SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
บทที่ ๕
การฟังและการดูอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
๑. ความหมายของการฟัง
การฟัง หมายถึง กระบวนการรับรู ้สารโดยผ่านสื่ อทางเสี ยงการฟั ง
ต่างจากการได้ยินตรงที่ว่า การได้ยินเป็ นเพียงทางานของประสาทรับเสี ยง
แต่ผูได้ยินเสี ยงอาจไม่รับรู ้ สารนั้น และไม่อาจแสดงปฏิ กิริยาตอบสนอง
้
ต่อเสี ยงที่ได้ยนนั้น
ิ
การฟั ง เป็ นส่ ว นส าคัญ ที่ ท าให้ เ กิ ด การรอบรู ้ เ ฉลี ย วฉลาด เกิ ด
ความคิดริ เริ่ ม และเกิดความรื่ นเริ งใจนอกจากที่กล่าวมาแล้ว การฟั งยังช่วย
ให้ส ามารถพัฒนาการคิ ดและการพูดได้อย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพอี ก ด้วยแต่
ประโยชน์ดงกล่าวจะเกิดผลได้ผฟังจะต้องมีหลักการฟังที่ดี
ั
ู้
พวกเราสัญญาว่า
จะตั้งใจฟังกันคะ
๒. หลักการฟังที่ดี
ตามคติ ไ ทยแต่ โบราณถื อว่า การฟั ง เป็ นหัวใจของ
นักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ การฟั งจัดเป็ น ความสาคัญอันดับ
แรก การฟังที่ดีมีลกษณะสาคัญ ดังนี้
ั
๑) ฟั งให้ ตรงตามความมุ่งหมาย การฟั งแต่ละครั้ง
อาจฟั งเพื่อความมุ่งหมาย อย่างใดอย่างหนึ่ ง โดยเฉพาะ หรื อ
เพื่อความมุ่งหมายหลายอย่างพร้อมกันก็ได้โดยทัวไป ความมุ่ง
่
หมายของการฟั ง คือ ฟั ง เพื่อความรู้ และฟั งเพื่อให้ได้รับคติ
ชีวต หรื อฟังเพื่อความเพลิดเพลิน
ิ
การฟัง เพื่อความรู ้ได้แก่การฟังเรื่ องราวเกี่ยวกับวิชาการข่าวสาร
สารคดี อัตชีวประวัติ โดยเฉพาะอย่างยิงการฟังการถ่ายทอดความรู้ ฟังคาสอนจากครู
่
การฟั ง เพื่อความเพลิ ดเพลิ น ได้แก่ การฟั งเรื่ องราวที่ สนุ กสนาน เบา
สมอง หรื อฟั งเรื่ องขบขัน เพื่อความผ่อนคลายอารมณ์ ความเคร่ งเครี ยดอันเนื่องมาจาก
กิจการงาน และสภาพแวดล้อม รวมทั้งการฟังบทกวี เพลง ดนตรี ฯลฯ ด้วย
การฟัง เพื่อความจรรโลงใจ หรื อได้รับคติชีวิต ได้แก่ การฟั งที่ก่อให้เกิด
สติปัญญาสุ ขม เพื่อค้ าชูจิตใจให้สูงขึ้นประณี ตขึ้นละเอียดอ่อนขึ้น การฟังประเภทนี้ ตอง
ุ
้
ใช้วจารณญาณเกิดประโยชน์ในชีวตประจาวันของตนเองและผูอื่น
ิ
ิ
้
การฟัง แต่ละครั้งอาจมีจุดมุ่งหมายหลายอย่างพร้อมกัน เช่น ฟังอภิปราย
สัมมนาโดยอาจได้รับ ความรู ้คติชีวต และความเพลิดเพลินไปพร้อม ๆ กันได้
ิ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๕๕
๒) ฟั งโดยมีความพร้ อม ความพร้ อมในที่ น้ ี หมายถึ ง
ความพร้ อ มทางร่ างกาย สุ ขภาพร่ างกายที่ ส มบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง
ความพร้ อมทางจิ ตใจ หมายถึ งจิ ตใจที่ไม่วิตกกังวล สับสน มีจิตใจ
สดชื่ นเบิ กบานปราศจากความทุ กข์ร้อนใด ๆ ทั้งสิ้ น เตรี ยมพร้ อม
ที่จะฟังเรื่ องราวต่อ
๓) ฟั ง โดยมี ส มาธิ หมายถึ ง ฟั ง ด้ว ยความตั้ง ใจมั่น
ั
จดจ่ ออยู่กบ สิ่ ง ที่ ก าลัง ฟั งอยู่โดยปรกติ สมาธิ เป็ นสิ่ ง ที่ ควบคุ ม ยาก
ต้องอาศัยการฝึ กสมาธิ จึงจะเกิดขึ้นได้ดี
๔) ฟั งด้ วยความกระตือรื อร้ น เมื่อผูฟังมีความสนใจ
้
ในเรื่ องที่จะฟัง มีศรัทธาในตัวผูพด จะทาให้การฟังได้ผล
้ ู
๕) ฟั งโดยไม่ มีอคติ “อคติ ” คือ ความลาเอี ยง ได้แก่
ลาเอียงเพราะความรัก ลาเอียงเพราะความเกลียด ลาเอียงเพราะความ
กลัว ลาเอียงเพราะความหลง ความลาเอียงจะทาให้การพินิจพิเคราะห์
สารที่ได้รับรู ้คลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ งได้ ดังนั้น ควรฟั งโดยไม่
มีอคติ ทาตัวเป็ นกลาง จะช่วยให้พินิจ พิเคราะห์สารได้ถูกต้อง
เอ..ใครรู้บาง ว่าจะไปทางไหนดี
้

เวลาเรี ยนก็ต้ งใจฟังเวลาคุณครู พดสิ ..
ั
ู
“จะได้ไม่หลงทาง”
เ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๕๖
๓. มารยาทในการฟัง
ตั้งใจฟังกันนะ

การสื่ อสารระหว่างมนุ ษย์จะสัมฤทธิ์ ผลหากความสัมพันธ์ระหว่างผูรับสาร
้
และผูส่งสารเป็ นด้วยดี หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ ง ถ้าผูพูดและผูฟังสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อ
้
้
้
กัน เพื่อให้การสื่ อสารสัมฤทธิ์ ผล ผูฟังจาเป็ นต้องรักษามารยาทในการฟัง ดังนี้
้
๑) เมื่ อผูฟั ง อยู่เฉพาะหน้า ผูใ หญ่ ผูฟั ง พึ ง ส ารวมกิ ริย าอาการให้สุ ภาพ
้
้
้
เรี ยบร้อย สบตาผูพูดเป็ นครั้งคราวไม่พูดแทรกหรื อชิ งพูดก่อนที่จะพูดจบ หากไม่เข้าใจ
้
ต้องการถามควรถามเมื่อพูดจบข้อความแล้ว
๒) เมื่อฟังผูอื่นพูดไปในที่ประชุม ซึ่ งประกอบด้วยประธาน และสมาชิ ก
้
ขององค์ประชุ ม ควรตั้งใจฟั งอาจจดข้อความที่สาคัญไว้ ไม่ควรพูดคุ ยกับคนใกล้เคียง
ไม่ ค วรพู ด ขณะที่ ค นอื่ น พู ด ยัง ไม่ จ บ เมื่ อ ต้อ งการพู ด หรื อ ถามควรให้ สั ญ ญาณของ
อนุญาตก่อน เช่น ยกมือ เป็ นต้น
๓) เมื่อไปดูภาพยนตร์ หรื อฟั งดนตรี หรื อฟั งการพูดในที่ชุมชน ไม่ควร
กระทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความราคาญแก่ผอื่น
ู้

หนูดวยคะ
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

พวกเราจะตั้งใจฟังกันครับ

หน้ า ๑๕๗
กา ร ฟั ง ต้ อ ง มี ข้ อ ค ว ร
ระวังด้วยหรื อครับ

ข้ อควรระวัง เวลาอยู่ในสถานทีชุมชน
่
ต้ องมีมารยาทในการฟัง มีดังนีคะ
้

(๑) รักษาความสงบเรี ยบร้อย ไม่พดคุยหรื อทาเสี ยงดัง หรื อนาเด็กเล็กเข้า
ู
ไปเพราะอาจส่ งเสี ยงรบกวนผูอื่นได้
้
(๒) ไม่นาอาหาร หรื อสิ่ งขบเคี้ยวอื่น ๆ เข้าไป หรื อนาสิ่ งของที่มีกลิ่นแรง
เข้าไปกลิ่นหรื อเสี ยงขบเคี้ยวอาจไปรบกวนผูฟังคนอื่นได้
้
(๓)ไม่เดิ นเข้าออกบ่อย ๆ ถ้าจาเป็ นให้หาที่ นั่งอยู่ริมทางเดิ น หรื อใกล้
ประตู ทางออก
(๔)ปิ ดเครื่ องมื อสื่ อสารทุ ก ชนิ ดเช่ น โทรศัพท์มื อถื อ เพื่ อป้ องกันเสี ย ง
เรี ยกทางโทรศัพท์รบกวนผูฟังคนอื่น ๆ
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๕๘
๔. การฟังที่มีประสิทธิภาพ
ฟังอย่างเดียวไม่ ได้ นะค่ ะ
เวลาฟังแล้ว... ต้ องตีความให้ ได้ ด้วย

ผู้ทมีทกษะในการฟัง ย่ อมฟังได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ คือ
ี่ ั
๑) เข้า ใจเรื่ อ ง เมื่ อฟั ง ข้อ ความหรื อฟั ง เรื่ อ งราวติ ด ต่ อกัน สามารถจับ
ประเด็ น ส าคัญ แล้ว สามารถถ่ า ยทอดให้ ผู ้อื่ น ฟั ง ต่ อ ไปได้ จดจ าเรื่ องราวได้ น าน
พอสมควร
๒) จับประเด็นได้ เมื่อฟั งแล้วสามารถจับประเด็นสาคัญทั้งที่เป็ นใจความ
ั
และที่เป็ นพลความการที่จะสามารถทาได้เช่ นนี้ ข้ ึนอยู่กบประสบการณ์ และการฝึ กฝน
ของผูฟัง
้
่
๓) วิเคราะห์ได้ เมื่อฟังแล้วสามารถวิเคราะห์ได้วา อะไรเป็ นเหตุ อะไรเป็ น
ผล อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นความรู้สึกนึกคิดของผูพด อะไรผิด อะไรถูก
้ ู
๔) ตีความได้ เมื่อได้ฟังข้อความที่มีความหมายไม่ตรงตามตัวอักษร ผูฟัง
้
จาเป็ นจะต้องตัดสิ นใจได้แน่ชดลงไปว่า ข้อผิดถูกเป็ นอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟั ง
ั
สารที่ส่งมาเป็ น คาประพันธ์ บทละคร บทร้อยกรอง กาพย์ โคลงฉันท์ สุ ภาษิต คาพังเพย
สานวนโวหาร ที่ยากและสลับซับซ้อนการตีความของผูฟังแต่ละคนอาจไม่ตรงกันทั้งนี้
้
่ ั
ขึ้นอยูกบพื้นฐานความรู ้ วัย อุปนิสัย และประสบการณ์ของผูฟังเป็ นสาคัญ
้

ฟังแล้วต้องตีความ แล้วถ้าผมตีความ
ไม่ได้ละครับครู ... ทาอย่างไร

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๕๙
เวลาฟังต้ องรวบรวมสมาธิ แล้วฟัง
อย่างตั้งใจ ฟังแล้วคิดตามนะคะ

๕) ประเมินค่า เมื่อฟั งแล้วสามารถบอกได้ว่าข้อความ เรื่ องราวที่ได้
ฟังมานั้นดีหรื อไม่อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นข้อคิดเห็นส่ วนตัวของผูพูด การ
้
แยกแยะสามารถประเมินค่าได้เที่ยงตรงและมีความเป็ นธรรมไม่มีความลาเอียง
กับเรื่ องราวที่ได้ฟังมา การฟั งจะมีประสิ ทธิ ภาพถ้าหากผูฟังมีความพร้อมในการ
้
ฟั งทั้งสภาพร่ างกายจิตใจ อาทิ ไม่เจ็บป่ วย ไม่หิวกระหาย ไม่วิตกกังวล มีสมาธิ
ในการฟัง การเตรี ยมความพร้อมในการฟังจะทาให้การฟังมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
่

ฟังอย่างเดียวไม่ ได้
หรือคะคุณครู

ฟังอย่างเดียวไม่ ได้ นะจ๊ ะ ต้ องฟังแล้วประเมินค่ า
จากการฟังด้ วย จะได้ นาไปใช้ ประโยชน์ เพือ
่
สื่ อสารกับคนรอบข้ างได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๐
๕. การพัฒนาประสิทธิภาพของการฟัง

แนวปฏิบติเพื่อการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพของการฟัง มีดงนี้
ั
ั
๑) ฝึ กฝนตนเองให้ มี นิ สั ย รั ก การฟั ง โดยเข้ า ร่ วม
กิ จกรรมที่ ต้องใช้ทกษะทางการฟั งแบบต่าง ๆ เช่ น ฟั งวิทยากร
ั
บรรยาย ฟั งการอภิ ปราย ฟั งการโต้วาที ฟั งเทศน์ ฟั งเพลง ฯลฯ
ทุ ก ครั้ งที่ มี โ อกาสท าได้ รวมทั้ง การฟั ง สารต่ า ง ๆ เช่ น ข่ า ว ฟั ง
ละครวิทยุ ชมโทรทัศน์ ฯลฯ
๒) ท าตัว ให้ เ ป็ นผู ้ร อบรู ้ โดยการอ่ า น การฟั ง การ
สังเกต ฯลฯ การมี ความรู ้รอบตัวดี ทาให้ฟังเรื่ องราวต่าง ๆ เข้าใจ
ได้ง่ายขึ้น ส่ งผลต่อเนื่องให้รักการฟัง มีนิสัยในการฟังที่ต่อไปอีก
๓) เรี ยนรู ้ ถึ ง ลัก ษณะเนื้ อ หาและวิ ธี ต่ า ง ๆ ในการ
นาเสนอเนื้ อหา เพื่อช่ วยให้ฟังเรื่ องราวที่มีเนื้ อหาต่างกันได้ดีข้ ึ น
เช่น วิธีนาเสนอข่าว วิธีแสดงพระธรรมเทศนา วิธีพูดแบบโต้วาที
วิธีพูดแบบนักจัดรายการวิทยุ ฯลฯ ซึ่ งมีลกษณะและวิธีการพูดที่
ั
แตกต่างกันออกไป

