก by swd57
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Cervical cervix by RTAFNC
Cervical cervix by RTAFNCCervical cervix by RTAFNC
Cervical cervix by RTAFNC
 
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
พยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
Amputation
AmputationAmputation
Amputation
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
โครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูกโครงงานปากมดลูก
โครงงานปากมดลูก
 

Similaire à การรักษามะเร็งเต้านม

การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)นพ มีวงศ์ธรรม
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย Sutthinee Sudchai
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancyanucha98
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
Breast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyBreast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyUtai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอดWan Ngamwongwan
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Patinya Yutchawit
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลthaibreastcancer
 
Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Sevda Mut
 

Similaire à การรักษามะเร็งเต้านม (20)

มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
Breast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapyBreast cancer with hormone therapy
Breast cancer with hormone therapy
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Tumor Marker
Tumor MarkerTumor Marker
Tumor Marker
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
 
solitary thyroid nodule
solitary thyroid nodulesolitary thyroid nodule
solitary thyroid nodule
 
Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1Topic discussion-1230451515031376-1
Topic discussion-1230451515031376-1
 

การรักษามะเร็งเต้านม

  • 1. การร ักษามะเร็งเต้านม ต ้องให ้แพทย์ผู ้เชียวชาญ พิจารณารักษาตามความเหมาะสมและสอดคล ้องกับสภาพของผู ้ป่ วย ทังนี้้ การรักษาจะได ้ผลดีหรือไม่ ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมควรเตรียมความพร ้อมในการรักษามะเร็งเต ้านม ทังเรือง ข ้อมูล การปฏิบตตัวในระหว่างการ ้ ่ ั ิ รักษามะเร็งเต ้านม เพือการรักษาทีได ้ประสิทธิภาพดีทสด ่ ่ ี่ ุ  แผลบริเวณเต ้านมทีไม่หาย หรือมีการลุกลาม ่  หัวนมบุม โดยไม่มสาเหตุนามาก่อน เช่น การติดเชือ ๋ ี ้  มีสารคัดหลัง ไม่วาจะเป็ นน้ าหรือเลือด ออกจากหัวนม ่ ่  ก ้อนทีเต ้านม โดยเฉพาะก ้อนทีคอนข ้างแข็ง และไม่มอาการเจ็บ ่ ่ ่ ี  ่ มีก ้อนทีบริเวณรักแร ้ ซึงอาจหมายถึงการมีมะเร็งเต ้านมกระจายมาทีตอมน้ าเหลืองของรักแร ้ ่ ่ ่  มีลกษณะของเต ้านมทีบวมขึน คล ้ายเปลือกผิวส ้ม หรือมีก ้อนเล็กๆขึนทีผวหนัง บริเวณรอบๆก ้อนทีเคยคลาได ้มาก่อน ั ่ ้ ้ ่ ิ ่ 1. การซักประวัติ ควรถามถึงอาการทีมาพบแพทย์อย่างละเอียด การเปลียนแปลงของเต ้านมตังแต่เริมจนถึงปั จจุบนรวมไปถึงอาการร่วม ่ ่ ้ ่ ั ่ ต่างๆ ทีเกิดกับก ้อนมะเร็ง และปั จจัยเสียงต่างๆ ่ 2. การตรวจร่ างกาย ควรตรวจทีเต ้านมทังสองข ้าง รวมถึงรักแร ้ เพือหาต่อมน้ าเหลืองทีโตผิดปกติ นอกจากนี้แล ้วการตรวจบริเวณคอ เพือ ่ ้ ่ ่ ่ หาว่ามีตอมน้ าเหลือง supraclavicular node โตหรือไม่ โดยเฉพาะกรณีทเป็ นมากๆ แล ้ว ควรตรวจบริเวณทีผู ้ป่ วยมีอาการ ปวดกระดูก ่ ี่ ่ หายใจขัด หรือลาบาก เพราะอาจมีการแพร่กระจายมาที่ กระดูก หรือ ปอดและ เยือหุ ้มปอดได ้ ่ 3. การวินิจฉัยทางพยาธิวทยา จัดว่ามีความจาเป็ นอย่างยิงทีจะต ้องได ้รับผลวินจฉัยทีชดเจน เพือพิสจน์ให ้ได ้ว่าเป็ นมะเร็งจริง ซึงสามารถทา ิ ่ ่ ิ ่ ั ่ ู ่ ได ้โดย
