SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
Télécharger pour lire hors ligne
วัฏจักรสารในระบบ
นิเวศ
(material cycle)ธาตุต่าง ๆ ที่จำาเป็นและเป็น
องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตมี
การหมุนเวียนผ่านโซ่อาหาร
เรียกว่า วัฏจักรของสาร
เป็นวัฏจักรจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่
สิ่งมีชีวิต และจากสิ่งมีชีวิตถูกปลด
ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม อีกเป็น
เช่นนี้เรื่อยๆ ไป
วัฏจักร
นำ้า
วัฏจักร
คาร์บอน
วัฏจักร
ไนโตรเจน
วัฏจักร
ฟอสฟอรัส
วัฏจักร
กำามะถัน
คำาถามหน้า 51
ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของชีวโมเลกุล
นั้นมีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร และ
เพราะเหตุใด
สารชีวโมเลกุลในเซลล์สิ่งมีชีวิต
• เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน
กรดนิวคลีอิก
• ประกอบด้วยธาตุหลักที่สำาคัญ คือ C H
O และ N และอาจมี ธาตุอื่นๆ อีก เช่น
P และ S
ความสำาคัญของสารชีวโมเลกุล
 เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์
 เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
 เป็นองค์ประกอบของฮอร์โมน
คำาถามหน้า 51
การหมุนเวียนสารและการถ่ายทอด
พลังงานในระบบนิเวศเหมือนหรือแตกต่าง
กันอย่างไรส่วนที่เหมือนกัน คือ
มีการถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลำาดับ
ต่าง ๆ เป็นขั้น ๆ จนถึง ผู้สลายสารอินทรีย์
ส่วนที่ต่างกัน คือ
 การถ่ายทอดพลังงานไม่เป็นวัฏจักร พลังงานที่
ถ่ายทอดไม่สูญหาย แต่มีการเปลี่ยนรูป
 การหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักร
เริ่มจากแหล่งธาตุอาหาร(เป็นสารอนินทรีย์)
- ในรูปของแร่ธาตุ ซึ่งพืชนำาไปใช้ใน
กระบวนการเจริญเติบโต
คำาถามหน้า 51
สิ่งมีชีวิตได้รับแร่ธาตุและสารอาหาร
ต่าง ๆ โดยวิธีการใดบ้าง
สิ่งมีชีวิตได้รับแร่ธาตุและสารอาหารต่าง ๆ
โดยกระบวนการ
1.การลำาเลียงในพืช
2.การลำาเลียงสารผ่านเซลล์ด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ เช่น ออสโมซิสและลำาเลียงสาร
โดยอาศัยตัวพาในสิ่งมีชีวิต
3.การกินอาหาร และการดูดซึมอาหาร
วัฎจักรนำ้า(water
cycle)
คำาถามหน้า 52 การหมุนเวียนของนำ้าเกิด
จากกระบวนการต่าง ๆ ที่สำาคัญได้แก่
กระบวนการใดบ้าง การระเหยของ
นำ้า(evaporation) การควบแน่นของ
นำ้า(condensation) การคายนำ้าของ
 การขับถ่ายของ
สัตว์(excretion)
 การ
หายใจ(respiration)
คำาถามหน้า 52
วัฏจักรนำ้าที่เกิดโดยผ่านกระบวนการใน
สิ่งมีชีวิต ได้แก่ กระบวนการใดบ้าง และ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับกระบวนการที่ไม่ผ่านสิ่ง
มีชีวิตอย่างไรวัฏจักรนำ้าที่เกิดโดยผ่านกระบวนการในสิ่ง
มีชีวิต ได้แก่
- การคายนำ้าของพืช
- การหายใจของสิ่งมีชีวิต
- การขับถ่ายของสัตว์
กระบวนการที่ไม่ผ่านสิ่งมีชีวิต คือ การ
ระเหยของนำ้ากลายเป็นไอ , ไอนำ้า
ในบรรยากาศเมื่อกระทบความเย็น
ควบแน่นแล้วตกเป็นหยาดนำ้าจากฟ้า
ลงสู่แหล่งนำ้าในธรรมชาติ
วัฏจักร
คาร์บอน(carbon
cycle)
คาร์บอ
น (C)
 เป็นธาตุที่สำาคัญของสารประกอบ
ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น
คาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน ฯลฯ เป็นองค์ประกอบของสารอนิ
นทรีย์ เช่น CO2
คาร์บอนเป็นธาตุที่มีการหมุนเวียนอยู่
ในระบบนิเวศเป็นวัฏจักร
1403271111115157 14092117175445
คำาถามหน้า 52