การฟังมาก ๆ จะทาให้
ทักษะทางการฟังดีข้ ึน

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๑
การเรี ยนรู ้วธีพดจะช่วยให้ฟังการพูด
ิ ู
แบบต่าง ๆ ได้ดีข้ ึน

เพื่อน ๆ รู ้ไหมว่ามีวธีไหนบ้างฟังแล้ว
ิ
ไม่ลืม วิธีทาให้ฟังแล้วไม่ลืม... คือ

๔) ฝึ กทัก ษะที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การฟั ง เช่ น
การจดบันทึก การเขียนรายงานเรื่ องที่ได้ฟัง การพูดแสดง
ความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องฟัง การวิจารณ์การพูด ฯลฯ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๒
๖. การฟังเรื่องที่มีเนือหาต่ างกัน
้

๖.๑ สารสาหรับ การฟังเพือความรู้
่
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยโดยเฉพาะทางด้านชื่อต้นไม้ และชื่อสัตว์
่
ต่าง ๆ นั้นจะน่าสนใจอยูมาก ลองคิดถึงที่มาของชื่อเหล่านั้นแล้วก็น่าสนุก
ลองมาคิดถึงเรื่ องอื่นที่ไม่ใช่ เรื่ องการเมืองหรื อเรื่ องเลื อกตั้งก็น่าจะพัก
สมองได้ชวครู่ ใครที่ไปเที่ยวตลาดนัดที่ทองสนามหลวงก็จะได้เห็นชื่อต้นไม้ที่แปลก
ั่
้
ๆ เสมอ เป็ นต้นว่าต้นกาลิ คไวน์ ดูเผิน ๆ ก็น่าจะนึ กไปว่าเป็ นไม้เถาของพระเจ้า
กาหลิบ ฟังชื่อดูก็หรู หราดี แต่ความจริ งชื่อนั้นเป็ นภาษาของคนขายต้นไม้ที่ตลาดนัด
สื บสารราวเรื่ องต่อไปจะได้ความว่าต้น “กาหลิบไวน์” นั้นมาจากชื่ อภาษาฝรั่งว่าการ์
่
ลิคไวน์ ซึ่งเห็นจะพอแปลเป็ นไทยได้วา “กระเทียมเถา” หรื อ “กระเทียมเลื้อย”
ใครอยากรู ้บางว่าทาไม ต้นไม้ตนนั้น จึงมีชื่อเป็ นกระเทียมก็ขอให้
้
้
เอามือขยี้ใบหรื อดอกแล้วดม ดูเถิดกลิ่นเป็ นกระเทียมไม่มีผด
ิ
่
เหมือนถึงขนาดว่าจะลองเอามาใช้ตาน้ าพริ กกินได้ ชัวแต่วากลิ่ นกระเทียม
่
ของ ดอกใบ ต้นกระเทียมเถานั้นมีกลิ่นฉุ นขึ้นมาครู่ เดียวแล้วหายไป ไม่คงทน หาก
เอาไปตาน้ าพริ ก ก็คงหมดกลิ่นก่อนน้ าพริ กจะแหลก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๓
ต้นไม่อีกอย่างหนึ่งเรี ยกกันทัวไปในปั จจุบนนี้วา
ั ่
่
ต้นโกศลแต่ก่อนเมื่อยังเด็ก ๆ เห็นผูใหญ่เรี ยกว่าต้น โกรต๋ น
้
โกรต๋ น น่าจะถูก เพราะต้นไม้ตนเดียวกันนี้ฝรั่งเรี ยกว่า
้
โกรตน หรื อ โกรตอน

เมื่ อเร็ ว ๆ นี้ มีผูป กครองของเด็ กคนหนึ่ ง มาคุ ย กับ
้
ดิ ฉันว่า อยากจะปลู กต้นลันทมไว้ดูดอกในบ้านบ้างแต่คุ ณ
่
สามีไม่ยอมให้ปลูก ถามว่าทาไม ก็ตอบว่าเขาถือกันบอกต่อ
กันมาว่า ชื่ อลันทมหรื อระทมอะไรทานองนั้น ปลูกแล้วบ้าน
่
จะไม่มีความสุ ข ดิฉนก็ได้แต่ตอบว่าชื่ อดอกลันทมนั้นเห็ น
ั
่
เรี ยกกันแต่ในภาคกลางเท่านั้น ภาษาไทยภาคเหนื อเรี ยกว่า
“ดอกจาปาลาว” นึ กเสี ยอย่างนั้นก็ไม่เป็ นไรกระมัง แต่ใน
ปั จจุบนได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่แล้ว เป็ นที่รู้จกกันว่า “ลีลาวดี”
ั
ั

ฟังเรื่ องเล่ามาจนลมออกหูแล้วครับคุณครู มี
ข้อสังเกตอะไรในการฟังให้เข้าใจง่าย ๆ ไหมครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๔
ข้อสังเกตในการฟังมีดงนี้
ั

ข้ อสั งเกตจากการฟัง
เรื่ องที่ได้ ฟังเป็ นเรื่ องความรู้ ทางภาษา ผู้เล่ าได้ กล่ าวถึงชื่ อของพืชและสั ตว์
หลายชนิด ได้ แก่ ต้ นกาหลิบไวน์ ต้ นโกศล มะม่ วงหนังกลางวัน ลั่นทม ถั่วลันเตา
นกเขาชวา และกิงกือ ความรู้ ทได้ รับ ไม่ เพียงแต่ ร้ ู จักที่มาหรื อชื่ อดั้งเดิมของพืชและ
้
ี่
สั ตว์ เหล่ านีเ้ ท่ านั้นแต่ ยงได้ ร้ ู จักศัพท์ ภาษาต่ างประเทศ อีกหลาย เช่ น Garlick Vine,
ั
Holland Bean, เมรุ ปติ Millipede ในส่ วนที่เป็ นความคิดเห็น ผู้เขียนให้ ความเห็น
โดยสรุ ปเป็ นส่ วนต้ นของเรื่ อ งไว้ ว่ า “การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทย โดยเฉพาะ
ทางด้ านชื่ อ ต้ นไม้ และชื่ อสั ตว์ ต่ าง ๆ นั้ น ออกจะน่ าสนใจอยู่ มาก” ซึ่ งเป็ นความ
คิดเห็นทีจูงใจผู้อ่านมากกว่ าทีจะต้ องการอภิปรายโต้ แย้ง
่
่
ผู้ เ ล่ า ได้ จ บเรื่ อ งโดยการเชิ ญ ชวนผู้ ฟั ง ให้ ศึ ก ษาหาความรู้ ทางภาษา ที่
เกียวกับชื่ อสั ตว์ และพืชพันธุ์
่
เพิ่มเติมซึ่ งนับเป็ นการจบเรื่ องประเภทให้ ความรู้ ด้วยวิธีที่ดีเพราะกระตุ้น
ความอยากรู้ ให้ เกิดแก่ ผ้ ูฟัง ทาให้ ผ้ ูฟังเกิดความคิดทีจะแสวงหาความรู้ ใหม่
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๕
๖.๒ สารสาหรับ การฟังเพือพัฒนาความคิด
่
คนที่ มี ค วามทุ ก ข์อยู่ใ นจิ ตใจบางคนมัก จะพูดว่า “อยากเกิ ดเป็ นนก”
เพราะนกมันมีอิสระที่จะบินไปไหนก็ได้ ไม่เหมื อนมนุ ษย์ที่ตองถูกจากัดขอบเขตด้วย
้
วัฒนธรรม ศีลธรรม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ชีวิตของนกไม่มีความยุ่งยาก ชี วิตเป็ นสิ่ ง
่
ที่มนรู ้ ไม่ได้วาจะมีเหตุการณ์ เป็ นเช่นไร นอกจากว่ามันเกิดมาในโลกเพื่อกิน และเพื่อมี
ั
ชีวตให้นานที่สุดท่าที่จะทาได้
ิ
คนที่คิดดังนี้ อาจจะมองดู นกในด้านผิวเผิน ความจริ งแล้วนกมันต้อง
่
ต่อสู ้ มันมีปัญหา มันมีอุปสรรค มันต้องเรี ยนรู ้อยูตลอดเวลา โดยเฉพาะเรี ยนรู ้เรื่ องการ
กิ น เรี ยนรู ้ เรื่ องการหาอาหาร นกตัวที่ บินได้สูงที่สุดย่อมจะแลเห็ นได้ไกลที่ สุดว่าที่
แห่ งใดมันควรจะไปหรื อรู ้ว่าที่แห่ งใดมันไม่ควรไป ถ้าคนที่มีความทุกข์ลองทาให้ใจ
สู ง ๆ มองไกล ๆ เหมือนกับนกที่บินสู ง ๆ บางทีอาจจะเห็นทางออกที่ดีของชี วิตเราก็
่
ได้ นกตัวไหนที่บินไม่เป็ น ไม่รู้จกผ่อนแรงในขณะบิน ไม่รู้วาจะกางปี กอย่างไร เมื่อมี
ั
พายุจดพัดมาก็จะเอาตัวไม่รอดและก็ตายไป นกที่จบปลาเป็ นอาหารถ้าไม่รู้จกทิ้งดิ่ ง
ั
ั
ั
ตัวเอง เพื่อทาเวลาให้เร็ วที่สุดปลาก็จะหนี ไปเสี ยก่อนนกตัวนั้นก็จะไม่ได้เหยื่อ ชี วิต
ของนกก็มีการต่อสู ้ เหมื อนกับชี วิตของมนุ ษย์เหมื อนกัน คนก็ตองรู ้ จกใช้ชีวิตเป็ น
้ ั
ต่อสู ้ เป็ นรู ้ จกผ่อนสั้นผ่อนยาว รู ้ จกหากิ นตามทานองคลองธรรม ฯลฯ จึ งจะอยู่รอด
ั
ั
ปลอดภัย และประสบผลสาเร็ จในชีวต
ิ

เฮ้อ...ทาไมฟังดูยากจังคะครู

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๖
ข้ อสั งเกตจากการฟัง
เรื่องที่ได้ ฟังเป็ นเรื่ องสาหรับพัฒนาความคิด โดยเปรี ยบเทียบการดารงชี วิต
ของมนุษย์ กบการบินของนก ผู้พูดกล่ าวว่ า นกตัวที่บินได้ สูงที่สุดย่ อม จะแลเห็นได้ ไกล
ั
ทีสุดว่ า ทีแห่ งใดมันควรจะไป หรือรู้ ว่าที่แห่ งใดมันไม่ ควรไปถ้ าคนที่มีความทุกข์ ลองทา
่
่
ใจให้ สูง ๆ มองไกล ๆ เหมือนกับนก ทีบินสู ง ๆ บางทีก็อาจเห็นทางออก ที่ดีของชี วิตเราก็
่
ได้ ซึ่งความคิดเห็นนี้ถูกต้ องตามหลักแห่ งเหตุผล และสอดคล้ องกับหลักจริ ยธรรม หาก
นาไปปฏิบัติกจะบังเกิดผลดีดังที่ผ้ ูพูดได้ กล่ าวไว้ ว่า “คนก็ต้องรู้ จักใช้ ชีวิตเป็ น ต่ อสู้ เป็ น
็
รู้ จักผ่ อนสั้ นผ่ อนยาว รู้ จักหากินตามทานองคลองธรรม ฯลฯ จึงจะอยู่รอดปลอดภัยและ
ประสบผลสาเร็จในชีวต”
ิ