  • 2. fine needle aspiration  core needle biopsy  incisional biopsy  excisional biopsy 4. การตรวจพิเศษเพิมเติม เพือเป็ นการประเมินระยะของโรคมะเร็ง ให ้มีการรักษามะเร็งได ้ถูกต ้อง การตรวจพิเศษเพือพบความผิดปกติใน ่ ่ ่ อวัยวะต่างๆ ทีเป็ นแหล่งกระจายของโรค มะเร็งทีสาคัญมีดงนี้ ่ ่ ั  CXR และ LFT ถือเป็ นส่วนหนึงของการทา routine investigation ่  U/S* หรือ CT. abdomen กรณีทมอาการตับโต หรือมีความผิดปกติของ LFT ี่ ี  Bone survey* กรณีทมอาการปวดทีกระดูกหรือสงสัยว่าจะมี bone metastasis ี่ ี ่  Bone scan* กรณีทพบความผิดปกติใน film bone survey ี่  CT brain กรณีทมอาการผิดปกติของระบบประสาท หรือสงสัยว่ามีการแพร่กระจายมาทีสมอง ี่ ี ่ ่ ี ่ ี่ ี ึ้ ่ Mammogram จะพิจารณาทาในผู ้ป่ วยทีมความเสียงสูงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต ้านม และในสตรีทมอายุมากกว่า 40 ปี ขนไป ซึงถือเป็ น ส่วนหนึงของโปรแกรมการตรวจหามะเร็งเต ้านมในระยะแรก นอกจากนียังใช ่ ้ ้เป็ นเป็ นตัวเปรียบเทียบ เมือเกิดความผิดปกติในภายหลัง ่ *หมายเหตุ : โดยมีข ้อสังเกตว่าผู ้ป่ วยทีมลักษณะของโรคทีเป็ นมากแล ้วหรืออยูใน Advanced stage และผู ้ป่ วยทีมการเป็ นกลับซ้า ( ่ ี ่ ่ ่ ี Recurrence) มักมีการกกระจายของโรคไปตามอวัยวะทีสาคัญๆ เช่น กระดูก ปอด และตับ ดังนั นการส่งตรวจ U/S abdomen และ Bone ่ ้ scan จึงมีความสาคัญ ทีจะละเลยไม่ได ้ ่ ยึดตามการแบ่งโดยใช ้ ขนาดของก ้อนมะเร็ง (Primary Tumor) ต่อมน้ าเหลือง (Regional lymph node) และการแพร่กระจายของโรค (Metastasis) ตาม AJCC (American join committee of cancer) ปี 1992 ดังนี้ Primary tumor (T): ขนาดของก้อนมะเร็ งที่ยาวที่สุดที่วดได้ ั  Tx - Primary cancer cannot be assessed  To - No evidence of primary tumor  Tis - Carcinoma in situ  T1 - Tumor  2 cm. In greatest diameter
  • 3. T2 - Tumor size: 2 < size < 5 cm.  T3 - Tumor  5 cm. in greatest diameter  T4 - Any size: with direct extension into chest wall (not include pectoral is m.) or involved skin (edema or ulceration or satellite nodules) or inflammatory carcinoma Regional Lymph node (N): จานวน และลักษณะของต่อมน้ าเหลืองที่รักแร้ หรื อที่ใกล้เคียงที่คลาได้  Nx : Regional lymph nodes cannot be assessed  N0: No regional lymph node involvement  N1: Metastasis to movable ipsilateral axially lymph node(s)  N2: Metastasis fixed ipsilateral axially lymph node(s) (fixed to one another or to other structures)  N3: Metastasis to ipsilateral internal mammary lymph node Distant metastasis (M): การกระจายของมะเร็ งมาที่อวัยวะต่างๆ นอกเหนือจากต่อมน้ าเหลืองรักแร้หรื อใกล้เคียง  Mx : Distant metastasis cannot be assessed  M0 : No distant metastasis  M1 : Distant metastasis present (include ipsitateral supraclavicular lymph nodes) โดยจะนา T N และ M มาเป็ นตัวแปรในการแบ่งระยะของโรค ดังนี้ S N N N N tage 0 1 2 3 T O - - - is T - I I I 0 IA IIA IIB T I I I I 1 IA IIA IIB T I I I I 2 IA IB IIA IIB T I I I I 3 IB IIA IIA IIB T I I I I 4 IIB IIB IIB IIB * Any T or any N with M1 => stage IV การแบ่งระยะของมะเร็งเต้านม จากตารางจะเห็นว่าประกอบไปด ้วย ระยะ 0 ถึง 4 (ดูตารางประกอบ) 1. มะเร็ งเต้านมระยะ 0 คือ หมายถึง มะเร็งในระยะเริมแรก ( ductal และ lobular carcinoma in situ ) โดยทียังไม่มการ ่ ่ ี ้ ลุกลามผ่านชัน Basement membrane ของ Duct หรือ Lobule 2. มะเร็ งเต้านมระยะ I คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีขนาดไม่เกิน 2 ซม. ่ ่ 3. มะเร็ งเต้านมระยะ II คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีมขนาดโตมากขึน และเริมมีการแพร่กระจายมาทีตอม ่ ่ ี ้ ่ ่ ่ น้ าเหลืองทีรักแร ้ แต่ยังสามารถรักษามะเร็งเต ้านมให ้หายขาดได ้ เช่นเดียวกับ ระยะ 0 และ I ่ 4. มะเร็ งเต้านมระยะ III คือ หมายถึง มะเร็งในระยะลุกลาม ซึงมีการแบ่งย่อยเป็ น IIIA และ IIIB อีกที เพราะมีความแตกต่าง ่ เรือง การพยากรณ์โรค โดย IIIA จะเป็ นระยะทียังพอให ้การรักษามะเร็งเต ้านมโดยการผ่าตัด เป็ นวิธ ี แรกได ้ แล ้วตามด ้วยการให ้ ่ ่ เคมีบาบัด ส่วน IIIB จะเป็ นระยะทีลกลามเกินกว่าทีจะรักษามะเร็งเต ้านมเริมแรกด ้วยการผ่าตัดได ้ เพราะจะมีปัญหาเรืองการขจัด ่ ุ ่ ่ ่ มะเร็งเต ้านมออกไม่หมด และ มีปัญหาในการ ปิ ดแผล ทาให ้มีความเสียงต่อการเกิดการเป็ นกลับซ้าได ้ ่ 5. มะเร็ งเต้านมระยะ IV คือ หมายถึง มะเร็งเต ้านมในระยะแพร่กระจาย โดยอวัยวะทีมการแพร่กระจายมากทีสด คือ กระดูก ่ ี ่ ุ รองลงมาคือ เยือหุ ้มปอด ปอด ตับ และ สมอง ตามลาดับ ่