วัฏจักรคาร์บอนที่เกิดโดยผ่าน
กระบวนการในสิ่งมีชีวิต ได้แก่
กระบวนการใดบ้าง
กระบวนการในสิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้องใน
วัฏจักรคาร์บอน ได้แก่
- กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง(photosynthesis)
- กระบวนการสลายสาร
อินทรีย์(decomposition)
- กระบวนการหายใจ
คำาถามหน้า 52 วัฏจักรคาร์บอนที่
เกิดโดยกระบวนการอื่น ๆ ในชีวิตประจำา
วัน ได้แก่อะไรบ้าง
ได้แก่
- กระบวนการเผา
ไหม้(combustion)
- กระบวนการผุ
พัง(weathering)
คำาถามหน้า ๔๙
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการ
หมุนเวียนคาร์บอนกับการดำารงชีวิตของ
พืชและสัตว์
ความสัมพันธ์เริ่มจากพืชนำาแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ใบรรยากาศไปใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจากนั้นธาตุ
คาร์บอนจะมีการหมุนเวียน
ไปตามโซ่อาหารในระบบนิเวศ ในสภาพ
สารประกอบอินทรีย์ในเนื้อเยื่อ
ของสิ่งมีชีวิต และธาตุคาร์บอนจะหมุนเวียน
กลับแหล่งสะสมในบรรยากาศ
คำาถามหน้า 52
วัฏจักรคาร์บอนเกิดการเสียสมดุลได้
อย่างไร และมีผลกระทบต่อสภาพ
แวดล้อมอย่างไร
วัฏจักรคาร์บอนเกิดการเสียสมดุลได้โดย
การกระทำาของมนุษย์ เช่น
 การใช้นำ้ามันเชื้อเพลิงในยาน
พาหนะ(ปล่อย CO และ CO2)
 การตัดไม้ทำาลายป่าทำาให้แหล่งดูดซับ
CO2 ลดลง เกิดการสะสม CO2 เกิดปราก
ฎการณ์เรือนกระจก
วัฏจักร
ไนโตรเจน(nitroge
n cycle)
 เป็นองค์ประกอบของ
โปรตีนของสิ่งมีชีวิต
 พืชใช้ไนโตรเจนในรูปของสารประกอบ
เกลือแอมโมเนียม , เกลือไนไตรท์ และ
เกลือไนเตรต
แหล่ง
สะสม
แก๊สไนโตรเจนใน
บรรยากาศ ( 78 %)
กระบวนการสำาคัญใน
วัฏจักรไนโตรเจนo การตรึง
ไนโตรเจน(nitrogen
fixation)
o การเปลี่ยนสารประกอบไนโตรเจนเป็น
แอมโมเนียม(ammonification)
o การเปลี่ยนเกลือแอมโมเนียมเป็นไน
ไตรท์และไนเตรต(nitrification)o การเปลี่ยนไนเตรตกลับเป็นแก๊ส
ไนโตรเจนใน
บรรยากาศ(denitrification)
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
การตรึง
ไนโตรเจน(nitrogen
fixation)การเปลี่ยนแก๊สไนโตรเจน ใน
อากาศ ให้อยู่ในรูปของแอมโมเนีย
หรือไนเตรตที่พืชสามารถนำาไปใช้ได้
งมีชีวิตที่ตรึงไนโตรเจนได้
-ไรโซเบียม (Symbiotic Bacteria/
- Azotobacter Clostridium
Blue-green algae (free living)
การตรึงไรโตรเจน อาจเกิดจาก
ปฏิกิริยาฟ้าแลบ ฟ้าผ่า
 เมื่อพืชและสัตว์ตายลง ผู้ย่อยสลายพวก
ราและแบคทีเรียสามารถย่อยสลาย
ไนโตรเจนในสิ่งมีชีวิตให้กลับเป็น
แอมโมเนียมซึ่งพืชสามารถนำามาใช้ได้
ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า แอมโมนิฟิเค
ชัน (ammonification)
แอมโมนิฟิเคชัน (ammonification)
เกิดจากการกระทำาของ
Ammonifying bacteria เช่น
pseudomonasกรดอะมิโน/โปรตีน (จาก
ซากสิ่งมีชีวิต)
หรือ
ของเสียจากเมแทบอลิซึม
แอมโมเ
นีย
NH4 
+
   (ammonium)
 NO2 
- 
(nitrite)  NO3 
- 
(nitrate)
  ไนตริฟิเคชัน (nitrification)
แบคทีเรียบางชนิดใช้แอมโมเนียมในดิน
เป็นแหล่งพลังงานและทำาให้เกิดไนไตร
 ต์ (NO2 
-
) ซึ่งเปลี่ยนเป็นไนเตรตซึ่งพืช
ใช้ได้ด้วย
ดีไนตริฟิเค
 ชัน (denitrificatio
n)
NO3 
-
(nitrate)    NO2 
- 
(nitrite)   N2
O (nitrorous oxide)    N2
(nitrogen)
ในสภาพไร้
  ออกซิเจน แบคทีเรียบางชนิด
สามารถสร้างออกซิเจนได้เองจากไน
เตรต และได้ผลผลิตเป็นก๊าซ
ไนโตรเจนกลับคืนสู่บรรยากาศ
ต้นจอกบ่วาย หรือหยาดนำ้าค้าง
(Drosera sp.)