ฟั ง แล้ ว ได้ ค วา ม รู้
เพิ่มขึ้นอีกมากเลยคะ

ครู จะอ่านสารที่ให้ฟังเป็ นเรื่ องที่
จัดว่าจรรโลงใจให้ฟังนะคะ

ฟังแล้วคงสนุกมากแน่ ๆ
เลยใช่ไหมครับ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๗
๖.๓ สารสาหรับ การฟังเพือความจรรโลงใจ
่
เดือน ๑๑ แรมค่า เป็ นวันออกพรรษา ฝนซึ่ งตกพราแฉะตลอดเวลา ๓ เดือน
่
ท้องฟ้ าซึ่งเคย “เห็นเมฆมืดเวหาฟ้ าคะนอง พยับฟองฝนสาดอยูปราดปราย” ก็เว้นว่างและ
ห่ างหายไป เป็ นเวลากาลังหมดฤดู ฝน เมฆ ซึ่ ง เกลื่อนกลาดลอยเต็มทัวท้องฟ้ าก็ค่อยสู ญ
่
หายมลายไป ลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้ หรื อลมพัทยา ซึ่ งเคยพาเอาฝนสาดมาโดยแรงก็
แปร และกลายเป็ นลมว่า วพัดโชยเรื่ อย ๆ มาริ น ๆ ท าให้รู้สึ ก สดชื่ นหายอับ ชื้ นถนน
หนทางก็หมาดแห้งไม่แฉะเหมือนเมื่อก่อนการทานาที่คร่ าเคร่ งมาหลายเดือนก็หมดภาระ
ไปตอนหนึ่ งข้าวส่ วนมากก็ตกรวงแล้ว คอยแต่เวลาจะสุ ก และเกี่ยวได้เท่านั้น อากาศชื้ น
่
และมืดมัวก็เปลี่ยนเป็ นปลอดโปร่ งแจ่มใส ภูเขาซึ่ งอยูไกลเห็นลิบ ๆ ทางโน้น ไม่ได้เห็ น
มาหลายเวลา บัดนี้ กลับเห็นเขียวชัดได้ถนัดในที่ไกลจะทาให้ใจคอของชาวบ้านเบิกบาน
ไปด้วยธรรมชาติ ฤดูเข้าพรรษา ๓ เดือนผ่านไปแล้วข้าวก็หว่านแล้ว ดาแล้วกาลังจะแตก
่
รวง เป็ นพุมพวงไสวตระการตา อีกไม่ชาก็จะ เก็บเกี่ยวได้ ไม่เบิกบานสบายใจ ก็จะไปเบิก
้
บานสบายใจเอาเมื่อไหร่
ออกพรรษาแล้วและตลอดไปจนถึงกลางเดือน ๑๒ เป็ นเทศกาลทอดกฐิน ซึ่ ง
เป็ นที่ ยินดี ปรี ดา และรื่ นเริ งของชาวบ้าน ด้วยจะได้มีโอกาสทาบุ ญสุ นทานควบไปกับ
ความสนุ กร่ าเริ งใจ คนแต่ก่อนเคยพูดว่า “ทอดกฐินริ นหญ้า” ทอดกฐิ นนั้นเข้าใจ แต่ริน
หญ้าหมายความว่าอะไร อยากทราบแต่ก็ไม่ทราบ ก่อนถึงวันทอดกฐิ น ชาวบ้านมักไป
เลือกวัดที่จะทอด จะได้แล้วก็ไปจองล่วงหน้าไว้มกเลือกวัด หมู่บานอื่น เพื่อมีโอกาสแห่
ั
้
ั
กฐินไปครึ กครื้ นอย่างสนุกสนาน และประสานสมัครสมานสามัคคี เป็ นไมตรี กบชาวบ้าน
่
โน้นซึ่ งเมื่อรู ้วาจะไปทอดกฐินที่วดหมูบานของเขาในวันใด ก็จะได้เตรี ยมการเพื่อ
ั
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๘
ต้อนรับตลอด จนเลี้ยงดูและเล่นสนุ กร่ วมสามัคคีวิสาสะกัน นอกนั้นงานทอดกฐินในที่
ไกลได้โอกาสเที่ยวเตร่ เปลี่ ยนภูมิประเทศให้เห็นแปลกไปจากที่เคยเห็นอย่างซ้ าซากอยู่
ทุกเมื่อเชื่อวัน ถ้าสิ่ งใดในหมู่บานโน้น มีแปลกหรื อมีใหม่ ก็จะได้รู้ดูเห็นด้วยตนเองแล้ว
้
่
นาเอาสิ่ งดีมีอยูในถิ่ นนั้นจามาใช้เป็ นแบบ อย่างของตนบ้าง ปะเหมาะอาจพบเนื้ อคู่อยู่ที่
นันก็ได้ เหตุฉะนี้ประเพณี ทอดกฐินต่างถิ่นของชาวบ้านจึงถือว่าสาคัญและจาเป็ นเพราะ
่
่
ได้ท้ งบุญกุศลและสนุกรื่ นเริ งประเพณี อย่างนี้ยอมมีค่าควรแก่ชีวิตคน จึงได้ประพฤติสืบ
ั
ต่อกันมาไม่ขาดสาย เท่ากับเป็ นการศึกษาโดยปริ ยายของคนแต่ก่อน ฝึ กตนให้เป็ นคนใจ
บุญรู ้ค่าและคุณของความสามัคคี จิตใจร่ าเริ งไม่คบแค้น
ั
(ผูแต่ง พระยาอนุมานราชธน)
้

ข้ อสั งเกตจากการฟัง
เรื่องทีนามาอ่านให้ ฟังนี้ เป็ นเรื่ องทีฟังแล้วทาให้ มีจิตใจแช่ มชื่ น เกิดจินตนาการถึง
่
่
สภาพธรรมชาติในหมู่บ้านชนบทในช่ วงเทศกาลทอดกฐิ น คือระหว่ างเดือนสิ บเอ็ดแรม
หนึ่งค่าถึงเดือนสิ บสองขึ้นสิ บห้ าค่า ซึ่ งเป็ นปลายฤดู พ้ นฤดูกาลทางานของชาวนา ข้ าว
กาลังแตกรวง ฯลฯ ซึ่งเป็ นภาพทีน่ารื่นรมย์
่
นอกจากความแช่ มชื่ นจิตใจซึ่ งเกิดจิ นตนาการตามถ้ อยคาของผู้เขียนแล้ ว คุณค่ า
ของเรื่ อ งนี้ ยั ง อยู่ ที่ ก ารจรรโลงให้ เ กิด ความรั ก และเห็ น คุ ณ ค่ า ของประเพณีท อดกฐิ น
ที่เกิดขึ้นแก่ ตนเอง เช่ น “ได้ โอกาสเที่ยวเตร่ เปลี่ยนภูมิประเทศให้ เห็นแปลกไป จากที่เคย
เห็นอย่ างซ้าซากอยู่ทุกเมื่อเชื่ อวัน.......ปะเหมาะ อาจพบเนื้อคู่อยู่ที่นั่นก็ได้ ” และจูงใจให้
เห็นคุณค่ าของการทอดกฐิ นทีมีต่อสั งคม ในด้ านการประสานสามัคคีระหว่ างกันด้ วย
่
เราเคยได้ ฟังเรื่ องการทอดกฐิ นมามากมาย แต่ ส่ว นใหญ่ มักกล่ าวถึงเรื่ องราวตาม
ที่ปรากฏในทางศาสนาหรื อวิธีการจัดการทอดกฐิ น ไม่ ค่อยมีผ้ ูเล่ าเรื่ องการทอดกฐิ น ใน
แนวที่ ท าให้ จิ ต ใจแจ่ ม ใสนึ ก ถึ ง บรรยากาศความรื่ น เริ ง และคุ ณ ค่ า ของประเพณี ก าร
ทอดกฐิน ดังเช่ น เรื่องทีได้ ฟังนี้
่

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๖๙
๗. การสรุปความจากการฟัง

การสรุ ปความจากสิ่ งที่ ได้ฟังอย่างถู กต้อง เป็ นทักษะที่สาคัญอย่างหนึ่ งของ
การฟัง เพราะผูฟังที่จะนาเรื่ องที่ได้ฟังไปเผยแพร่ ต่อไป หรื อเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์ได้
้
อย่างถูกต้อง ต้องสามารถสรุ ปความจากการฟัง มีดงนี้
ั
๑) เริ่ มการฝึ กฟังโดยการบันทึกเรื่ องที่ได้ฟังลงในแถบบันทึกเสี ยงแล้วเปิ ดฟัง
หลาย ๆ ครั้งเพื่อจับประเด็นสรุ ปใจความ
๒) พัฒนาตนเองขึ้นโดยการบันทึกสรุ ปการฟั งในสถานการณ์ จริ งพร้ อม
กับบันทึกเรื่ องราวในแถบบันทึ กเสี ยงแล้วนามาเปิ ดฟั งเป็ นการทดสอบว่า สามารถ
สรุ ปความและบันทึกได้ถูกต้องหรื อไม่
๓) เมื่ อมี ค วามช านาญแล้ว จึ ง ฟั ง สรุ ป ความในสถานการณ์ จ ริ ง ต่ อไป
อย่างไรก็ตามวิธีการฟังโดยสรุ ปความด้วยตนเองพร้อมไปกับวิธีบนทึกเสี ยง จะเป็ นวิธี
ั
ที่ดีที่สุด (ในทางปฏิบติการฝึ กการฟั งในตอนนี้ ควรใช้วิธีขอให้ผอื่นอ่านข้อความที่ยก
ั
ู้
มานี้ บันทึ กลงในแถบบันทึ กเสี ยง แล้วนามาเปิ ดฟั งไม่ควรสรุ ปโดยวิธีการอ่านจาก
หนังสื อ)

สรุ ปจากการฟังได้ใจความว่าอย่างไร..
ั
ค่อย ๆ คิดและวิเคราะห์กนนะคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๐
๘. การบันทึกสรุปความสิ่งที่ได้ ฟัง
สิ่ งที่ควรบันทึก เพื่อสรุ ปความสิ่ งที่ได้ฟัง มีดงนี้
ั
๑) แหล่งที่มาของเรื่ อง เช่น เรื่ องอะไร ใครเป็ นผูพูด
้
พูดเมื่อไร ที่ไหน
๒) สาระสาคัญของเรื่ องนั้น แต่ละตอน
๓) ถ้าจะมี ขอคิ ดเห็ นหรื อข้อสังเกตเพิ่มเติม ก็ทาได้
้
แต่ตองแยกออกให้เห็นว่า ส่ วนใดเป็ นสิ่ งที่สรุ ปความจากการฟั ง ส่ วน
้
ใดเป็ นข้อ สัง เกตหรื อข้อ คิ ด เห็ น ของผูบน ทึ ก ขอให้ล องบั นทึ ก สรุ ป
้ ั
ข้อความต่อไปนี้ (ครู จะหาผูที่เหมาะสมอ่านให้นกเรี ยนฟั ง หรื อครู อ่าน
้
ั
บันทึ ก ลงในแถบบัน ทึ ก เสี ย งแล้วเปิ ดให้นัก เรี ย นฟั ง ๒-๓ เที่ ย ว ให้
นักเรี ยนสรุ ปสาระสาคัญ)

ทาไมเราถึงต้องบันทึกด้วยหรื อครับ
การบันทึกเป็ นการช่วยให้
เราจดจาได้ดีข้ ึนไงคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๑
๙. ความหมายของการดู

การดู เป็ นทักษะการรับสารที่มกจะเกิดขึ้นพร้อมกับทักษะการฟั ง เพราะสารบาง
ั
ประเภทต้องใช้ท้ งสายตาและหู ไปพร้ อมกัน เช่ น การดู ภาพยนตร์ ละคร คอนเสิ ร์ต
ั
หรื อการแสดงอื่น ๆ ที่ มีการใช้เสี ยงประกอบ เป็ นต้น
ดู ตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายว่า
“ใช้สายตาเพื่อให้ เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร
การดู เป็ นการรับสารจากสื่ อภาพและเสี ยง มีล กษณะเช่นเดียวกับการฟั ง เพราะ
ั
การดู ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นการรั บ สารทางสายตาและหู ไ ปพร้ อ ม ๆ กัน ผู ้ดู ส ามารถแสดง
ทรรศนะได้จากการรับรู ้ สาร ตีความ แปลความ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าสารจากสื่ อ
เช่น การดูโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ละคร ภาพยนตร์ หนังสื อการ์ ตูน ซึ่ งแม้จะไม่มีเสี ยง
แต่มี ถ้อยคาอ่านแทนเสี ยงพูด ผูดูจะต้องรั บรู ้ สารจากการดู แลและนามาวิเคราะห์ สาร
้
ตีความ ประเมินคุณค่าของสารที่เป็ นเนื้อเรื่ องโดยใช้ความคิดพิจารณาเช่นเดียวกับการรับ
สารในรู ปแบบอื่น ๆ

การดูทาให้เรามองเห็นได้ดวยตาตนเอง
้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๒
๑๐. ประเภทและหลักในการดู

ประเภทของการดู ๒ ประเภท คือ
๑. การดูที่ผูดูไม่มีส่วนร่ วมในกระบวนการสื่ อสาร เป็ นการดูจาก
้
สื่ อ มวลชน โดยผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผู ้ดู ไ ม่ ส ามารถแสดงปฏิ กิ ริ ย า
ตอบสนองให้ผูส่งสารรั บ ทราบในขณะที่ ดูได้ ได้แก่ รายการ โทรทัศ น์
้
เช่ น ภาพยนตร์ เรื่ องยาว การ์ ตูน สารคดี ทอล์ค โชว์ มิ วสิ ควีดีโอ เกมโชว์
ดนตรี เพลง วีดีทศน์ วีซีดี ดีวดี เป็ นต้น
ั
ี
๒. การดูที่ผูดูมีส่วนร่ วมในกระบวนการสื่ อสาร เป็ นการสื่ อสาร
้
ต่อหน้าที่ผดูมีโอกาสแสดงปฏิกิริยาตอบสนองได้ในทันที เช่น การดูละคร
ู้
เวที โขน คอนเสิ ร์ต การแสดงนิทรรศการต่าง ๆ เป็ นต้น

เข้าใจไหมคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๓
หลักในการดู

การดูเพื่อให้ได้รับประโยชน์ มีดงนี้
ั
๑) การดูโทรทัศน์ นอกจากจะดูหลาย ๆ รายการเพื่อให้ทราบถึ งความนิ ยมและ
ความเคลื่อนไหวในสังคมเป็ นการเปิ ดโลกทัศน์ให้กว้างขวางแล้ว ควรเลือกรายการที่ดีมี
ประโยชน์ ได้แก่
๑.๑) รายการที่ ให้ค วามรู ้ เพื่อเพิ่มพูนสติ ปัญญาและพัฒนาสมรรถภาพการ
เรี ยนรู ้ เช่น ข่าว สารคดี รายการส่ งเสริ มวัฒนธรรม เป็ นต้น
๑.๒) รายการแสดงความคิดเห็ นต่าง ๆ ทาให้รู้จกการพิจารณาความคิดเห็ นที่
ั
หลากหลาย เช่ น รายการวิเคราะห์ข่าวการเมื อง เศรษฐกิ จ สังคม หรื อปั ญหาที่ คนทัวไป
่
กาลังสนใจ
๑.๓) รายการบันเทิงที่มีสาระความรู ้ ส่ งเสริ มคุ ณธรรม ให้ขอคิด หรื อความ
้
จรรโลงใจ ไม่ควรดูแต่รายการที่เน้นแต่ความบันเทิงเพียงอย่างเดียว
๒) การดูภาพยนตร์ ละคร ดีวีดี วีซีดี วีดีทศน์ ควรพิจารณาเลือกดูเรื่ องที่เหมาะสม
ั
กับวัย ไม่เป็ นเรื่ องที่แสดงถึงความรุ นแรง หรื อเสื่ อมเสี ยศีลธรรม
๓) ควรดูเรื่ องต่าง ๆ ร่ วมกับผูอื่น โดยเฉพาะผูที่มีวยวุฒิสูงกว่า เพื่อจะได้มีโอกาส
้
้ ั
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่ องที่ดู อันจะเป็ นแนวทางให้ได้รับความรู้และความคิดเห็นใน
เรื่ องต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง
๔) ดูอย่างใช้ความคิด ระหว่างที่ดูเรื่ องต่าง ๆ ควรใช้ความคิดพิจารณาไปด้วย ไม่
ดูเพื่อความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการดูคุมค่ากับเวลา
้
๕) ควรดูจากสื่ อหลาย ๆ ประเภท หลาย ๆ รายการ เพื่อให้ได้รับสารที่สมบูรณ์
ครบถ้วนทุกแง่มุม