  • 4. มักใช ้เป็ นวิธการรักษาเริมแรกในระยะทียงไม่มการลุกลามไปมาก เพราะให ้ผลในการขจัดมะเร็งได ้อย่างดี (ได ้ผลทัง Local ี ่ ่ ั ี ้ และ ่ ี regional control) ซึงวิธในการผ่าตัดทีนยมในปั จจุบน ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมส่วนใหญ่จะได ้รับการผ่าตัดเพือนาเนืองอกออกจากหน ้าอก ่ ิ ั ่ ้ ร่วมกับต่อมน้ าเหลืองบางส่วน เพือดูวายังมีเซลล์มะเร็งเหลืออยูหรือไม่การผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม มีอยู่ 4 วิธ ี ได ้แก่ ่ ่ ่ ้ ่ 1.1 การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม โดยนาเอาเนืองอกออก ซึงประกอบไปด ้วยวิธตาง ๆ ดังนี้ ี ่  การตัดเฉพาะตัวเนืองอกออก Wide excision : เป็ นการผ่าตัดนาเอาเนื้องอกและเนือเยือทีปกติรอบ ๆ เนืองอกออก ้ ้ ่ ่ ้  มักใช ้เป็ นการรักษาในมะเร็งเต ้านมทีอยูในระยะ 0 ( Tis ) โดยจะมีการผ่าตัดอาเฉพาะเนื้อเยือรอบก ้อนมะเร็งออก ร่วมกับการเปิ ด ่ ่ ่ ่ ่ ่ ่ แผลผ่าตัดเล็กๆบริเวณรักแร ้ เพือเอาต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ ในระดับ I และ II ออก ในลักษณะทีเป็ นการสุมตรวจ( ในกรณีท ี่ มี การแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองแล ้ว ก็จะมีการให ้ยาเคมีบาบัดต่อไป) ่ ่  ส่วนการใช ้ การรักษาโดยการทา wide excision เดียวๆ นัน ไม่แนะนา การตัดเอาเต ้านมบางส่วนออก Simple mastectomy : ่ ้ เป็ นการตัดเอาเนือเยือเต ้านมออกทังหมด ้ ่ ้ โดยไม่ได ้ตัดต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ออกด ้วย ่ เหมาะสาหรับการรักษาโรค Cystosarcoma phyllodes tumor ทีมขนาดใหญ่ Paget's disease of nipple และ Early breast cancer ทีผู ้ป่ วยไม่ต ้องการ ่ ี ่ สงวนเต ้านมไว ้ เป็ นการผ่าตัดนาเอาเต ้านมทีมเนืองอกออกบางส่วนร่วมกับเนือเยือทีผดปกติรอบ ๆ นอกจากนียังมีการนาเอา ่ ี ้ ้ ่ ่ ิ ้ ต่อมน้ าเหลืองทีบริเวณใต ้รักแร ้ออกมาตรวจพร ้อมกับการผ่าตัด รักษามะเร็งเต ้านมอีกด ้วย ่ 1.2 การผ่าตัดเอาเต ้านมออกทังข ้าง เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็ งเต ้านมต ้องนาเอาเต ้านมข ้างทีมเนืองอกออกทังหมดร่วมกับต่อมน้ าเหลือง ้ ่ ี ้ ้ ใต ้รักแร ้เพือการตรวจวินจฉัย Modified radical mastectomy : เป็ นวิธการทีรักษาโดยการตัดเอาเนือเยือเต ้านมและต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ ่ ิ ี ่ ้ ่ ่ ออกพร ้อมกัน ถือเป็ นการรักษาทีเป็ นมาตรฐานสาหรับโรคมะเร็ งเต ้านมในระยะที่ I II และIIIA ่ 1.3 การผ่าตัดเอาเต ้านมออกทังข ้างแบบปรับปรุง (Modified radical mastectomy) เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมทีนาเอาเต ้านมข ้าง ้ ่ ทีมเนืองอกออกทังหมดร่วมกับต่อมน้ าเหลืองใต ้รักแร ้ ต่อมน้ าเหลืองใต ้ผนังหน ้าอกและกล ้ามเนือผนังหน ้าอก ่ ี ้ ้ ้ 1.4 การผ่าตัดเต ้านมแบบกว ้าง (Radical mastectomy) เป็ นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมทีนาเอาเต ้านมข ้างทีมเนืองอกกล ้ามเนือใต ้ ่ ่ ี ้ ้ หน ้าอก และต่อมน้ าเหลืองทังหมดทีรักแร ้ออก ้ ่
  • 5. สามารถใช ้เป็ นการรักษาร่วมกับการผ่าตัดและการให ้ยาเคมีบาบัด โดยมักให ้หลังจากทีได ้รับการผ่าตัดแล ้ว แต่ในบางกรณีทไม่สามารถ ่ ี่ ผ่าตัดได ้ เช่น ระยะ IIIBทีไม่ตอบสนองต่อเคมีบาบัด หรือ มีการเป็ นกลับซ้าทีแผลผ่าตัดทีไม่สามารถผ่าตัดเอาเนือมะเร็งออกได ้หมด ่ ่ ่ ้ อาจพิจารณาให ้รังสีรักษาก่อนนอกจากนีแล ้วการฉายแสงยังใช ้เพือ ลดอาการเจ็บปวดทีเกิดเนืองจากมะเร็งทีแพร่กระจายมากระดูก หรือ ้ ่ ่ ่ ่ ต่อมน้ าเหลืองได ้ เป็ นการใช ้รังสีพลังงานสูงเพือกาจัดเซลล์มะเร็งหรือป้ องกันเซลล์มะเร็งเติบโตแบ่งได ้เป็ น 2 ชนิด ่ 1. การฉายแสงภายนอก เป็ นการใช ้เครืองฉายรังสีสงรังสีไปยังบริเวณก ้อนเนืองอก ผนังหน ้าอก หรือต่อมน้ าเหลือง มักใช ้ภายหลัง ่ ่ ้ ได ้รับการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านม และได ้ยาเคมีบาบัดแล ้ว ในผู ้ป่ วยทีมก ้อนมะเร็งเต ้านมขนาดใหญ่กว่า 5 ซม. มีการลุกลามที่ ่ ี ต่อมน้ าเหลือง หรือผ่าตัดก ้อนมะเร็งเต ้านมได ้ขอบเขตไม่เพียงพอ และกรณีผู ้ป่ วยทีได ้รับการผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม ่ 2. การฉายแสงภายในหรือการฝั งแร่ เป็ นการใช ้สารกัมมันตรังสีตดกับอุปกรณ์บางชนิด เช่น เข็ม, ลวด จากนันนาไปวางไว ้ในบริเวณ ิ ้ ทีเป็ นเนืองอกหรือบริเวณข ้างเคียง ่ ้ ้ ี่ ้ ข้อบ่งชีทใชร ังสีร ักษามะเร็ งเต้านมโดยเฉพาะหล ังผ่าต ัด ได้แก่  ก ้อนมะเร็งทีมขนาดโตมากกว่า 5 ซม. หรือมีลกษณะของการลุกลามมาทีผวหนัง (Locally advanced of skin involvement : T4 ่ ี ั ่ ิ lesion )  ่ ่ ก ้อนมะเร็งเป็ นทีสวนกลาง หรือด ้านในของเต ้านม  มีจานวนต่อมน้ าเหลืองทีรักแร ้ทีมมะเร็งกระจาย มากกว่าหรือเท่ากับ 4 ต่อม ขึนไป ่ ่ ี ้  ้ ผลชินเนื้อทีมพยาธิสภาพเป็ น Angio-lymphatic invasion หรือmetastasis to axillary fat tissue ่ ี  ้ ผลชินเนื้อทีมพยาธิสภาพเป็ น Positive margin หรือ not free margin หมายถึง ตัดเอามะเร็งออกไม่หมด ่ ี เป็ นการใช ้ยาเพือหยุดการเจริญเติบโตของเนืองอกโดยการกาจัดหรือหยุดเนืองอกจากการแบ่งตัววิธการให ้ยารักษามะเร็งเต ้านมมีทงชนิด ่ ้ ้ ี ั้ รับประทานและชนิดฉีดเข ้าเส ้นเลือดหรือฉีดเข ้าบริเวณกล ้ามเนือ วิธการให ้ยารักษามะเร็งเต ้านมขึนอยูกับระยะของโรค ้ ี ้ ่ การให้ยาเคมีบาบ ัดร ักษามะเร็ งเต้านม : มักใช ้เป็ นการรักษาร่วม ( Adjuvant therapy) กับการผ่าตัด ในผู ้ป่ วยทีมการแพร่กระจายของ ่ ี มะเร็งมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ โดยจะให ้ 6 เดือน ในระยะที่ I, II แต่ในระยะที่ III จะให ้จะครบ 12 เดือน แต่ในระยะที่ IV หรือ ่ ่ recurrence จะให ้ใช ้ในช่วง 3 - 6 เดือน หากไม่มการตอบสนองอาจเปลียนเป็ นยาขนานทีแรงกว่าเดิม (CMF  CAF) ี ่ ่ หลักการให ้สารเคมีบาบัดก็เพือกาจัดเซลล์มะเร็งทีอยูในระยะแพร่กระจายออกเต ้า นมและต่อมน้ าเหลืองใกล ้เคียงเนืองจากการผ่าตัดไม่ ่ ่ ่ ่ สามารถกาจัดออกไปได ้หมด โดยหวังผลในแง่ของการลดการเป็ นกลับซ้า (Recurrence) และเพิมการอยูรอด (survival) โดยเฉพาะใน ่ ่ กลุมสตรีทอยูในวัยทีมประจาเดือน และ Estrogen receptor (ER)negative ่ ี่ ่ ่ ี
  • 6. ในมะเร็งระยะลุกลาม (III B) มักจะให ้เคมีบาบัดก่อนการรักษาโดยการผ่าตัด เรียกว่า Neoadjuvant chemotherapy หรือ Induction chemotherapy โดยหวังผลในการลดขนาดของมะเร็ง และการ down stage (ลดจากระยะทีรุนแรงมากให ้มาอยูในระยะทีรุนแรงน ้อย) ่ ่ ่ ่ ่ ่ เพือทีจะให ้การรักษาโดยการผ่าตัดตามหลังได ้ ซึงปกติมักจะเริมให ้เป็ น CMF 3 เดือน ก่อนหากมีการตอบสนองดี ก็จะสามารถผ่าตัดได ้ ่ หาก ตอบสนองไม่เต็มที่ ควรให ้ต่อเป็ น 6 เดือน แล ้วประเมินผลอีกครัง หรือเปลียนเป็ น CAF อีก 3 เดือน หากยังไม่ตอบสนอง อาจ ้ ่ พิจารณา เปลียนเป็ น CAF 3-6 เดือน หรือ การให ้รังสีรักษาร่วมด ้วย หรือไม่ก็ทดลอง Regimen อืน (ยาขนานใหม่ๆ) ่ ่ ในโรคมะเร็งทีมการลุกลามมากๆ หรือมีการดาเนินโรคทีรวดเร็วอาจจาเป็ นต ้องพิจารณายาเคมีบาบัดทีม ี Adriamycin (C A F regimen) ่ ี ่ ่ ตังแต่เริมแรก เพราะในรอยโรคชนิดทีเป็ นและลุกลามรวดเร็วนี้ อาจไม่ตอบสนอง หรือ ตอบสนองช ้าต่อ C M F regimen ซึงข ้อควรระวัง ้ ่ ่ ่ ในการให ้ Adriamycin คือ ยาจะมี toxic accumulation dose เท่ากับ 550 มก.นั่นคือ จะทาให ้ผู ้ป่ วยไม่สามารถรับยา Adriamycin ได ้ เกิน 6 รอบ(รอบละ 2 ครัง) หากผู ้ป่ วยได ้รับยาเกินขนาดจะมีผลข ้างเคียง เกิดพิษต่อหัวใจทีรุนแรงได ้ ้ ่ ่ ้ ็ การให้ยาเคมีบาบ ัดร ักษามะเร็ งเต้านมทีใชเปนมาตรฐาน คือ CMF และ CAF Regimen 1. CMF Regimen: ประกอบด ้วย  ่ -C: Cyclophosphamide หรือ Endoxan (ชือการค ้า) โดยการทาน ขนาด 100 มก./ตร.ม.( mg/m2 ) 14 วัน  -M: Methotrexate โดยให ้ทางหลอดเลือดดาช ้าๆ ขนาด 30*-40 มก./ตร.ม.( mg/m2 ) วันที1 และ8 ของการให ้ยา ่  -F: 5-Fluorouracil (5-FU) โดยผสมให ้ทางน้ าเกลือ 5% DW 500 ml. ให ้ทางหลอดเลือดดาในเวลา 6 ชม.ขนาด 400*-600 มก./ตร.ม.( mg/m2 ) วันที1และ8 ของการให ้ยา ่ 2. CAF Regimen: ประกอบด ้วย  -C และ F เหมือนกัน  -A: Adriamycin (ชือการค ้า)หรือ Doxorubicin โดยให ้ทางหลอดเลือดดาช ้าๆ ขนาด 30 มก./ตร.ม.( mg/m2) วันที1 และ8 ่ ่ ของการให ้ยา *หมายเหตุ:กรณีทผู ้ป่ วยมีอายุมากกว่า 65 ปี จะลดขนาดยา Methotrexate เป็ น30 มก./ตร.ม.( mg/m2 )และ 5-Fluorouracil เป็ น400 ี่ มก./ตร.ม.( mg/m2 ) โดยขนาดของยาทีจะเริมใช ้ในผู ้ป่ วยปกติ จะเริมที่ Maximal dose (Methotrexate =40 mg/m2 และ 5-FU=600 mg/m2 ) เพือหวัง ่ ่ ่ ่ ผลให ้ได ้ Maximum tumor killing effect ยกเว ้นว่าจะเกิดผลข ้างเคียงจากการใช ้ยาตามมา ได ้แก่ Anemia Leucopenia หรือ ่ Thrombocytopenia ซึงจาเป็ นทีจะต ้องลดขนาดยาในครังต่อไป (เป็ น 90% 80%…ต่อไป) ่ ้ ส่วนยา Adriamycin เป็ นยาทีมอนตรายต่อหัวใจมาก ไม่สามารถให ้ได ้เกิน ขนาด 30 mg/m2 และมีระดับยาทีสะสมจนเกิดพิษได ้( toxic ่ ี ั ่ accumulation dose) หากให ้เกินขนาดสะสม 550 mg. ดังนันปริมาณของยาทีจะสามารถใช ้ได ้จึงไม่ควรเกิน 6 รอบ ของการให ้ยา ้ ่ ( course ) เป็ นการรักษามะเร็งเต ้านมโดยการนาเอาฮอร์โมนหรือหยุดการทางานของฮอร์โมนเป็ นผลทาให ้เซลล์มะเร็งหยุดการเจริญเติบโต ถ ้าตรวจ พบว่าเซลล์มะเร็งมีตวรับการตอบสนองต่อฮอร์โมน (receptors) อาจเลือกวิธการรักษามะเร็งเต ้านมเพือลดการทางานของฮอร์โมนได ้ ั ี ่ หลายวิธดงนี้ การใช ้ยาการผ่าตัดและการฉายรังสี เช่น มะเร็งเต ้านมซึงตอบสนองต่อฮอร์โมนเอสโตรเจนและเอสโตรเจนสร ้างมาจากรัง ี ั ่ ไข่ อาจใช ้วิธการผ่าตัดรังไข่ออกเพือหยุดการสร ้างฮอร์โมนเอสโตรเจน หรือการรักษาด ้วยยา Tamoxifen ซึงใช ้ในการรักษามะเร็งเต ้านม ี ่ ่ ในระยะเริมต ้น และระยะลุกลาม ่ แต่มข ้อพึงระวังเนืองจากการทานยา Tamoxifen สามารถออกฤทธิได ้กับเซลล์ทวร่างกายทาให ้อาจเพิมโอกาสในการเป็ นมะเร็งเยือบุ ี ่ ์ ั่ ่ ่ ่ โพรงมดลูกได ้หรือการรักษาด ้วยยา Aromatase Inhibitor ซึงให ้ในผู ้หญิงวัยหมดระดูทเป็ นมะเร็งชนิดทีตอบสนองต่อการรักษาด ้วย ี่ ่ ฮอร์โมน โดยยาชนิดนีจะไปยับยังการเปลียนฮอร์โมนแอนโดนเจนไปเป็ นเอสโตรเจน ซึงยาชนิดนีสามารถใช ้ในระยะต ้นของโรคมะเร็งเต ้า ้ ้ ่ ่ ้ นมโดยเป็ นการรักษาเสริมแทนยา Tamoxifen หรือหลังจากสองปี หรือมากกว่าของการใช ้ยา Tamoxifen การรักษาโดยการใช ้ยาฮอร์โมน : ่ ่ ทียังถือเป็ นมาตรฐานในปั จจุบันก็ม ี Tamoxifen ซึงเป็ นยาต ้านการออกฤทธิของ Estrogen โดยมักจะให ้ในรายทีหมดประจาเดือนแล ้ว ์ ่ และมีระดับการตรวจวัด Estrogen receptor ทีเป็ นบวก เพราะจะตอบสนองต่อการให ้ยา Tamoxifen มากกว่า ่
  • 7. ขนาดของยา Tamoxifen ควรให ้ควรเป็ น 20 มก./ วัน โดยการทานเป็ นเวลาต่อเนืองกันอย่างน ้อย 2 ปี แต่ก็มบางตาราทีแนะนาให ้ทาน ่ ี ่ ่ ไปจนถึง 5 ปี ซึงจะเห็นผลทีดกว่า อย่างไรก็ตามผลข ้างเคียงของยาตัวนี้ทยังไม่ปลอดภัยก็คอ การกระตุ ้นให ้เกิดการเป็ นมะเร็งของมดลูก ่ ี ี่ ื และ การเกิดลิมเลือดอุดตัน ดังนันควรมีการตรวจ เฝ้ าระวัง ภาวะมะเร็งในมดลูกก่อน และ ระหว่างการใช ้ยาตัวนี้ ่ ้  Sentinel Lymph node biopsy followed by surgery เป็ นการนาต่อมน้ าเหลืองต่อมแรกทีมการแพร่กระจายจากเนืองอกออก ่ ี ้ โดยใช ้สารกัมมันตรังสีฉีดเข ้าใกล ้กับเนืองอก ซึงต่อมน้ าเหลืองต่อมแรกทีได ้รับสารกัมมันตรังสีจะถูกตัดออก พยาธิ-แพทย์ จะ ้ ่ ่ ทาการตรวจเพือหาเซลล์มะเร็ง ถ ้าไม่พบเซลล์มะเร็งก็ไม่มความจาเป็ นทีจะต ้องนาต่อมน้ าเหลืองอืน ๆ ออกหลังจากนัน ่ ี ่ ่ ้ ศัลยแพทย์จะผ่าตัดเนื้องอกออกตามวิธข ้างต ้นี  High dose chemotherapy with stem cell transplant เป็ นการให ้ยาเคมีบาบัดขนาดสูงร่วมกับการให ้เซลล์ต ้นกาเนิดเม็ด ่ ู ่ เลือดทดแทนเซลล์เดิมทีถกทาลายจากการรักษามะเร็งซึงมีวธการ ดังนี้ ิ ี 1. นาเซลล์ต ้นกาเนิดเม็ดเลือดออกจากไขกระดูกของผู ้ป่ วยหรือผู ้บริจาคแล ้วแช่แข็งเก็บไว ้ ้ 2. หลังจากให ้ยาเคมีบาบัดเสร็จสินนาเอาเซลล์ต ้นกาเนิดกลับไปให ้ผู ้ป่ วยอีกครัง ้ การศึกษานีพบว่าผลการรักษาไม่แตกต่างจากการรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดเพียงอย่างเดียว ้  Monoclonal Antibodies as adjuvant therapy เป็ นการรักษาโดยการใช ้ Antibodies โดย Antibodies เหล่านี้ จะไปจับกับ สารทีทาให ้ตัวเนืองอกเจริญเติบโต ผลโดยรวมจะทาให ้เซลล์มะเร็งตาย หยุดการเจริญเติบโตหรือหยุดการแพร่กระจาย การ ่ ้ ่ รักษาด ้วยวิธนี้สามารถให ้ร่วมกับการรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดได ้ด ้วย ตัวอย่างเช่น ยา Trastuzumab (Herceptin) ซึงมีผลในการ ี ่ ยับยังการทางานของโปรตีน HER-2 ซึงโปรตีน HER-2 เป็ นตัวเร่งการเจริญเติบโตของมะเร็งเต ้านม ้  Tyrosine kinase inhibitors as adjuvant therapy เป็ นการยับยังการเจริญเติบโตของเนื้องอกอย่างเฉพาะเจาะจง (Targeted ้ therapy) สามารถใช ้ร่วมกับยากต ้านมะเร็งตัวอืนเป็ นการรักษาเสริมได ้ ตัวอย่างเช่น Lapatinib ซึงยับยังการทางานของ HER-2 ่ ่ ้ สามารถใช ้รักษาผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมทีมผล HER-2 receptor เป็ นบวกในรายทีได ้รับการรักษาด ้วย Trastuzumab แล ้วไม่ได ้ผล ่ ี ่ 1. Ductal Carcinoma in situ - การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านมและการฉายแสง อาจมีการใช ้ยา Tamoxifen ร่วมด ้วยหรือไม่ขนกับผลการตรวจ receptor ึ้ - การผ่าตัดเต ้านมออกทังหมด อาจมีการใช ้ ้ยา Tamoxifen ร่วมด ้วยหรือไม่ขนกับผลการตรวจ receptor ึ้ - การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านม โดยไม่มการฉายแสงร่วมด ้วยในผู ้ป่ วยบางกรณี ี การร ักษามะเร็ งเต้านมระยะแรก (Early breast cancer) หมายถึง ระยะ 0 I IIA และ IIB มะเร็ งเต้านมระยะ 0 หมายถึง Carcinoma in situ (Tis N0 M0) ประกอบไปด ้วย