กาบหอยแครง (Venus Fly Trap)
หม้อข้าวหม้อ
แกงลิง
วัฏจักร
ฟอสฟอรัส(phosphorus
cycle)
ความสำาคัญของฟอสฟอรัส
ต่อสิ่งมีชีวิต
 เป็นส่วนประกอบของกรด
นิวคลีอิก เช่น
กรดดีออกซีไรโบนิวคลี
อิก (DNA)
 เป็นส่วนประกอบของ ATP
 ส่วนประกอบสำาคัญของ
กระดูกและฟัน
แหล่งของฟอสฟอรัส
ที่สำำคัญ
o ฟอสเฟตที่อยู่
ในดิน
o หิน
ฟอสเฟต
o ตะกอนที่ทับถม
ในทะเล
o ฟอสเฟตจำกกำรทำำเหมือง
แร่และปุ๋ย
o ฟอสเฟตจำกกำรใช้ผงซักฟอกที่
ปล่อยลงในแหล่งนำ้ำ
คำำถำมหน้ำ 55
วัฏจักรฟอสฟอรัสหมุนเวียนผ่ำน
กระบวนกำรของสิ่งมีชีวิตอย่ำงไร
เริ่มจำกืชดูดซึมฟอสเฟตที่ละลำยนำ้ำ
ได้ไปใช้ในกระบวนกำรสังเครำะห์ด้วย
แสง เป็นฟอสเฟตอินทรีย์
สัตว์ได้รับฟอสเฟตอินทรีย์จำกอำหำร
คือพืชและสัตว์ตำมลำำดับในโซ่อำหำร
เมื่อพืชและสัตว์ตำยลง แบคทีเรียบำง
ประเภทจะย่อยสลำยซำก ได้กรดฟอสฟ
อริก ซึ่งทำำปฏิกิริยำกับสำรในดินกลับคืน
ไปทับถมเป็นกองหินฟอสเฟตในดินในนำ้ำ
ต่อไป ทำำให้เกิดกำรหมุนเวียนเช่นนี้
ตลอดไป
คำำถำมหน้ำ ๕๑
สำรประกอบฟอสฟอรัสในผู้บริโภคกลำย
มำเป็นสำรประกอบฟอสฟอรัสในนำ้ำได้
อย่ำงไร
ฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
ในรูปของสำรชีวโมเลกุลซึ่งเป็นสำร
อินทรีย์ในพืชและผู้บริโภคลำำดับต่ำง ๆ
เมื่อสิ่งมีชีวิตตำยลงจะถูกย่อยสลำย
โดย phosphatizing bacteria กลำย
เป็นฟอสเฟตอนินทรีย์ที่ละลำยนำ้ำได้
(dissolved phosphate) เช่น CaHPO4
ซึ่งพืชสำมำรถนำำไปใช้ได้โดยตรง หรือ
บำงส่วนอำจตกตะกอนทับถมกันรวมเป็น
คำำถำมหน้ำ 55
สำรประกอบฟอสฟอรัสมีควำมสำำคัญต่อ
สิ่งมีชีวิตอย่ำงไร
ฟอสฟอรัสเป็นธำตุที่จำำเป็นมำกสำำหรับ
เซลล์ทุกชนิด เนื่องจำกเป็นส่วนประกอบ
ของกรดนิวคลีอิก ซึ่งเป็นสำรพันธุกรรม
และเป็นสำรที่ให้พลังำนสูง เช่น ATP
และ ADP และยังเป็นส่วนประกอบสำำคัญ
ของกระดูกและฟันในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ด้วย
วัฏจักรกำำมะถัน(sulfur
cycle)
ควำมสำำคัญของกำำมะถันต่อ
สิ่งมีชีวิต เป็นส่วนประกอบของ
โปรตีนในพืชและสัตว์ โดยเฉ
พำะกรดอะมิโนที่จำำเป็น เช่น
เมไทโอนีน ซีสเตอีน ทริป
โตเฟน
วัฏจักรกำำมะถัน(sulfur
คำำถำมหน้ำ 57
ธำตุกำำมะถันมีกำรหมุนเวียนผ่ำนใน
กระบวนกำรสิ่งมีชีวิตอย่ำงไร
พืชสีเขียวสมำรถดูดกำำมะถันไปใช้
ในรูปของสำรละลำยซัลเฟต เพื่อนำำไป
สร้ำงเป็นกลุ่มซัลฟ์ไฮดริล(sulfhydryl
หรือ –SH) ของ กรดอะมิโนและโปรตีน
เมื่อสัตว์กินพืชจะได้กำำมะถันในรูป
ของซัลฟ์ไฮดริลจำกพืช
เมื่อพืชและสัตว์ตำยจุลินทรีย์จะย่อยสลำย
ซำกพืชและสัตว์ ได้แก๊ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S)จุลินทรีย์พวก sulfur oxidizing bacteria