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๔
๑๑. มารยาทในการดู

มารยาทเป็ นสิ่ งสาคัญและจาเป็ นในทุกโอกาส มารยาทในการดูที่เป็ นสากล
นิยมและควรทราบ มีดงนี้
ั
๑) เดินทางไปถึงสถานที่ที่มีการแสดงก่อนเวลาอย่างน้อย ๑๕ นาที เพื่อจะ
ได้มีเวลาจัดหาที่นงให้เป็ นระเบียบ ไม่รบกวนผูอื่น ขณะที่รอชมการแสดงควรอยู่
ั่
้
ในความสงบและสารวมกิริยา
๒) แต่งกายให้ถูกกาลเทศะ ถ้าเป็ นการชมการแสดงในโอกาสที่เป็ นทางการ
ควรสวมเสื้ อผ้า แบบสากลนิยม มีสีสันและรู ปแบบเรี ยบร้อย ไม่สวมรองเท้าแตะหรื อ
รองเท้าฟองน้ า
๓) ให้เกี ย รติ ผูแสดงด้วยการปรบมื อ เมื่ อมี ก ารแนะนาตัวหรื อเริ่ มแสดง
้
และควรปรบมือแสดงความขอบคุณอีกครั้งเมื่อมีการแสดงสิ้ นสุ ดลง

การนังสนทนากัน เป็ นมารยาทที่ดีแบบหนึ่ง
่

ใช่หรื อ

ั
พวกเราต้องถามคุณครู กน

ถูกต้องแล้วคะ

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๕
๔) แสดงกิริยาอาการสารวมขณะที่ชมการแสดง แสดงความสนใจ ไม่นงไขว่ห้าง
ั่
หรื อเอนหลังตามสบาย หรื อนังหลับ ไม่พดคุยหรื อวิพากษ์วจารณ์ในขณะที่มีการแสดง ไม่
ู
ิ
่
แสดงกิริยาไม่สุภาพ เช่น โห่ ฮา เป่ าปาก ปรบมือ กระทืบเท้า แสดงความพอใจหรื อไม่
พอใจ
๕) ไม่ลุกออกจากที่นงก่อนการแสดงจบลง หากมีกิจธุ ระจาเป็ นควรขอโทษผูที่
ั่
้
นังข้างเคียงและเลี่ยงออกไปเงียบ ๆ
่
๖) ไม่นาอาหารและเครื่ องดื่ มเข้าไปรับประทาน เพราะเป็ นการเสี ยมารยาทและ
รบกวนผูอื่น
้
๗) ไม่ใช้เครื่ องมือสื่ อสารทุกชนิ ดในโรงภาพยนตร์ โรงละคร หรื อสถานที่ที่จด
ั
ให้มีการแสดงโดยเฉพาะ เพราะนอกจากจะเป็ นการเสี ยมารยาทแล้ว ยังเป็ นการรบกวน
การแสดงด้วย

มีใครสงสัยอะไรที่เรี ยนผ่านไป
แล้วหรื อเปล่าคะ

พวกเราเข้าใจกันแล้วครับผม

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๖
เรามาทากิจกรรมเสนอแนะ
ท้ายบทที่ ๕ กันนะคะ

กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๕

ให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้
ิ
๑. แบ่งกลุ่ม ช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการฟังว่า สาเหตุที่ทาให้นกเรี ยนฟั งไม่
ั
เข้าใจจับใจความสาคัญไม่ได้ ช่ วยกันเสนอแนะวิธีแก้ไข แล้วให้แต่ละกลุ่ ม
สรุ ปและรายงานผล
๒. บันทึ ก เรื่ องที่ไ ด้ดูม าคนละ ๑ เรื่ อง ระบุ ว่า เป็ นสารประเภทใด เป็ นสารที่ มี
่
ประโยชน์หรื อโทษอย่างไรแล้วคัดเลือกผลงานที่อยูในเกณฑ์ดี เย็บเข้าเล่มเก็บ
ไว้เป็ นแหล่งข้อมูล
๓. ฟั งรายการที่เห็นว่ามีประโยชน์บนทึกข้อมูลลงในกระดาษการ์ ดอธิ บายเหตุผล
ั
ที่เลือกฟังรายการนั้นเก็บรวบรวมใส่ กล่องไว้ศึกษา

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๗
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่

๕

จงตอบคาถามต่ อไปนี้
๑. การฟัง การดู มีความสาคัญต่อการดาเนินชี วตประจาวันของคนเราอย่างไร
ิ
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
๒. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
๓. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................
………………………………………………………………………………………....................

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๘
แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๕
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน
๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของการฟัง การดูได้ถูกต้อง
ก. การได้ยนได้เห็น
ิ
ข. การรับสารจากการฟัง การดู
ค. การเลือกสื่ อสารทางหูและทางตา
ง. การรับรู ้และเข้าใจความหมายจากสิ่ งที่ได้ยน ได้ดู
ิ
๒. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารเรื่ องการระบาดของไข้เลือดออก จัดเป็ นสารประเภทใด
ก. สารให้ความรู้
ข. สารโน้มน้าวใจ
ค. สารให้ความบันเทิง
ง. สารให้ความจรรโลงใจ
๓. ข้อใดเป็ นกระบวนการสุ ดท้ายของการฟัง การดู
ก. ยอมรับ
ข. ตีความ
ค. เข้าใจ
ง. นาไปใช้
๔. ข้อใดเป็ นมารยาทที่ควรแสดงออกในการฟัง การดู เมื่อมีความพึงพอใจ
ก. หัวเราะ โห่ร้องอย่างสะใจ
ข. เป่ าปาก ตะโกนเชียร์เสี ยงดัง
ค. หัวเราะ ปรบมือทุกครั้งที่ถูกใจ
ง. โห่ร้อง กระทืบเท้าด้วยความมัน
๕. ข้อใดเป็ นหลักการฟัง การดูที่ดี
ก. ฟังเพราะผูส่งสารมีบุคลิกดี
้
ข. ฟังเพราะผูส่งสารเป็ นผูมีชื่อเสี ยงน่าเชื่อถือ
้
้
ค. ฟังเพราะผูส่งสารมีความสนิทสนมเป็ นการส่ วนตัว
้
ง. ฟังเพราะผูส่งสารส่ งสารได้ตรงความสนใจของตน
้
โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๗๙
๖. ถ้าฟังแล้วบอกสาระสาคัญของเรื่ องได้ แสดงว่ามีความสามารถในการฟังระดับใด
ก. ขั้นได้ยน
ิ
ข. ขั้นเข้าใจ
ค. ขั้นตีความ
ง. ขั้นยอมรับ
๗. “เครื่ องทองจากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะและวัดมหาธาตุ เป็ นหลักฐานที่สะท้อนให้
ั
เห็ นถึ งความเจริ ญมังคังของกรุ งศรี อยุธยา และความเป็ นเลิ ศในด้านฝี มือการช่าง” ข้อความ
่ ่
ข้างต้นจัดเป็ นสารประเภทใด
ก. สารให้ความรู้
ข. สารโน้มน้าวใจ
ค. สารให้ความบันเทิง
ง. สารให้ความจรรโลงใจ
๘. “งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม
ดังขวากแซมเสี้ ยมแทรกแตกไสว
ใครทาชูคู่ท่านครั้นบรรลัย
้
ก็ตองไปปี นต้นน่าขนพอง”
้
บทกลอนข้างต้นจัดเป็ นสารชนิดใด
ก. สารให้ความรู้
ข. สารโน้มน้าวใจ
ค. สารให้ความบันเทิง
ง. สารให้ความจรรโลงใจ
่
๙. รายการโทรทัศน์ เช่น คนชราที่ลูกหลานทิ้งให้อยูคนเดียว แล้วเชิญชวนให้ผชมบริ จาค
ู้
จัดเป็ นสารประเภทใด
ก. สารให้ความรู้
ข. สารโน้มน้าวใจ
ค . สารให้ความบันเทิง
ง. สารให้ความจรรโลงใจ
๑๐. จากโจทย์ขอ ๙ ผูที่ส่งเงินไปบริ จาค แสดงว่าผูดูรายการผ่านกระบวนการรับสารขั้นใด
้
้
้
ก. ขั้นยอมรับ
ข. ขั้นตีความ
ค. ขั้นเข้าใจ
ง. ขั้นนาไปใช้

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๘๐
ทาแบบทดสอบเสร็จแล้ วอย่าลืมตรวจ
กับเฉลยดูนะ (กรณีที่เรี ยนบทเรี ยนนี ้
ด้ วยตนเอง)

เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๕

สาหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๕
(หรือคาตอบ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๘๑
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๕
๑. การฟัง การดู มีความสาคัญต่อการดาเนินชี วตประจาวันของคนเราอย่างไร
ิ
ตอบ เนื่องจากในชีวิตประจาวันของคนเรา นิยมส่ง สารด้ วยการพูด พร้ อมกับแสดง
อวัจนภาษาประกอบ ดังนัน ในการรับสารจึงต้ องใช้ ทกษะการฟั ง การดูที่มีประสิทธิภาพ
้
ั
เพื่อให้ การติดต่อ สื่อสารประสบผลสาเร็จ
๒. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร
ตอบ การฟั ง การดู ให้ ประโยชน์ตอตนเอง ดังนี ้
่
๑) ทาให้ การติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวันราบรื่ น เกิดความเข้ าใจซึงกันและกัน
่
ระหว่างผู้ที่ติดต่อสัมพันธ์กน
ั
๒) ทาให้ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ได้ ผอนคลายความตึงเครี ยด
่
๓) ทาให้ ได้ รับความรู้ ทังความรู้เฉพาะด้ านและความรู้ทวไป ก่อให้ เกิดการพัฒนา
้
ั่
ตนเอง มีความเจริญก้ าวหน้ าทังในด้ านการศึกษาและอาชีพการงาน
้
๔) ทาให้ ได้ คติชีวิตและความจรรโลงใจ สามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันก่อให้ เกิด
ความสุขในชีวิต
๓. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร
ตอบ การฟั ง การดู ให้ ประโยชน์ตอสังคม ดังนี ้
่
๑) ทาให้ สงคมเกิดการพัฒนา มีความเจริญก้ าวหน้ าเท่าเทียมอารยประเทศ
ั
๒) ทาให้ เกิดความเข้ าใจที่ดีตอกัน เกิดความรักความสามัคคีตอกัน และทาให้ สงคม
่
่
ั
เกิดความสงบสุข

(หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

หน้ า ๑๘๒
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๕
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ

เฉลย

ข้อ

เฉลย

ข้อ

เฉลย

ข้อ

เฉลย

๑.

ข.

๖.

ง.

๑.

ง.

๖.

ข.

๒.

ค.

๗.

ค.

๒.

ก.

๗.

ก.

๓.

ข.

๘.

ข.

๓.

ง.

๘.

ง.

๔.

ก.

๙.

ง.

๔.

ค.

๙.

ข.

๕.

ข.

๑๐.

ข.

๕.

ง.

๑๐.

ง.

การฟังให้ปฏิบติดงนี้ ฟังแบบตั้งใจ ฟังอย่างมีสมาธิ
ั ั
และฟังอย่างมีสติ จะทาให้การฟังนั้น
ั
มีประโยชน์กบเรามากนะคะ

ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว
ได้คะแนนเต็มเลยสิ เก่งจังเลย

เกณฑ์ การตัดสิ น
ระดับ 0 – 4 คะแนน

ระดับคุณภาพ
ต้องปรับปรุ ง

ระดับ 5 – 6 คะแนน

พอใช้

ระดับ 7 – 8 คะแนน

ดี

ระดับ 9 – 10 คะแนน

ดีมาก

โดยครู อมพร ศรีพทกษ์
ั
ิ ั

สรุ ปผลการประเมิน
่
 ผ่าน
 ไม่ผาน
คะแนนทีได้
่

ระดับคุณภาพ

………

……….