Ductal carcinoma in situ (DCIS.) และ Lobular carcinoma in situ (LCIS.) 1. LCIS. : เป็ นมะเร็งในระยะก่อนลุกลาม ทีเกิดในส่วนของ Mammary lobule มักพบรอยโรคแบบนีในสตรีวัยมีประจาเดือนโดยบังเอิญ ่ ้ จากการทา biopsy อาจพบร่วมกับ invasive cancer ได ้ประมาณ 5 % และโดยทีรอยโรคนี้อาจมีการเปลียนแปลงเป็ น invasive ่ ่ ่ carcinoma ได ้(10-37 %) ซึง 50-65 % ของ invasive cancer ทีพบ จะเป็ น invasive ductal carcinoma แต่ไม่สามารถพยากรณ์ ่ ่ ่ ้ ่ ได ้ชัดเจนว่าจะเกิดทีข ้างใด(ข ้างทีเป็ น หรือทังสองข ้างก็ได ้) หรือระยะเวลาเท่าไร(บางตารา ให ้ไว ้มากกว่า 15 ปี ) ซึงจัดว่ามีความ ่ เสียงมากกว่าประชากรปกติ ประมาณ 8-10 เท่า ดังนันการรักษาจึงมีได ้ 2 แนวทาง ดังนี้ ้  รอดูอาการอย่างใกล ้ชิด: โดยการติดตามอาการและทา Mammogram เป็ นระยะๆ  ่ Prophylactic bilateral mastectomy: ในผู ้ป่ วยทีไม่ต ้องการเสียงกับการเกิดโรคมะเร็งเต ้านมในอนาคต ่ 2. DCIS. : เป็ นมะเร็งในระยะก่อนลุกลาม ทีเกิดในส่วนของ mammary duct รอยโรคชนิดนี้ มักจะคลาไม่พบ แต่จะพบได ้ จากการทา ่ ่ ้ Mammogram ซึงจะพบเป็ นลักษณะผิดปกติตางๆ โดยเฉพาะ micro-calcification และสามารถชีตาแหน่งเอาชินเนือมาตรวจได ้ ่ ้ ้ ่ ่ รอยโรคทีเป็ น DCIS นี้ มักมีการลุกลามออกมาเป็ น invasive cancer ได ้(มีความเสียง 30-50 % ในช่วง 10ปี ) ดังนันหากเราสามารถ ้
  • 8. วินจฉั ยในระยะทียังไม่แพร่กระจาย โดยตัดเอารอยโรคทังหมดออกไป (free margin) จะทาให ้สามารถรักษาได ้โดยวิธ ี breast ิ ่ ้ conservative therapy ดังนันการรักษาจึงมีได ้ดังนี้ ้  Excision : เป็ นการตัดเอาเฉพาะรอยโรคทีม ี DCIS ออกอย่างเดียว  Breast conservative treatment : เป็ นการตัดเอารอยโรคทีม ี DCIS ออกไป ร่วมกับการฉายแสงรักษาเฉพาะบริเวณรอยโรค ่  ่ Mastectomy : เป็ นการตัดเอาเต ้านมออกทังข ้าง จะทาเฉพาะในรายทีมความเสียงต่อการเป็ นมะเร็งสูง ้ ่ ี ระยะ I II หมายถึง Early breast cancer (T1 N0, T0 N1, T1 N1, T2 N0, T2 N1, T2 N1) ประกอบด ้วยรอยโรคทีมก ้อน แต่จะไม่ ่ ี มีการลุกลามมาทีผวหนัง ( T4B)หรือ ผนังทรวงอก (T4A) และมีการแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ทีจับเคลือนได ้ ( N1) เท่านัน ่ ิ ่ ่ ่ ่ ้ การรักษามีดงนี้ ั  Breast conservative treatment : นอกจากจะต ้องตัดเอาก ้อนมะเร็งออกโดยให ้ได ้ free margin และการฉายแสงเหมือนกับ ่ In situ lesion แล ้ว ยังต ้องเลาะเอาต่อมน้ าเหลืองรักแร ้ ระดับที่ 1และ2 ( Level I,II ) ออกในลักษณะสุมตรวจ ( sampling node dissection) เพือประเมินการแพร่กระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ เพราะหากมีแล ้ว จาเป็ นต ้องให ้ยาเคมีบาบัดร่วมด ้วยเป็ น ่ ่ ่ ระยะเวลา 6 เดือน  Modified radical mastectomy : ถือเป็ นมาตรฐานในการรักษามะเร็งเต ้านมในระยะเริมแรกทีได ้ผลในการขจัดมะเร็งดีทสด ่ ่ ี่ ุ เพราะมีการเสียงต่อการเป็ นกลับซ้าน ้อยกว่าวิธแรก และหากผลชินเนือมีแพร่การกระจายมาทีตอมน้ าเหลืองรักแร ้ (Node ่ ี ้ ้ ่ ่ positive) จาเป็ นต ้องให ้ยาเคมีบาบัดร่วมด ้วยเป็ นระยะเวลา 6 เดือน ( course) หรือในกรณีทผู ้ป่ วยหมดประจาเดือนแล ้ว ควร ี่ พิจารณาให ้ยา Tamoxifen (อย่างน ้อย 5 ปี )หากผล ER + ้ ในกรณีทผู ้ป่ วยยังมีประจาเดือนและผลชินเนื้อไม่มแพร่การกระจายมาทีตอมน้ าเหลือง รักแร ้ ( Node negative) แต่มขนาดของก ้อนมะเร็ง ี่ ี ่ ่ ี ทีขนาดมากกว่า 1 ซม.ก็ควรจะให ้ Adjuvant therapy โดยพิจารณาตาม ผล ER ดังนี้ ่  กรณี ER – ( negative) : ให ้ chemotherapy 6 เดือน  กรณี ER + ( positive) : ให ้ tamoxifen +/- chemotherapy( การให ้ยาเคมีบาบัดในกรณีนอาจจาเป็ นในผู ้ป่ วยบางราย ทัง ี้ ้ แทนทีหรือเสริมกับ tamoxifen ) ่ 2. Lobular carcinoma in situ - ้ การเฝ้ าระวังโดยการตัดชินเนือร่วมกับการตรวจร่างกายและ Mammogram เป็ นประจาเพือความเปลียนแปลงทีอาจ ้ ่ ่ ่ เกิดขึนให ้เร็วทีสด ้ ่ ุ - ให ้การรักษาด ้วยยา Tamoxifen เพือลดอัตราการเกิดมะเร็งเต ้านม ่ - ผ่าตัดเต ้านมออกทัง 2 ข ้างเพือเป็ นการป้ องกัน ซึงเป็ นการรักษาทีใช ้ในผู ้ป่ วยทีมความเสียงสูง ้ ่ ่ ่ ่ ี ่ 3. ระยะ I, II, IIIA และ IIIC ทีผาต ัดได้ ่ ่ - การผ่าตัดแบบสงวนเต ้านมร่วมกับการเลาะต่อมน้ าเหลืองและการฉายแสง - การผ่าตัดเต ้านมแบบปรับปรุง - การรักษาเสริมเป็ นการรักษาทีให ้หลังผ่าตัดเพือเพิมอัตราการหายขาด เช่น ่ ่ ่ - การฉายแสงทีตอมน้ าเหลืองใกล ้กับเต ้านมและผนังหน ้าอกหลังจากการผ่าตัดเต ้านมแบบปรับปรุง ่ ่ - การให ้ยาเคมีบาบัดร่วมกับพิจารณาให ้การรักษาเพิมเติมด ้วยฮอร์โมน ่ - การรักษาด ้วยฮอร์โมน 4. ระยะ IIIB และ IIIC ทีผาต ัดไม่ได้ ่ ่ - การให ้ยาเคมีบาบัด - การให ้ยาเคมีบาบัดและตามด ้วยการผ่าตัด (การผ่าตัดอาจเป็ นได ้ทังแบบอนุรักษ์ หรือการผ่าตัดเต ้านมทังหมดก็ได ้) ้ ้ ร่วมกับการตัดต่อมน้ าเหลืองออกแล ้วตามด ้วยการฉายแสง อาจพิจารณาให ้ยาเคมีบาบัดหรือฮอร์โมนหรือทังสองอย่าง ้ เพิมอีก ่ ระยะลุกลาม (Locally advanced breast cancer) หมายถึง ระยะ IIIA และ IIIB  ระยะ III A หมายถึง Surgical favorable locally advanced breast cancer (T0 N2, T1 N2, T2 N2, T3 N1, T3 N2) เป็ น ระยะทีลกลามเฉพาะส่วนของเต ้านมเท่านัน โดยทียังสามารถรักษาด ้วยการผ่าตัดเอาเต ้านมและต่อมน้ าเหลืองรักแร ้ออกไปได ้ ่ ุ ้ ่ (MRM) ร่วมกับการให ้ยาเคมีบาบัดต่ออีก 12 เดือน (กรณีทยังมีประจาเดือนอยู่) หรือให ้ยา Tamoxifen (กรณีทหมดประจาเดือน ี่ ี่ แล ้ว และมี ER positive)
  • 9. ระยะ III B หมายถึง Surgical unfavorable, locally advanced breast cancer (T4 any N, any T N3) เป็ นระยะทีลกลามเกิน ่ ุ กว่าขอบเขตเนือเยือเต ้านม ได ้แก่ ผิวหนัง และทรวงอกหรือมีลักษณะของ Inflammatory breast cancer โดยทีการรักษาด ้วย ้ ่ ่ การผ่าตัด มักไม่สามารถเอาเนือมะเร็งออกได ้หมด และจะทาให ้เกิดการกลับซ้าของมะเร็ง ส่งผลให ้ผู ้ป่ วยต ้องทรมานจาก ้ บาดแผลและผลแทรกซ ้อนต่างๆได ้ดังนันการรักษาจึงมักเริมด ้วยการให ้ยาเคมีบาบัดก่อน ้ ่ (Neoadjuvant or induction chemotherapy) ในระยะ 3-6 เดือน  หากมีการตอบสนอง โดยก ้อนมะเร็งมีขนาดเล็กลง หรือหายไป ก็จะนาผู ้ป่ วยรักษาด ้วยวิธ ี MRM หรือ Extended simple mastectomy (Simple mastectomy + level I axillary node dissection)  หากไม่มการตอบสนอง หรือเป็ นมากขึน จาเป็ นต ้องเปลียน Regimen ยาเคมีบาบัด เช่น จาก CMF เป็ น CAF (หรือ ี ้ ่ ่ ่ chemotherapeutic trial อืนๆ) หรือ ให ้รังสีรักษาร่วมด ้วย ซึงมักให ้ผลการรักษาทีได ้ผลค่อนข ้างน ้อย ่ 5. ระยะ IV หรือระยะแพร่กระจาย - การให ้ยาฮอร์โมนและ/หรือการให ้ยาเคมีบาบัด อาจมีการพิจารณาให ้ยา Trastuzumab ร่วมด ้วย - การให ้ยา Tyrosine kinase inhibitors ร่วมกับยาเคมีบาบัดแบบรับประทาน (Capecitabine) - การฉายแสงและ/หรือการผ่าตัดเพือลดอาการปวดและอาการอืน ๆ ่ ่ - Bisphosphonate เพือลดอาการปวดจากการทีมะเร็งมีการแพร่กระจายไปทีกระดูก ่ ่ ่ ระยะแพร่กระจาย (Metastasis) หมายถึง ระยะ IV (any T, any N, M1) การรักษาส่วนใหญ่เพือลดผลแทรกซ ้อนและเพิมคุณภาพชีวตของผู ้ป่ วย ทังนีขนอยู่กบการปรึกษาหาแนวทางรักษาร่วมกันระหว่าง แพทย์ ่ ่ ิ ้ ้ ึ้ ั ผู ้ป่ วย และ ญาติ (Balanced discussion) การรักษาต่างๆ มีดงนี้ ั  ่ Tamoxifen : กรณีท ี่ ER positive โดยเฉพาะในผู ้ป่ วยทีมการดาเนินโรคอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และมีชวงระยะเวลาทีปลอดโรค ่ ี ่ อยูนาน (Long disease free survival) ่  การให ้ยาเคมีบาบัด : ถือว่าเป็ น Chemotherapeutic trial โดยให ้ CAF Regimen ในเวลา 3-6 เดือน แล ้วประเมินผู ้ป่ วยซ้าว่ามี การตอบสนองหรือไม่  การตัดรังไข่ หรือการตัดต่อมหมวกไต  การให ้รังสีรักษา บริเวณทีมอาการปวดกระดูก หรือมี Pathological fracture ่ ี  ้ การผ่าตัด Toilet mastectomy : โดยเอาเต ้านมทีมการติดเชือ เน่าเหม็น หรือเสียเลือดบ่อยๆ ออกไป ่ ี 6. มะเร็ งเต้านมอ ักเสบ (Inflammatory breast cancer) - การให ้ยาเคมีบาบัด - การให ้ยาเคมีบาบัดและตามด ้วยการผ่าตัด (การผ่าตัดอาจเป็ นได ้ทังแบบสงวนเต ้านมหรือการผ่าตัดเต ้านมทังหมดก็ ้ ้ ได ้) ร่วมกับการตัดต่อมน้ าเหลืองออกแล ้วตามด ้วยการฉายแสง อาจพิจารณาให ้ยาเคมีบาบัดหรือฮอร์โมนหรือทังสอง ้ อย่างเพิมอีก ่ 7. มะเร็ งเต้านมกาเริบ (Recurrent Breast cancer) - การผ่าตัด (แบบกว ้างหรือแบบปรับปรุง) หรือการฉายแสง หรือการรักษาทังสองวิธร่วมกัน ้ ี - การรักษาด ้วยยาเคมีบาบัดหรือการรักษาด ้วยฮอร์โมน ้ ระยะเปนกล ับซา (Recurrence) ็ เมือวินจฉัยได ้ว่ามีรอยโรคเกิดซ้า ไม่วาจะเป็ นทีแผลผ่าตัด ทีอก หรือทีรักแร ้ ให ้ระลึกเสมอไว ้ว่า อาจมีการแพร่กระจายมาสูอวัยวะสาคัญๆ ่ ิ ่ ่ ่ ่ ่ แล ้ว ( กระดูก ตับ เยือหุ ้มปอด หรือ ปอด) ดังนันการตรวจเพิมเติมเพือยืนยันว่าการเป็ นกลับซ้านัน ปราศจากระยะแพร่กระจายเพือการวาง ่ ้ ่ ่ ้ ่ ่ แผนการรักษาและพยากรณ์โรคทีต่างกัน ซึงการตรวจเพิมเติมทีควรทามีดงนี้ ่ ่ ่ ั  CXR ,LFT, Skeletal survey (กรณีทมอาการทางกระดูก) ี่ ี  U/S Abdomen  Bone scan กรณีทพบว่ามีการแพร่กระจายมาอวัยวะต่างๆ ก็ให ้การรักษาเช่นเดียวกับ ระยะแพร่กระจายดังทีได ้กล่าวมาแล ้ว การรักษาในระยะทีมการ ่ี ่ ่ ี เป็ นกลับซ้า มีดงนี้ ั ้ 1. กรณีทเปนกล ับซาหล ังการทา MRM: ่ี ็