ออกซิไดซ์ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็น
ซัลเฟต ซึ่งพืชนำำไปใช้เป็นธำตุอำหำรได้
แหล่งกำำเนิดกำำมะถัน
ในธรรมชำติ
o แร่ธำตุใน
ดินo ในซำกพืช
ซำกสัตว์
o ในถ่ำนหินและนำ้ำมัน
ปิโตรเลียม
คำำถำมหน้ำ ๕๑
แหล่งกำำเนิดของกำำมะถันได้มำจำกที่ใด
บ้ำง
o ในบ่อนำ้ำ
พุร้อน
o ในบรรยำกำศ(รูป SO2)
ส่วนใหญ่ธำตุกำำมะถันที่อยู่ในรูปของแก๊ส
มักมีผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น แก๊สซัลเฟอร์
ไดออกไซด์ (เกิดจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิง เช่น
ถ่ำนหินลิกไนต์)แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์รวมตัวกับไอนำ้ำใน
อำกำศ เกิดเป็นกรดซัลฟิวริก
ฤทธิ์ของกรดซัลฟิวริกกัดกร่อนสิ่ง
ก่อสร้ำง(หินปูน หินอ่อน โลหะ)
คำำถำมหน้ำ ๕๑
ธำตุกำำมะถันที่อยู่ในรูปของแก๊สมีบทบำท
ที่สำำคัญต่อระบบนิเวศอย่ำงไนบ้ำง
ฤทธิ์ของกรดซัลฟิวริก ทำำลำยสิ่งทอ
ประเภทผ้ำฝ้ำย ไนล่อน หนังสัตว์ ยำง ทำำให้
พลำสติกเสื่อมคุณภำพเร็ว
ฤทธิ์ของกรด
ซัลฟิวริกต่อสิ่งมีชีวิต
อัตรำยต่อระบบ
ทำงเดินหำยใจ
ทำำลำยเนื้อเยื่อ
ปอด
ทำำลำยคลอโร
ฟิลล์
ทำำลำยเนื้อเยื่อภำยในของ
พืชทำำให้เป็นจุด เป็นรู แคระแก
รน ผลผลิตลดลง ผสมพันธุ์ไม่
ติดทำำลำยระบบนิเวศในป่ำไม้
และ แหล่งนำ้ำ
20. วัฎจักรของสำรใดในระบบ
นิเวศที่มีควำมสัมพันธ์กับกำรเกิด
ฝนกรดมำกที่สุด
1. คำร์บอน
2. กำำมะถัน
3. แคลเซียม
4. ไฮโดรเจน
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
lfur oxidizing bacteria มีบทบาทหน้าท
ก. ออกซิไดซ์ ไนเตรต
ให้เป็นไนไตรต์ข. ออกซิไดซ์ ไฮโดรซัล
ไฟด์ ให้เป็นซัลเฟตข. ออกซิไดซ์ ไนเตรต ให้
เป็นแอมโมเนีย
N2 NH3
NH4 
+
      NO3 
- 
ก.
ข.
ค.
NH4 
+
   (ammonium)
 NO2 
- 
(nitrite)  NO3 
- 
(nitrate)
NO3 
-
(nitrate)   
   N2
(nitrogen)
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445

transpira
tion
๒.๑ ผู้ผลิต
๒.๒ การ
สังเคราะห์
lfur oxidizing bacteria มีบทบาทหน้าท
ก. ออกซิไดซ์ ไนเตรต
ให้เป็นไนไตรต์ข. ออกซิไดซ์ ไฮโดรซัล
ไฟด์ ให้เป็นซัลเฟตข. ออกซิไดซ์ ไนเตรต ให้
เป็นแอมโมเนีย
N2 NH3
NH4 
+
      NO3 
- 
ก.
ข.
ค.
NH4 
+
   (ammonium)
 NO2 
- 
(nitrite)  NO3 
- 
(nitrate)NO3 
-
(nitrate)   
   N2
(nitrogen)
 วัฎรจักรของ
ฟอสฟอรัส

Contenu connexe

Tendances

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

1403271111115157 14092117175445

Notes de l'éditeur