หน้ า ๑๘๓

Contenu connexe

Tendances

การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
Sirirat Pongpid
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ณัฐพล แสงทวี
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
Thanit Lawyer
 

Tendances (20)

การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 

En vedette

สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟัง
Maeying Thai
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยยใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
Juniorjeje
 
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
Napadon Yingyongsakul
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
peter dontoom
 
Ed spark 14 final 2
Ed spark 14 final 2Ed spark 14 final 2
Ed spark 14 final 2
drgdavid
 

En vedette (20)

สาระ การฟัง
สาระ  การฟังสาระ  การฟัง
สาระ การฟัง
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยยใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
ใบงานสำรวจตนเอง M6ยย
 
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานและแนวทางพัฒนานักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Smart watch flyer
Smart watch flyerSmart watch flyer
Smart watch flyer
 
Priekules seniunija
Priekules seniunijaPriekules seniunija
Priekules seniunija
 
slideshare
slideshareslideshare
slideshare
 
โต้วาที
โต้วาทีโต้วาที
โต้วาที
 
38 Motivational Quotes About Business
38 Motivational Quotes About Business38 Motivational Quotes About Business
38 Motivational Quotes About Business
 
Ed spark 14 final 2
Ed spark 14 final 2Ed spark 14 final 2
Ed spark 14 final 2
 
Grow with HubSpot - Auckland - July 2016
Grow with HubSpot - Auckland - July 2016Grow with HubSpot - Auckland - July 2016
Grow with HubSpot - Auckland - July 2016
 
Art of facilitator version 2
Art of facilitator version 2Art of facilitator version 2
Art of facilitator version 2
 

Similaire à 5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)

4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
Namfon Wannapa
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
kuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
kuneena
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4
Yota Bhikkhu
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
pingpingmum
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
Piyarerk Bunkoson
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
krubuatoom
 

Similaire à 5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183) (20)

4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
การฟัง 4
การฟัง 4การฟัง 4
การฟัง 4
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Plus de อัมพร ศรีพิทักษ์ (10)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 

5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)