  • 10. ่ 1.1 มีลกษณะของก ้อนทีแผลผ่าตัด ซึงเป็ นก ้อนเดียว และไม่มการยึดติดกับอวัยวะข ้างเคียง ให ้รักษาโดยการทา Wide excision ั ่ ี ้  หากผลชินเนือ Free margin และไม่เคยได ้รับรังสีรักษามาก่อน พิจารณาให ้รังสีรักษา ( Field radiation + boost radiation) ้ ้  หากผลชินเนือ Free margin แต่เคยได ้รับรังสีรักษามาก่อน พิจารณาให ้ Electron beam radiation (ส่งต่อศูนย์มะเร็ง) ้ ้  หากผลชินเนือ ไม่ Free margin: ทา Re-excision ตามด ้วยการให ้รังสีรักษาต่อ โดยพิจารณาดูวาเคยรับรังสีรักษามาแล ้ว ้ ่ หรือไม่ 1.2 มีลกษณะของก ้อนทีแผลผ่าตัด เป็ นหลายก ้อน และมีการยึดติดกับอวัยวะข ้างเคียง ให ้รักษาโดยการให ้รังสีรักษา ร่วมกับยาเคมีบาบัด ั ่  กรณีทเป็ นกลับซ้าในระยะเวลา ไม่เกิน 1 ปี หลังการรับยาเคมีบาบัดครังสุดท ้าย ให ้ใช ้ Regimen CAF (เนืองจากมีการเป็ นกลับ ี่ ้ ่ ซ้าในระยะเวลาสัน แสดงว่ามีความล ้มเหลวในการตอบสนองต่อยาทีได ้รับ และมีโอกาสทีจะลุกลามโดยเร็ว) ้ ่ ่  กรณีทเป็ นกลับซ้า และตามมาด ้วยการแพร่กระจายในขณะทีได ้รับยาเคมีบาบัดอยู่ ให ้เปลียนมาใช ้ Regimen CAF แทน ี่ ่ ่ (โดยเฉพาะพวกทีม ี Multiple chest wall nodule หรือมี positive lymph node อยูแล ้ว) ่ ่ ้ 2. กรณีทเปนกล ับซาหล ังการทา Breast conservative treatment: ให ้ทา MRM หรือ Simple mastectomy แล ้วพิจารณาให ้ ่ี ็ Adjuvant therapy ตามความเหมาะสม (positive lymph node หรือ estrogen receptor) ็ ้ 3. กรณีทการเปนกล ับซา ทีตอมนาเหลืองทีร ักแร้ (Regional lymph node) ่ี ่ ่ ้ ่  3.1 หากเป็ นหลังการผ่าตัดที่ inadequate lymph node dissection ให ้ทา more radical lymph node dissection  3.2 หากเป็ นหลังการผ่าตัด ร่วมกับการให ้รังสีรักษามาแล ้ว มักไม่ได ้ผลการรักษาทีด ี (poor result) ในผู ้ป่ วยกลุมนี้ อาจ ่ ่ พิจารณาทดลองยาใหม่ๆ (Chemotherapeutic trial) โดยความสมัครใจ ของผู ้ป่ วย การวัดอัตราการอยูรอดของผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านม ใน 5 ปี พบว่า ่  ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 1 มีอตราการอยูรอด ั ่ ใน5ปี โดยประมาณ 90 %  ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 2 มีอตราการอยูรอด ั ่ ใน5ปี โดยประมาณ 75 %  ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 3 มีอตราการอยูรอด ั ่ ใน5ปี โดยประมาณ 50 %  ผู ้ป่ วยมะเร็งเต ้านมระยะที่ 4 มีอตราการอยูรอด ั ่ ใน5ปี โดยประมาณ 15 % 1. กรณีทไม่ปรากฏอาการแทรกซ ้อน หรือ การเป็ นกลับซ้า ควรนัดตรวจอาการ* ทุก 1 เดือน จนครบ 1 ปี หลังการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้า ี่ นมแล ้ว และจากนันทุก 3 เดือน จนครบ 5 ปี หลังการผ่าตัดรักษามะเร็งเต ้านมจากนันทุก 12 เดือน ตลอดไป ้ ้ ่ * หมายเหตุ: พร ้อมกับการตรวจหาการแพร่กระจายของมะเร็งสูอวัยวะสาคัญ โดยการตรวจ CXR และ LFT ในระยะทุก 6 เดือน ของ 5 ปี แรก และทุก 12 เดือนของ 10 ปี ตอไป หรืออาจให ้ทาทุกปี ทีมาติดตามผลการรักษา ่ ่ 2. กรณีทมอาการของการมีการเป็ นกลับซ้า หรือแพร่กระจายให ้ตรวจวินจฉัยเพิม ตามความจาเป็ น ี่ ี ิ ่ 3. การตรวจ Mammography สามารถทาได ้ใน 1 ปี หลังการรักษา หากผลปกติด ี ให ้ติดตามซ้าทุก 3-5 ปี จนผู ้ป่ วยอายุ 60 ปี อาจให ้ทา ทุกปี ทมาติดตามผลการรักษา ี่ ศูนย์การรักษามะเร็ง ด้วยหลักการแพทย์ทางเลือก Wholly Medical Center
  • 11. 1. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NATURAL KILLER CELL AND TARGET CELL THERAPY (เซลล์เพชฌมาต) 2. โปรแกรมการรักษามะเร็ง TUMOR FIGHTER (เสริ มภูมิตานเซลล์มะเร็ ง) ้ 3. โปรแกรมการรักษามะเร็ง NEW REGENERIST TUMOR FIGHTER 4. โปรแกรมการรักษามะเร็ง MEGA C PLUS 5. การตรวจโรคมะเร็งด้วยการถอดรหัสพันธุกรรม GENE DIAGNOSTICS สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษามะเร็งโดยตรงที่ Wholly Medical Center ่ ่ ั้ ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21 ุ ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง ั่ ข้ อมูลอ้ างอิง นพ.ธิติ วีระปรี ยากูร,whollymedical.com,chulacancer.net