  • 1. บทที่ ๕ การฟังและการดูอย่ างมีประสิ ทธิภาพ ๑. ความหมายของการฟัง การฟัง หมายถึง กระบวนการรับรู ้สารโดยผ่านสื่ อทางเสี ยงการฟั ง ต่างจากการได้ยินตรงที่ว่า การได้ยินเป็ นเพียงทางานของประสาทรับเสี ยง แต่ผูได้ยินเสี ยงอาจไม่รับรู ้ สารนั้น และไม่อาจแสดงปฏิ กิริยาตอบสนอง ้ ต่อเสี ยงที่ได้ยนนั้น ิ การฟั ง เป็ นส่ ว นส าคัญ ที่ ท าให้ เ กิ ด การรอบรู ้ เ ฉลี ย วฉลาด เกิ ด ความคิดริ เริ่ ม และเกิดความรื่ นเริ งใจนอกจากที่กล่าวมาแล้ว การฟั งยังช่วย ให้ส ามารถพัฒนาการคิ ดและการพูดได้อย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพอี ก ด้วยแต่ ประโยชน์ดงกล่าวจะเกิดผลได้ผฟังจะต้องมีหลักการฟังที่ดี ั ู้ พวกเราสัญญาว่า จะตั้งใจฟังกันคะ
  • 2. ๒. หลักการฟังที่ดี ตามคติ ไ ทยแต่ โบราณถื อว่า การฟั ง เป็ นหัวใจของ นักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ การฟั งจัดเป็ น ความสาคัญอันดับ แรก การฟังที่ดีมีลกษณะสาคัญ ดังนี้ ั ๑) ฟั งให้ ตรงตามความมุ่งหมาย การฟั งแต่ละครั้ง อาจฟั งเพื่อความมุ่งหมาย อย่างใดอย่างหนึ่ ง โดยเฉพาะ หรื อ เพื่อความมุ่งหมายหลายอย่างพร้อมกันก็ได้โดยทัวไป ความมุ่ง ่ หมายของการฟั ง คือ ฟั ง เพื่อความรู้ และฟั งเพื่อให้ได้รับคติ ชีวต หรื อฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ิ การฟัง เพื่อความรู ้ได้แก่การฟังเรื่ องราวเกี่ยวกับวิชาการข่าวสาร สารคดี อัตชีวประวัติ โดยเฉพาะอย่างยิงการฟังการถ่ายทอดความรู้ ฟังคาสอนจากครู ่ การฟั ง เพื่อความเพลิ ดเพลิ น ได้แก่ การฟั งเรื่ องราวที่ สนุ กสนาน เบา สมอง หรื อฟั งเรื่ องขบขัน เพื่อความผ่อนคลายอารมณ์ ความเคร่ งเครี ยดอันเนื่องมาจาก กิจการงาน และสภาพแวดล้อม รวมทั้งการฟังบทกวี เพลง ดนตรี ฯลฯ ด้วย การฟัง เพื่อความจรรโลงใจ หรื อได้รับคติชีวิต ได้แก่ การฟั งที่ก่อให้เกิด สติปัญญาสุ ขม เพื่อค้ าชูจิตใจให้สูงขึ้นประณี ตขึ้นละเอียดอ่อนขึ้น การฟังประเภทนี้ ตอง ุ ้ ใช้วจารณญาณเกิดประโยชน์ในชีวตประจาวันของตนเองและผูอื่น ิ ิ ้ การฟัง แต่ละครั้งอาจมีจุดมุ่งหมายหลายอย่างพร้อมกัน เช่น ฟังอภิปราย สัมมนาโดยอาจได้รับ ความรู ้คติชีวต และความเพลิดเพลินไปพร้อม ๆ กันได้ ิ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๕๕
  • 3. ๒) ฟั งโดยมีความพร้ อม ความพร้ อมในที่ น้ ี หมายถึ ง ความพร้ อ มทางร่ างกาย สุ ขภาพร่ างกายที่ ส มบู ร ณ์ แ ข็ ง แรง ความพร้ อมทางจิ ตใจ หมายถึ งจิ ตใจที่ไม่วิตกกังวล สับสน มีจิตใจ สดชื่ นเบิ กบานปราศจากความทุ กข์ร้อนใด ๆ ทั้งสิ้ น เตรี ยมพร้ อม ที่จะฟังเรื่ องราวต่อ ๓) ฟั ง โดยมี ส มาธิ หมายถึ ง ฟั ง ด้ว ยความตั้ง ใจมั่น ั จดจ่ ออยู่กบ สิ่ ง ที่ ก าลัง ฟั งอยู่โดยปรกติ สมาธิ เป็ นสิ่ ง ที่ ควบคุ ม ยาก ต้องอาศัยการฝึ กสมาธิ จึงจะเกิดขึ้นได้ดี ๔) ฟั งด้ วยความกระตือรื อร้ น เมื่อผูฟังมีความสนใจ ้ ในเรื่ องที่จะฟัง มีศรัทธาในตัวผูพด จะทาให้การฟังได้ผล ้ ู ๕) ฟั งโดยไม่ มีอคติ “อคติ ” คือ ความลาเอี ยง ได้แก่ ลาเอียงเพราะความรัก ลาเอียงเพราะความเกลียด ลาเอียงเพราะความ กลัว ลาเอียงเพราะความหลง ความลาเอียงจะทาให้การพินิจพิเคราะห์ สารที่ได้รับรู ้คลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ งได้ ดังนั้น ควรฟั งโดยไม่ มีอคติ ทาตัวเป็ นกลาง จะช่วยให้พินิจ พิเคราะห์สารได้ถูกต้อง เอ..ใครรู้บาง ว่าจะไปทางไหนดี ้ เวลาเรี ยนก็ต้ งใจฟังเวลาคุณครู พดสิ .. ั ู “จะได้ไม่หลงทาง” เ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๕๖
  • 4. ๓. มารยาทในการฟัง ตั้งใจฟังกันนะ การสื่ อสารระหว่างมนุ ษย์จะสัมฤทธิ์ ผลหากความสัมพันธ์ระหว่างผูรับสาร ้ และผูส่งสารเป็ นด้วยดี หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ ง ถ้าผูพูดและผูฟังสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อ ้ ้ ้ กัน เพื่อให้การสื่ อสารสัมฤทธิ์ ผล ผูฟังจาเป็ นต้องรักษามารยาทในการฟัง ดังนี้ ้ ๑) เมื่ อผูฟั ง อยู่เฉพาะหน้า ผูใ หญ่ ผูฟั ง พึ ง ส ารวมกิ ริย าอาการให้สุ ภาพ ้ ้ ้ เรี ยบร้อย สบตาผูพูดเป็ นครั้งคราวไม่พูดแทรกหรื อชิ งพูดก่อนที่จะพูดจบ หากไม่เข้าใจ ้ ต้องการถามควรถามเมื่อพูดจบข้อความแล้ว ๒) เมื่อฟังผูอื่นพูดไปในที่ประชุม ซึ่ งประกอบด้วยประธาน และสมาชิ ก ้ ขององค์ประชุ ม ควรตั้งใจฟั งอาจจดข้อความที่สาคัญไว้ ไม่ควรพูดคุ ยกับคนใกล้เคียง ไม่ ค วรพู ด ขณะที่ ค นอื่ น พู ด ยัง ไม่ จ บ เมื่ อ ต้อ งการพู ด หรื อ ถามควรให้ สั ญ ญาณของ อนุญาตก่อน เช่น ยกมือ เป็ นต้น ๓) เมื่อไปดูภาพยนตร์ หรื อฟั งดนตรี หรื อฟั งการพูดในที่ชุมชน ไม่ควร กระทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความราคาญแก่ผอื่น ู้ หนูดวยคะ ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั พวกเราจะตั้งใจฟังกันครับ หน้ า ๑๕๗
  • 5. กา ร ฟั ง ต้ อ ง มี ข้ อ ค ว ร ระวังด้วยหรื อครับ ข้ อควรระวัง เวลาอยู่ในสถานทีชุมชน ่ ต้ องมีมารยาทในการฟัง มีดังนีคะ ้ (๑) รักษาความสงบเรี ยบร้อย ไม่พดคุยหรื อทาเสี ยงดัง หรื อนาเด็กเล็กเข้า ู ไปเพราะอาจส่ งเสี ยงรบกวนผูอื่นได้ ้ (๒) ไม่นาอาหาร หรื อสิ่ งขบเคี้ยวอื่น ๆ เข้าไป หรื อนาสิ่ งของที่มีกลิ่นแรง เข้าไปกลิ่นหรื อเสี ยงขบเคี้ยวอาจไปรบกวนผูฟังคนอื่นได้ ้ (๓)ไม่เดิ นเข้าออกบ่อย ๆ ถ้าจาเป็ นให้หาที่ นั่งอยู่ริมทางเดิ น หรื อใกล้ ประตู ทางออก (๔)ปิ ดเครื่ องมื อสื่ อสารทุ ก ชนิ ดเช่ น โทรศัพท์มื อถื อ เพื่ อป้ องกันเสี ย ง เรี ยกทางโทรศัพท์รบกวนผูฟังคนอื่น ๆ ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๕๘
  • 6. ๔. การฟังที่มีประสิทธิภาพ ฟังอย่างเดียวไม่ ได้ นะค่ ะ เวลาฟังแล้ว... ต้ องตีความให้ ได้ ด้วย ผู้ทมีทกษะในการฟัง ย่ อมฟังได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ คือ ี่ ั ๑) เข้า ใจเรื่ อ ง เมื่ อฟั ง ข้อ ความหรื อฟั ง เรื่ อ งราวติ ด ต่ อกัน สามารถจับ ประเด็ น ส าคัญ แล้ว สามารถถ่ า ยทอดให้ ผู ้อื่ น ฟั ง ต่ อ ไปได้ จดจ าเรื่ องราวได้ น าน พอสมควร ๒) จับประเด็นได้ เมื่อฟั งแล้วสามารถจับประเด็นสาคัญทั้งที่เป็ นใจความ ั และที่เป็ นพลความการที่จะสามารถทาได้เช่ นนี้ ข้ ึนอยู่กบประสบการณ์ และการฝึ กฝน ของผูฟัง ้ ่ ๓) วิเคราะห์ได้ เมื่อฟังแล้วสามารถวิเคราะห์ได้วา อะไรเป็ นเหตุ อะไรเป็ น ผล อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นความรู้สึกนึกคิดของผูพด อะไรผิด อะไรถูก ้ ู ๔) ตีความได้ เมื่อได้ฟังข้อความที่มีความหมายไม่ตรงตามตัวอักษร ผูฟัง ้ จาเป็ นจะต้องตัดสิ นใจได้แน่ชดลงไปว่า ข้อผิดถูกเป็ นอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟั ง ั สารที่ส่งมาเป็ น คาประพันธ์ บทละคร บทร้อยกรอง กาพย์ โคลงฉันท์ สุ ภาษิต คาพังเพย สานวนโวหาร ที่ยากและสลับซับซ้อนการตีความของผูฟังแต่ละคนอาจไม่ตรงกันทั้งนี้ ้ ่ ั ขึ้นอยูกบพื้นฐานความรู ้ วัย อุปนิสัย และประสบการณ์ของผูฟังเป็ นสาคัญ ้ ฟังแล้วต้องตีความ แล้วถ้าผมตีความ ไม่ได้ละครับครู ... ทาอย่างไร โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๕๙
  • 7. เวลาฟังต้ องรวบรวมสมาธิ แล้วฟัง อย่างตั้งใจ ฟังแล้วคิดตามนะคะ ๕) ประเมินค่า เมื่อฟั งแล้วสามารถบอกได้ว่าข้อความ เรื่ องราวที่ได้ ฟังมานั้นดีหรื อไม่อะไรเป็ นข้อเท็จจริ ง อะไรเป็ นข้อคิดเห็นส่ วนตัวของผูพูด การ ้ แยกแยะสามารถประเมินค่าได้เที่ยงตรงและมีความเป็ นธรรมไม่มีความลาเอียง กับเรื่ องราวที่ได้ฟังมา การฟั งจะมีประสิ ทธิ ภาพถ้าหากผูฟังมีความพร้อมในการ ้ ฟั งทั้งสภาพร่ างกายจิตใจ อาทิ ไม่เจ็บป่ วย ไม่หิวกระหาย ไม่วิตกกังวล มีสมาธิ ในการฟัง การเตรี ยมความพร้อมในการฟังจะทาให้การฟังมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่ ฟังอย่างเดียวไม่ ได้ หรือคะคุณครู ฟังอย่างเดียวไม่ ได้ นะจ๊ ะ ต้ องฟังแล้วประเมินค่ า จากการฟังด้ วย จะได้ นาไปใช้ ประโยชน์ เพือ ่ สื่ อสารกับคนรอบข้ างได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๐
  • 8. ๕. การพัฒนาประสิทธิภาพของการฟัง แนวปฏิบติเพื่อการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพของการฟัง มีดงนี้ ั ั ๑) ฝึ กฝนตนเองให้ มี นิ สั ย รั ก การฟั ง โดยเข้ า ร่ วม กิ จกรรมที่ ต้องใช้ทกษะทางการฟั งแบบต่าง ๆ เช่ น ฟั งวิทยากร ั บรรยาย ฟั งการอภิ ปราย ฟั งการโต้วาที ฟั งเทศน์ ฟั งเพลง ฯลฯ ทุ ก ครั้ งที่ มี โ อกาสท าได้ รวมทั้ง การฟั ง สารต่ า ง ๆ เช่ น ข่ า ว ฟั ง ละครวิทยุ ชมโทรทัศน์ ฯลฯ ๒) ท าตัว ให้ เ ป็ นผู ้ร อบรู ้ โดยการอ่ า น การฟั ง การ สังเกต ฯลฯ การมี ความรู ้รอบตัวดี ทาให้ฟังเรื่ องราวต่าง ๆ เข้าใจ ได้ง่ายขึ้น ส่ งผลต่อเนื่องให้รักการฟัง มีนิสัยในการฟังที่ต่อไปอีก ๓) เรี ยนรู ้ ถึ ง ลัก ษณะเนื้ อ หาและวิ ธี ต่ า ง ๆ ในการ นาเสนอเนื้ อหา เพื่อช่ วยให้ฟังเรื่ องราวที่มีเนื้ อหาต่างกันได้ดีข้ ึ น เช่น วิธีนาเสนอข่าว วิธีแสดงพระธรรมเทศนา วิธีพูดแบบโต้วาที วิธีพูดแบบนักจัดรายการวิทยุ ฯลฯ ซึ่ งมีลกษณะและวิธีการพูดที่ ั แตกต่างกันออกไป การฟังมาก ๆ จะทาให้ ทักษะทางการฟังดีข้ ึน โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๑
  • 9. การเรี ยนรู ้วธีพดจะช่วยให้ฟังการพูด ิ ู แบบต่าง ๆ ได้ดีข้ ึน เพื่อน ๆ รู ้ไหมว่ามีวธีไหนบ้างฟังแล้ว ิ ไม่ลืม วิธีทาให้ฟังแล้วไม่ลืม... คือ ๔) ฝึ กทัก ษะที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การฟั ง เช่ น การจดบันทึก การเขียนรายงานเรื่ องที่ได้ฟัง การพูดแสดง ความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องฟัง การวิจารณ์การพูด ฯลฯ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๒
  • 10. ๖. การฟังเรื่องที่มีเนือหาต่ างกัน ้ ๖.๑ สารสาหรับ การฟังเพือความรู้ ่ การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยโดยเฉพาะทางด้านชื่อต้นไม้ และชื่อสัตว์ ่ ต่าง ๆ นั้นจะน่าสนใจอยูมาก ลองคิดถึงที่มาของชื่อเหล่านั้นแล้วก็น่าสนุก ลองมาคิดถึงเรื่ องอื่นที่ไม่ใช่ เรื่ องการเมืองหรื อเรื่ องเลื อกตั้งก็น่าจะพัก สมองได้ชวครู่ ใครที่ไปเที่ยวตลาดนัดที่ทองสนามหลวงก็จะได้เห็นชื่อต้นไม้ที่แปลก ั่ ้ ๆ เสมอ เป็ นต้นว่าต้นกาลิ คไวน์ ดูเผิน ๆ ก็น่าจะนึ กไปว่าเป็ นไม้เถาของพระเจ้า กาหลิบ ฟังชื่อดูก็หรู หราดี แต่ความจริ งชื่อนั้นเป็ นภาษาของคนขายต้นไม้ที่ตลาดนัด สื บสารราวเรื่ องต่อไปจะได้ความว่าต้น “กาหลิบไวน์” นั้นมาจากชื่ อภาษาฝรั่งว่าการ์ ่ ลิคไวน์ ซึ่งเห็นจะพอแปลเป็ นไทยได้วา “กระเทียมเถา” หรื อ “กระเทียมเลื้อย” ใครอยากรู ้บางว่าทาไม ต้นไม้ตนนั้น จึงมีชื่อเป็ นกระเทียมก็ขอให้ ้ ้ เอามือขยี้ใบหรื อดอกแล้วดม ดูเถิดกลิ่นเป็ นกระเทียมไม่มีผด ิ ่ เหมือนถึงขนาดว่าจะลองเอามาใช้ตาน้ าพริ กกินได้ ชัวแต่วากลิ่ นกระเทียม ่ ของ ดอกใบ ต้นกระเทียมเถานั้นมีกลิ่นฉุ นขึ้นมาครู่ เดียวแล้วหายไป ไม่คงทน หาก เอาไปตาน้ าพริ ก ก็คงหมดกลิ่นก่อนน้ าพริ กจะแหลก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๓
  • 11. ต้นไม่อีกอย่างหนึ่งเรี ยกกันทัวไปในปั จจุบนนี้วา ั ่ ่ ต้นโกศลแต่ก่อนเมื่อยังเด็ก ๆ เห็นผูใหญ่เรี ยกว่าต้น โกรต๋ น ้ โกรต๋ น น่าจะถูก เพราะต้นไม้ตนเดียวกันนี้ฝรั่งเรี ยกว่า ้ โกรตน หรื อ โกรตอน เมื่ อเร็ ว ๆ นี้ มีผูป กครองของเด็ กคนหนึ่ ง มาคุ ย กับ ้ ดิ ฉันว่า อยากจะปลู กต้นลันทมไว้ดูดอกในบ้านบ้างแต่คุ ณ ่ สามีไม่ยอมให้ปลูก ถามว่าทาไม ก็ตอบว่าเขาถือกันบอกต่อ กันมาว่า ชื่ อลันทมหรื อระทมอะไรทานองนั้น ปลูกแล้วบ้าน ่ จะไม่มีความสุ ข ดิฉนก็ได้แต่ตอบว่าชื่ อดอกลันทมนั้นเห็ น ั ่ เรี ยกกันแต่ในภาคกลางเท่านั้น ภาษาไทยภาคเหนื อเรี ยกว่า “ดอกจาปาลาว” นึ กเสี ยอย่างนั้นก็ไม่เป็ นไรกระมัง แต่ใน ปั จจุบนได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่แล้ว เป็ นที่รู้จกกันว่า “ลีลาวดี” ั ั ฟังเรื่ องเล่ามาจนลมออกหูแล้วครับคุณครู มี ข้อสังเกตอะไรในการฟังให้เข้าใจง่าย ๆ ไหมครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๔
  • 12. ข้อสังเกตในการฟังมีดงนี้ ั ข้ อสั งเกตจากการฟัง เรื่ องที่ได้ ฟังเป็ นเรื่ องความรู้ ทางภาษา ผู้เล่ าได้ กล่ าวถึงชื่ อของพืชและสั ตว์ หลายชนิด ได้ แก่ ต้ นกาหลิบไวน์ ต้ นโกศล มะม่ วงหนังกลางวัน ลั่นทม ถั่วลันเตา นกเขาชวา และกิงกือ ความรู้ ทได้ รับ ไม่ เพียงแต่ ร้ ู จักที่มาหรื อชื่ อดั้งเดิมของพืชและ ้ ี่ สั ตว์ เหล่ านีเ้ ท่ านั้นแต่ ยงได้ ร้ ู จักศัพท์ ภาษาต่ างประเทศ อีกหลาย เช่ น Garlick Vine, ั Holland Bean, เมรุ ปติ Millipede ในส่ วนที่เป็ นความคิดเห็น ผู้เขียนให้ ความเห็น โดยสรุ ปเป็ นส่ วนต้ นของเรื่ อ งไว้ ว่ า “การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทย โดยเฉพาะ ทางด้ านชื่ อ ต้ นไม้ และชื่ อสั ตว์ ต่ าง ๆ นั้ น ออกจะน่ าสนใจอยู่ มาก” ซึ่ งเป็ นความ คิดเห็นทีจูงใจผู้อ่านมากกว่ าทีจะต้ องการอภิปรายโต้ แย้ง ่ ่ ผู้ เ ล่ า ได้ จ บเรื่ อ งโดยการเชิ ญ ชวนผู้ ฟั ง ให้ ศึ ก ษาหาความรู้ ทางภาษา ที่ เกียวกับชื่ อสั ตว์ และพืชพันธุ์ ่ เพิ่มเติมซึ่ งนับเป็ นการจบเรื่ องประเภทให้ ความรู้ ด้วยวิธีที่ดีเพราะกระตุ้น ความอยากรู้ ให้ เกิดแก่ ผ้ ูฟัง ทาให้ ผ้ ูฟังเกิดความคิดทีจะแสวงหาความรู้ ใหม่ ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๕
  • 13. ๖.๒ สารสาหรับ การฟังเพือพัฒนาความคิด ่ คนที่ มี ค วามทุ ก ข์อยู่ใ นจิ ตใจบางคนมัก จะพูดว่า “อยากเกิ ดเป็ นนก” เพราะนกมันมีอิสระที่จะบินไปไหนก็ได้ ไม่เหมื อนมนุ ษย์ที่ตองถูกจากัดขอบเขตด้วย ้ วัฒนธรรม ศีลธรรม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ชีวิตของนกไม่มีความยุ่งยาก ชี วิตเป็ นสิ่ ง ่ ที่มนรู ้ ไม่ได้วาจะมีเหตุการณ์ เป็ นเช่นไร นอกจากว่ามันเกิดมาในโลกเพื่อกิน และเพื่อมี ั ชีวตให้นานที่สุดท่าที่จะทาได้ ิ คนที่คิดดังนี้ อาจจะมองดู นกในด้านผิวเผิน ความจริ งแล้วนกมันต้อง ่ ต่อสู ้ มันมีปัญหา มันมีอุปสรรค มันต้องเรี ยนรู ้อยูตลอดเวลา โดยเฉพาะเรี ยนรู ้เรื่ องการ กิ น เรี ยนรู ้ เรื่ องการหาอาหาร นกตัวที่ บินได้สูงที่สุดย่อมจะแลเห็ นได้ไกลที่ สุดว่าที่ แห่ งใดมันควรจะไปหรื อรู ้ว่าที่แห่ งใดมันไม่ควรไป ถ้าคนที่มีความทุกข์ลองทาให้ใจ สู ง ๆ มองไกล ๆ เหมือนกับนกที่บินสู ง ๆ บางทีอาจจะเห็นทางออกที่ดีของชี วิตเราก็ ่ ได้ นกตัวไหนที่บินไม่เป็ น ไม่รู้จกผ่อนแรงในขณะบิน ไม่รู้วาจะกางปี กอย่างไร เมื่อมี ั พายุจดพัดมาก็จะเอาตัวไม่รอดและก็ตายไป นกที่จบปลาเป็ นอาหารถ้าไม่รู้จกทิ้งดิ่ ง ั ั ั ตัวเอง เพื่อทาเวลาให้เร็ วที่สุดปลาก็จะหนี ไปเสี ยก่อนนกตัวนั้นก็จะไม่ได้เหยื่อ ชี วิต ของนกก็มีการต่อสู ้ เหมื อนกับชี วิตของมนุ ษย์เหมื อนกัน คนก็ตองรู ้ จกใช้ชีวิตเป็ น ้ ั ต่อสู ้ เป็ นรู ้ จกผ่อนสั้นผ่อนยาว รู ้ จกหากิ นตามทานองคลองธรรม ฯลฯ จึ งจะอยู่รอด ั ั ปลอดภัย และประสบผลสาเร็ จในชีวต ิ เฮ้อ...ทาไมฟังดูยากจังคะครู โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๖
  • 14. ข้ อสั งเกตจากการฟัง เรื่องที่ได้ ฟังเป็ นเรื่ องสาหรับพัฒนาความคิด โดยเปรี ยบเทียบการดารงชี วิต ของมนุษย์ กบการบินของนก ผู้พูดกล่ าวว่ า นกตัวที่บินได้ สูงที่สุดย่ อม จะแลเห็นได้ ไกล ั ทีสุดว่ า ทีแห่ งใดมันควรจะไป หรือรู้ ว่าที่แห่ งใดมันไม่ ควรไปถ้ าคนที่มีความทุกข์ ลองทา ่ ่ ใจให้ สูง ๆ มองไกล ๆ เหมือนกับนก ทีบินสู ง ๆ บางทีก็อาจเห็นทางออก ที่ดีของชี วิตเราก็ ่ ได้ ซึ่งความคิดเห็นนี้ถูกต้ องตามหลักแห่ งเหตุผล และสอดคล้ องกับหลักจริ ยธรรม หาก นาไปปฏิบัติกจะบังเกิดผลดีดังที่ผ้ ูพูดได้ กล่ าวไว้ ว่า “คนก็ต้องรู้ จักใช้ ชีวิตเป็ น ต่ อสู้ เป็ น ็ รู้ จักผ่ อนสั้ นผ่ อนยาว รู้ จักหากินตามทานองคลองธรรม ฯลฯ จึงจะอยู่รอดปลอดภัยและ ประสบผลสาเร็จในชีวต” ิ ฟั ง แล้ ว ได้ ค วา ม รู้ เพิ่มขึ้นอีกมากเลยคะ ครู จะอ่านสารที่ให้ฟังเป็ นเรื่ องที่ จัดว่าจรรโลงใจให้ฟังนะคะ ฟังแล้วคงสนุกมากแน่ ๆ เลยใช่ไหมครับ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๗
  • 15. ๖.๓ สารสาหรับ การฟังเพือความจรรโลงใจ ่ เดือน ๑๑ แรมค่า เป็ นวันออกพรรษา ฝนซึ่ งตกพราแฉะตลอดเวลา ๓ เดือน ่ ท้องฟ้ าซึ่งเคย “เห็นเมฆมืดเวหาฟ้ าคะนอง พยับฟองฝนสาดอยูปราดปราย” ก็เว้นว่างและ ห่ างหายไป เป็ นเวลากาลังหมดฤดู ฝน เมฆ ซึ่ ง เกลื่อนกลาดลอยเต็มทัวท้องฟ้ าก็ค่อยสู ญ ่ หายมลายไป ลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้ หรื อลมพัทยา ซึ่ งเคยพาเอาฝนสาดมาโดยแรงก็ แปร และกลายเป็ นลมว่า วพัดโชยเรื่ อย ๆ มาริ น ๆ ท าให้รู้สึ ก สดชื่ นหายอับ ชื้ นถนน หนทางก็หมาดแห้งไม่แฉะเหมือนเมื่อก่อนการทานาที่คร่ าเคร่ งมาหลายเดือนก็หมดภาระ ไปตอนหนึ่ งข้าวส่ วนมากก็ตกรวงแล้ว คอยแต่เวลาจะสุ ก และเกี่ยวได้เท่านั้น อากาศชื้ น ่ และมืดมัวก็เปลี่ยนเป็ นปลอดโปร่ งแจ่มใส ภูเขาซึ่ งอยูไกลเห็นลิบ ๆ ทางโน้น ไม่ได้เห็ น มาหลายเวลา บัดนี้ กลับเห็นเขียวชัดได้ถนัดในที่ไกลจะทาให้ใจคอของชาวบ้านเบิกบาน ไปด้วยธรรมชาติ ฤดูเข้าพรรษา ๓ เดือนผ่านไปแล้วข้าวก็หว่านแล้ว ดาแล้วกาลังจะแตก ่ รวง เป็ นพุมพวงไสวตระการตา อีกไม่ชาก็จะ เก็บเกี่ยวได้ ไม่เบิกบานสบายใจ ก็จะไปเบิก ้ บานสบายใจเอาเมื่อไหร่ ออกพรรษาแล้วและตลอดไปจนถึงกลางเดือน ๑๒ เป็ นเทศกาลทอดกฐิน ซึ่ ง เป็ นที่ ยินดี ปรี ดา และรื่ นเริ งของชาวบ้าน ด้วยจะได้มีโอกาสทาบุ ญสุ นทานควบไปกับ ความสนุ กร่ าเริ งใจ คนแต่ก่อนเคยพูดว่า “ทอดกฐินริ นหญ้า” ทอดกฐิ นนั้นเข้าใจ แต่ริน หญ้าหมายความว่าอะไร อยากทราบแต่ก็ไม่ทราบ ก่อนถึงวันทอดกฐิ น ชาวบ้านมักไป เลือกวัดที่จะทอด จะได้แล้วก็ไปจองล่วงหน้าไว้มกเลือกวัด หมู่บานอื่น เพื่อมีโอกาสแห่ ั ้ ั กฐินไปครึ กครื้ นอย่างสนุกสนาน และประสานสมัครสมานสามัคคี เป็ นไมตรี กบชาวบ้าน ่ โน้นซึ่ งเมื่อรู ้วาจะไปทอดกฐินที่วดหมูบานของเขาในวันใด ก็จะได้เตรี ยมการเพื่อ ั ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๘
  • 16. ต้อนรับตลอด จนเลี้ยงดูและเล่นสนุ กร่ วมสามัคคีวิสาสะกัน นอกนั้นงานทอดกฐินในที่ ไกลได้โอกาสเที่ยวเตร่ เปลี่ ยนภูมิประเทศให้เห็นแปลกไปจากที่เคยเห็นอย่างซ้ าซากอยู่ ทุกเมื่อเชื่อวัน ถ้าสิ่ งใดในหมู่บานโน้น มีแปลกหรื อมีใหม่ ก็จะได้รู้ดูเห็นด้วยตนเองแล้ว ้ ่ นาเอาสิ่ งดีมีอยูในถิ่ นนั้นจามาใช้เป็ นแบบ อย่างของตนบ้าง ปะเหมาะอาจพบเนื้ อคู่อยู่ที่ นันก็ได้ เหตุฉะนี้ประเพณี ทอดกฐินต่างถิ่นของชาวบ้านจึงถือว่าสาคัญและจาเป็ นเพราะ ่ ่ ได้ท้ งบุญกุศลและสนุกรื่ นเริ งประเพณี อย่างนี้ยอมมีค่าควรแก่ชีวิตคน จึงได้ประพฤติสืบ ั ต่อกันมาไม่ขาดสาย เท่ากับเป็ นการศึกษาโดยปริ ยายของคนแต่ก่อน ฝึ กตนให้เป็ นคนใจ บุญรู ้ค่าและคุณของความสามัคคี จิตใจร่ าเริ งไม่คบแค้น ั (ผูแต่ง พระยาอนุมานราชธน) ้ ข้ อสั งเกตจากการฟัง เรื่องทีนามาอ่านให้ ฟังนี้ เป็ นเรื่ องทีฟังแล้วทาให้ มีจิตใจแช่ มชื่ น เกิดจินตนาการถึง ่ ่ สภาพธรรมชาติในหมู่บ้านชนบทในช่ วงเทศกาลทอดกฐิ น คือระหว่ างเดือนสิ บเอ็ดแรม หนึ่งค่าถึงเดือนสิ บสองขึ้นสิ บห้ าค่า ซึ่ งเป็ นปลายฤดู พ้ นฤดูกาลทางานของชาวนา ข้ าว กาลังแตกรวง ฯลฯ ซึ่งเป็ นภาพทีน่ารื่นรมย์ ่ นอกจากความแช่ มชื่ นจิตใจซึ่ งเกิดจิ นตนาการตามถ้ อยคาของผู้เขียนแล้ ว คุณค่ า ของเรื่ อ งนี้ ยั ง อยู่ ที่ ก ารจรรโลงให้ เ กิด ความรั ก และเห็ น คุ ณ ค่ า ของประเพณีท อดกฐิ น ที่เกิดขึ้นแก่ ตนเอง เช่ น “ได้ โอกาสเที่ยวเตร่ เปลี่ยนภูมิประเทศให้ เห็นแปลกไป จากที่เคย เห็นอย่ างซ้าซากอยู่ทุกเมื่อเชื่ อวัน.......ปะเหมาะ อาจพบเนื้อคู่อยู่ที่นั่นก็ได้ ” และจูงใจให้ เห็นคุณค่ าของการทอดกฐิ นทีมีต่อสั งคม ในด้ านการประสานสามัคคีระหว่ างกันด้ วย ่ เราเคยได้ ฟังเรื่ องการทอดกฐิ นมามากมาย แต่ ส่ว นใหญ่ มักกล่ าวถึงเรื่ องราวตาม ที่ปรากฏในทางศาสนาหรื อวิธีการจัดการทอดกฐิ น ไม่ ค่อยมีผ้ ูเล่ าเรื่ องการทอดกฐิ น ใน แนวที่ ท าให้ จิ ต ใจแจ่ ม ใสนึ ก ถึ ง บรรยากาศความรื่ น เริ ง และคุ ณ ค่ า ของประเพณี ก าร ทอดกฐิน ดังเช่ น เรื่องทีได้ ฟังนี้ ่ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๖๙
  • 17. ๗. การสรุปความจากการฟัง การสรุ ปความจากสิ่ งที่ ได้ฟังอย่างถู กต้อง เป็ นทักษะที่สาคัญอย่างหนึ่ งของ การฟัง เพราะผูฟังที่จะนาเรื่ องที่ได้ฟังไปเผยแพร่ ต่อไป หรื อเพื่อการวิพากษ์วิจารณ์ได้ ้ อย่างถูกต้อง ต้องสามารถสรุ ปความจากการฟัง มีดงนี้ ั ๑) เริ่ มการฝึ กฟังโดยการบันทึกเรื่ องที่ได้ฟังลงในแถบบันทึกเสี ยงแล้วเปิ ดฟัง หลาย ๆ ครั้งเพื่อจับประเด็นสรุ ปใจความ ๒) พัฒนาตนเองขึ้นโดยการบันทึกสรุ ปการฟั งในสถานการณ์ จริ งพร้ อม กับบันทึกเรื่ องราวในแถบบันทึ กเสี ยงแล้วนามาเปิ ดฟั งเป็ นการทดสอบว่า สามารถ สรุ ปความและบันทึกได้ถูกต้องหรื อไม่ ๓) เมื่ อมี ค วามช านาญแล้ว จึ ง ฟั ง สรุ ป ความในสถานการณ์ จ ริ ง ต่ อไป อย่างไรก็ตามวิธีการฟังโดยสรุ ปความด้วยตนเองพร้อมไปกับวิธีบนทึกเสี ยง จะเป็ นวิธี ั ที่ดีที่สุด (ในทางปฏิบติการฝึ กการฟั งในตอนนี้ ควรใช้วิธีขอให้ผอื่นอ่านข้อความที่ยก ั ู้ มานี้ บันทึ กลงในแถบบันทึ กเสี ยง แล้วนามาเปิ ดฟั งไม่ควรสรุ ปโดยวิธีการอ่านจาก หนังสื อ) สรุ ปจากการฟังได้ใจความว่าอย่างไร.. ั ค่อย ๆ คิดและวิเคราะห์กนนะคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๐
  • 18. ๘. การบันทึกสรุปความสิ่งที่ได้ ฟัง สิ่ งที่ควรบันทึก เพื่อสรุ ปความสิ่ งที่ได้ฟัง มีดงนี้ ั ๑) แหล่งที่มาของเรื่ อง เช่น เรื่ องอะไร ใครเป็ นผูพูด ้ พูดเมื่อไร ที่ไหน ๒) สาระสาคัญของเรื่ องนั้น แต่ละตอน ๓) ถ้าจะมี ขอคิ ดเห็ นหรื อข้อสังเกตเพิ่มเติม ก็ทาได้ ้ แต่ตองแยกออกให้เห็นว่า ส่ วนใดเป็ นสิ่ งที่สรุ ปความจากการฟั ง ส่ วน ้ ใดเป็ นข้อ สัง เกตหรื อข้อ คิ ด เห็ น ของผูบน ทึ ก ขอให้ล องบั นทึ ก สรุ ป ้ ั ข้อความต่อไปนี้ (ครู จะหาผูที่เหมาะสมอ่านให้นกเรี ยนฟั ง หรื อครู อ่าน ้ ั บันทึ ก ลงในแถบบัน ทึ ก เสี ย งแล้วเปิ ดให้นัก เรี ย นฟั ง ๒-๓ เที่ ย ว ให้ นักเรี ยนสรุ ปสาระสาคัญ) ทาไมเราถึงต้องบันทึกด้วยหรื อครับ การบันทึกเป็ นการช่วยให้ เราจดจาได้ดีข้ ึนไงคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๑
  • 19. ๙. ความหมายของการดู การดู เป็ นทักษะการรับสารที่มกจะเกิดขึ้นพร้อมกับทักษะการฟั ง เพราะสารบาง ั ประเภทต้องใช้ท้ งสายตาและหู ไปพร้ อมกัน เช่ น การดู ภาพยนตร์ ละคร คอนเสิ ร์ต ั หรื อการแสดงอื่น ๆ ที่ มีการใช้เสี ยงประกอบ เป็ นต้น ดู ตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายว่า “ใช้สายตาเพื่อให้ เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร การดู เป็ นการรับสารจากสื่ อภาพและเสี ยง มีล กษณะเช่นเดียวกับการฟั ง เพราะ ั การดู ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นการรั บ สารทางสายตาและหู ไ ปพร้ อ ม ๆ กัน ผู ้ดู ส ามารถแสดง ทรรศนะได้จากการรับรู ้ สาร ตีความ แปลความ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าสารจากสื่ อ เช่น การดูโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ละคร ภาพยนตร์ หนังสื อการ์ ตูน ซึ่ งแม้จะไม่มีเสี ยง แต่มี ถ้อยคาอ่านแทนเสี ยงพูด ผูดูจะต้องรั บรู ้ สารจากการดู แลและนามาวิเคราะห์ สาร ้ ตีความ ประเมินคุณค่าของสารที่เป็ นเนื้อเรื่ องโดยใช้ความคิดพิจารณาเช่นเดียวกับการรับ สารในรู ปแบบอื่น ๆ การดูทาให้เรามองเห็นได้ดวยตาตนเอง ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๒
  • 20. ๑๐. ประเภทและหลักในการดู ประเภทของการดู ๒ ประเภท คือ ๑. การดูที่ผูดูไม่มีส่วนร่ วมในกระบวนการสื่ อสาร เป็ นการดูจาก ้ สื่ อ มวลชน โดยผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผู ้ดู ไ ม่ ส ามารถแสดงปฏิ กิ ริ ย า ตอบสนองให้ผูส่งสารรั บ ทราบในขณะที่ ดูได้ ได้แก่ รายการ โทรทัศ น์ ้ เช่ น ภาพยนตร์ เรื่ องยาว การ์ ตูน สารคดี ทอล์ค โชว์ มิ วสิ ควีดีโอ เกมโชว์ ดนตรี เพลง วีดีทศน์ วีซีดี ดีวดี เป็ นต้น ั ี ๒. การดูที่ผูดูมีส่วนร่ วมในกระบวนการสื่ อสาร เป็ นการสื่ อสาร ้ ต่อหน้าที่ผดูมีโอกาสแสดงปฏิกิริยาตอบสนองได้ในทันที เช่น การดูละคร ู้ เวที โขน คอนเสิ ร์ต การแสดงนิทรรศการต่าง ๆ เป็ นต้น เข้าใจไหมคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๓
  • 21. หลักในการดู การดูเพื่อให้ได้รับประโยชน์ มีดงนี้ ั ๑) การดูโทรทัศน์ นอกจากจะดูหลาย ๆ รายการเพื่อให้ทราบถึ งความนิ ยมและ ความเคลื่อนไหวในสังคมเป็ นการเปิ ดโลกทัศน์ให้กว้างขวางแล้ว ควรเลือกรายการที่ดีมี ประโยชน์ ได้แก่ ๑.๑) รายการที่ ให้ค วามรู ้ เพื่อเพิ่มพูนสติ ปัญญาและพัฒนาสมรรถภาพการ เรี ยนรู ้ เช่น ข่าว สารคดี รายการส่ งเสริ มวัฒนธรรม เป็ นต้น ๑.๒) รายการแสดงความคิดเห็ นต่าง ๆ ทาให้รู้จกการพิจารณาความคิดเห็ นที่ ั หลากหลาย เช่ น รายการวิเคราะห์ข่าวการเมื อง เศรษฐกิ จ สังคม หรื อปั ญหาที่ คนทัวไป ่ กาลังสนใจ ๑.๓) รายการบันเทิงที่มีสาระความรู ้ ส่ งเสริ มคุ ณธรรม ให้ขอคิด หรื อความ ้ จรรโลงใจ ไม่ควรดูแต่รายการที่เน้นแต่ความบันเทิงเพียงอย่างเดียว ๒) การดูภาพยนตร์ ละคร ดีวีดี วีซีดี วีดีทศน์ ควรพิจารณาเลือกดูเรื่ องที่เหมาะสม ั กับวัย ไม่เป็ นเรื่ องที่แสดงถึงความรุ นแรง หรื อเสื่ อมเสี ยศีลธรรม ๓) ควรดูเรื่ องต่าง ๆ ร่ วมกับผูอื่น โดยเฉพาะผูที่มีวยวุฒิสูงกว่า เพื่อจะได้มีโอกาส ้ ้ ั แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่ องที่ดู อันจะเป็ นแนวทางให้ได้รับความรู้และความคิดเห็นใน เรื่ องต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ๔) ดูอย่างใช้ความคิด ระหว่างที่ดูเรื่ องต่าง ๆ ควรใช้ความคิดพิจารณาไปด้วย ไม่ ดูเพื่อความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการดูคุมค่ากับเวลา ้ ๕) ควรดูจากสื่ อหลาย ๆ ประเภท หลาย ๆ รายการ เพื่อให้ได้รับสารที่สมบูรณ์ ครบถ้วนทุกแง่มุม โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๔
  • 22. ๑๑. มารยาทในการดู มารยาทเป็ นสิ่ งสาคัญและจาเป็ นในทุกโอกาส มารยาทในการดูที่เป็ นสากล นิยมและควรทราบ มีดงนี้ ั ๑) เดินทางไปถึงสถานที่ที่มีการแสดงก่อนเวลาอย่างน้อย ๑๕ นาที เพื่อจะ ได้มีเวลาจัดหาที่นงให้เป็ นระเบียบ ไม่รบกวนผูอื่น ขณะที่รอชมการแสดงควรอยู่ ั่ ้ ในความสงบและสารวมกิริยา ๒) แต่งกายให้ถูกกาลเทศะ ถ้าเป็ นการชมการแสดงในโอกาสที่เป็ นทางการ ควรสวมเสื้ อผ้า แบบสากลนิยม มีสีสันและรู ปแบบเรี ยบร้อย ไม่สวมรองเท้าแตะหรื อ รองเท้าฟองน้ า ๓) ให้เกี ย รติ ผูแสดงด้วยการปรบมื อ เมื่ อมี ก ารแนะนาตัวหรื อเริ่ มแสดง ้ และควรปรบมือแสดงความขอบคุณอีกครั้งเมื่อมีการแสดงสิ้ นสุ ดลง การนังสนทนากัน เป็ นมารยาทที่ดีแบบหนึ่ง ่ ใช่หรื อ ั พวกเราต้องถามคุณครู กน ถูกต้องแล้วคะ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๕
  • 23. ๔) แสดงกิริยาอาการสารวมขณะที่ชมการแสดง แสดงความสนใจ ไม่นงไขว่ห้าง ั่ หรื อเอนหลังตามสบาย หรื อนังหลับ ไม่พดคุยหรื อวิพากษ์วจารณ์ในขณะที่มีการแสดง ไม่ ู ิ ่ แสดงกิริยาไม่สุภาพ เช่น โห่ ฮา เป่ าปาก ปรบมือ กระทืบเท้า แสดงความพอใจหรื อไม่ พอใจ ๕) ไม่ลุกออกจากที่นงก่อนการแสดงจบลง หากมีกิจธุ ระจาเป็ นควรขอโทษผูที่ ั่ ้ นังข้างเคียงและเลี่ยงออกไปเงียบ ๆ ่ ๖) ไม่นาอาหารและเครื่ องดื่ มเข้าไปรับประทาน เพราะเป็ นการเสี ยมารยาทและ รบกวนผูอื่น ้ ๗) ไม่ใช้เครื่ องมือสื่ อสารทุกชนิ ดในโรงภาพยนตร์ โรงละคร หรื อสถานที่ที่จด ั ให้มีการแสดงโดยเฉพาะ เพราะนอกจากจะเป็ นการเสี ยมารยาทแล้ว ยังเป็ นการรบกวน การแสดงด้วย มีใครสงสัยอะไรที่เรี ยนผ่านไป แล้วหรื อเปล่าคะ พวกเราเข้าใจกันแล้วครับผม โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๖
  • 24. เรามาทากิจกรรมเสนอแนะ ท้ายบทที่ ๕ กันนะคะ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๕ ให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้ ิ ๑. แบ่งกลุ่ม ช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการฟังว่า สาเหตุที่ทาให้นกเรี ยนฟั งไม่ ั เข้าใจจับใจความสาคัญไม่ได้ ช่ วยกันเสนอแนะวิธีแก้ไข แล้วให้แต่ละกลุ่ ม สรุ ปและรายงานผล ๒. บันทึ ก เรื่ องที่ไ ด้ดูม าคนละ ๑ เรื่ อง ระบุ ว่า เป็ นสารประเภทใด เป็ นสารที่ มี ่ ประโยชน์หรื อโทษอย่างไรแล้วคัดเลือกผลงานที่อยูในเกณฑ์ดี เย็บเข้าเล่มเก็บ ไว้เป็ นแหล่งข้อมูล ๓. ฟั งรายการที่เห็นว่ามีประโยชน์บนทึกข้อมูลลงในกระดาษการ์ ดอธิ บายเหตุผล ั ที่เลือกฟังรายการนั้นเก็บรวบรวมใส่ กล่องไว้ศึกษา โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๗
  • 25. แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๕ จงตอบคาถามต่ อไปนี้ ๑. การฟัง การดู มีความสาคัญต่อการดาเนินชี วตประจาวันของคนเราอย่างไร ิ ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ๒. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ๓. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... ……………………………………………………………………………………….................... โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๘
  • 26. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๕ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวมเป็ น ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------๑. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของการฟัง การดูได้ถูกต้อง ก. การได้ยนได้เห็น ิ ข. การรับสารจากการฟัง การดู ค. การเลือกสื่ อสารทางหูและทางตา ง. การรับรู ้และเข้าใจความหมายจากสิ่ งที่ได้ยน ได้ดู ิ ๒. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารเรื่ องการระบาดของไข้เลือดออก จัดเป็ นสารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มน้าวใจ ค. สารให้ความบันเทิง ง. สารให้ความจรรโลงใจ ๓. ข้อใดเป็ นกระบวนการสุ ดท้ายของการฟัง การดู ก. ยอมรับ ข. ตีความ ค. เข้าใจ ง. นาไปใช้ ๔. ข้อใดเป็ นมารยาทที่ควรแสดงออกในการฟัง การดู เมื่อมีความพึงพอใจ ก. หัวเราะ โห่ร้องอย่างสะใจ ข. เป่ าปาก ตะโกนเชียร์เสี ยงดัง ค. หัวเราะ ปรบมือทุกครั้งที่ถูกใจ ง. โห่ร้อง กระทืบเท้าด้วยความมัน ๕. ข้อใดเป็ นหลักการฟัง การดูที่ดี ก. ฟังเพราะผูส่งสารมีบุคลิกดี ้ ข. ฟังเพราะผูส่งสารเป็ นผูมีชื่อเสี ยงน่าเชื่อถือ ้ ้ ค. ฟังเพราะผูส่งสารมีความสนิทสนมเป็ นการส่ วนตัว ้ ง. ฟังเพราะผูส่งสารส่ งสารได้ตรงความสนใจของตน ้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๗๙
  • 27. ๖. ถ้าฟังแล้วบอกสาระสาคัญของเรื่ องได้ แสดงว่ามีความสามารถในการฟังระดับใด ก. ขั้นได้ยน ิ ข. ขั้นเข้าใจ ค. ขั้นตีความ ง. ขั้นยอมรับ ๗. “เครื่ องทองจากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะและวัดมหาธาตุ เป็ นหลักฐานที่สะท้อนให้ ั เห็ นถึ งความเจริ ญมังคังของกรุ งศรี อยุธยา และความเป็ นเลิ ศในด้านฝี มือการช่าง” ข้อความ ่ ่ ข้างต้นจัดเป็ นสารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มน้าวใจ ค. สารให้ความบันเทิง ง. สารให้ความจรรโลงใจ ๘. “งิ้วนรกสิ บหกองคุลีแหลม ดังขวากแซมเสี้ ยมแทรกแตกไสว ใครทาชูคู่ท่านครั้นบรรลัย ้ ก็ตองไปปี นต้นน่าขนพอง” ้ บทกลอนข้างต้นจัดเป็ นสารชนิดใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มน้าวใจ ค. สารให้ความบันเทิง ง. สารให้ความจรรโลงใจ ่ ๙. รายการโทรทัศน์ เช่น คนชราที่ลูกหลานทิ้งให้อยูคนเดียว แล้วเชิญชวนให้ผชมบริ จาค ู้ จัดเป็ นสารประเภทใด ก. สารให้ความรู้ ข. สารโน้มน้าวใจ ค . สารให้ความบันเทิง ง. สารให้ความจรรโลงใจ ๑๐. จากโจทย์ขอ ๙ ผูที่ส่งเงินไปบริ จาค แสดงว่าผูดูรายการผ่านกระบวนการรับสารขั้นใด ้ ้ ้ ก. ขั้นยอมรับ ข. ขั้นตีความ ค. ขั้นเข้าใจ ง. ขั้นนาไปใช้ โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๘๐
  • 28. ทาแบบทดสอบเสร็จแล้ วอย่าลืมตรวจ กับเฉลยดูนะ (กรณีที่เรี ยนบทเรี ยนนี ้ ด้ วยตนเอง) เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๕ สาหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๕ (หรือคาตอบ ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๘๑
  • 29. เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๕ ๑. การฟัง การดู มีความสาคัญต่อการดาเนินชี วตประจาวันของคนเราอย่างไร ิ ตอบ เนื่องจากในชีวิตประจาวันของคนเรา นิยมส่ง สารด้ วยการพูด พร้ อมกับแสดง อวัจนภาษาประกอบ ดังนัน ในการรับสารจึงต้ องใช้ ทกษะการฟั ง การดูที่มีประสิทธิภาพ ้ ั เพื่อให้ การติดต่อ สื่อสารประสบผลสาเร็จ ๒. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร ตอบ การฟั ง การดู ให้ ประโยชน์ตอตนเอง ดังนี ้ ่ ๑) ทาให้ การติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวันราบรื่ น เกิดความเข้ าใจซึงกันและกัน ่ ระหว่างผู้ที่ติดต่อสัมพันธ์กน ั ๒) ทาให้ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ได้ ผอนคลายความตึงเครี ยด ่ ๓) ทาให้ ได้ รับความรู้ ทังความรู้เฉพาะด้ านและความรู้ทวไป ก่อให้ เกิดการพัฒนา ้ ั่ ตนเอง มีความเจริญก้ าวหน้ าทังในด้ านการศึกษาและอาชีพการงาน ้ ๔) ทาให้ ได้ คติชีวิตและความจรรโลงใจ สามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันก่อให้ เกิด ความสุขในชีวิต ๓. การฟัง การดู ให้ประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ตอบ การฟั ง การดู ให้ ประโยชน์ตอสังคม ดังนี ้ ่ ๑) ทาให้ สงคมเกิดการพัฒนา มีความเจริญก้ าวหน้ าเท่าเทียมอารยประเทศ ั ๒) ทาให้ เกิดความเข้ าใจที่ดีตอกัน เกิดความรักความสามัคคีตอกัน และทาให้ สงคม ่ ่ ั เกิดความสงบสุข (หรือคาตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน) โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั หน้ า ๑๘๒
  • 30. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๕ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ๑. ข. ๖. ง. ๑. ง. ๖. ข. ๒. ค. ๗. ค. ๒. ก. ๗. ก. ๓. ข. ๘. ข. ๓. ง. ๘. ง. ๔. ก. ๙. ง. ๔. ค. ๙. ข. ๕. ข. ๑๐. ข. ๕. ง. ๑๐. ง. การฟังให้ปฏิบติดงนี้ ฟังแบบตั้งใจ ฟังอย่างมีสมาธิ ั ั และฟังอย่างมีสติ จะทาให้การฟังนั้น ั มีประโยชน์กบเรามากนะคะ ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว ได้คะแนนเต็มเลยสิ เก่งจังเลย เกณฑ์ การตัดสิ น ระดับ 0 – 4 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุ ง ระดับ 5 – 6 คะแนน พอใช้ ระดับ 7 – 8 คะแนน ดี ระดับ 9 – 10 คะแนน ดีมาก โดยครู อมพร ศรีพทกษ์ ั ิ ั สรุ ปผลการประเมิน ่  ผ่าน  ไม่ผาน คะแนนทีได้ ่ ระดับคุณภาพ ……… ………. หน้ า ๑๘๓