SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
สิงแวดล้อมและ
                                         ่
ทรัพยากรธรรมชาติ
           สิ่งแวดล้อมมีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดจากการกระทำา
ของมนุษย์หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หิน แร่ธาตุ นำ้า
ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว์
ต่าง ๆ ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะมีการ
เปลียนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็นตัวการสำาคัญยิ่งที่
      ่
ทำาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสร้างและทำาลาย
           ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    ก. ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะที่นำามาใช้ได้ 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ
     1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไม่หมดสิ้น ได้แก่
1) ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย
เช่น พลังงาน จากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ่น ใช้เท่าไรก็ไม่มีการ
เปลียนแปลงไม่รู้จักหมด
        ่
 2) ประเภททีมีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกใช้ในทางที่ผิด
                          ่
เช่น ทีดิน นำ้า ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็นจะก่อให้เกิด
            ่
ปัญหาตามมา ได้แก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกันซำ้า ๆ ซาก ๆ ในที่
เดิม ย่อมทำาให้ดินเสื่อมคุณภาพ ได้ผลผลิตน้อยลงถ้าต้องการให้
ดินมีคุณภาพดีต้องใส่ปุ๋ยหรือปลูกพืชสลับและหมุนเวียน
          2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดสิ้นไป ได้แก่
1) ประเภททีใช้แล้วหมดไป แต่สามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไว้
                  ่
ได้ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
นำ้าเสียจากโรงงาน นำ้าในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม
ฯลฯ ซึ่งอาจทำาให้เกิดขึ้นใหม่ได้
2) ประเภททีไม่อาจทำาให้มใหม่ได้ เช่น คุณสมบัติธรรมชาติของ
                    ่               ี
ดิน พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปัญญา เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ ไม้
พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ป่า สัตว์บก สัตว์นำ้า ฯลฯ
3) ประเภททีไม่อาจรักษาไว้ได้ เมื่อใช้แล้วหมดไป แต่ยังสามารถ
                      ่
นำามายุบให้ กลับเป็นวัตถุเช่นเดิม แล้วนำากลับมาประดิษฐ์ขึ้นใหม่
เช่น โลหะต่าง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคำา ฯลฯ
4) ประเภททีใช้แล้วหมดสิ้นไปนำากลับมาใช้อีกไม่ได้ เช่น ถ่านหิน
                        ่
นำ้ามันก๊าซ อโลหะส่วนใหญ่ ฯลฯ ถูกนำามาใช้เพียงครั้งเดียวก็เผา
ไหม้หมดไป ไม่สามารถนำามาใช้ใหม่ได้
ข. สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ที่อยูรอบ ๆ ตัว ทังสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชวิต
                             ่           ้                      ี
ซึ่งเกิดจาก การกระทำาของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
2. สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือ
มนุษย์เสริมสร้างกำาหนดขึ้น
    สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จำาแนกได้ 2 ชนิด คือ
1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดิน ลักษณะ
ภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ ทัศนียภาพต่าง ๆ ภูเขา ห้วย
หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและ
ทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด
2) สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพหรือชีวภูมิศาสตร์ ได้แก่ พืชพันธุ์
ธรรมชาติต่าง ๆ สัตว์ปา ป่าไม้ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ทีอยู่รอบตัวเราและ
                         ่                        ่
มวลมนุษย์
สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์
เสริมสร้างขึ้น ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมทีมนุษย์เสริมสร้างขึ้น
                                               ่
โดยใช้กลวิธีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกิจ
การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์
รถยนต์ พัดลม โทรทัศน์ วิทยุ ฝนเทียม เขื่อน บ้านเรือน โบราณ
สถาน โบราณวัตถุท อื่น ๆ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย
ค่านิยม และสุขภาพอนามัย
     สิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งเกิดจาก
สาเหตุ 2 ประการ คือ
1) มนุษย์
2) ธรรมชาติแวดล้อม มนุษย์ เป็นตัวการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อ
ผลประโยชน์ของตนเอง มากกว่าสิ่ง อื่น เช่น ชอบจับปลาในฤดู
วางไข่ ใช้เครื่องมือถี่เกินไปทำาให้ปลาเล็ก ๆ ติดมาด้วย ลักลอบ
ตัดไม้ทำาลายป่า เพื่อนำามาสร้างที่อยู่อาศัย ส่งเป็นสินค้า หรือเพื่อ
ใช้พื้นที่เพาะปลูกปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนต์
ทำาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (นำ้าเน่า อากาศเสีย) ธรรมชาติ
แวดล้อม ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เช่น แม่นำ้าที่พัด
พาตะกอนไปทับถมบริเวณนำ้าท่วม และปากแม่นำ้าต้องใช้เวลานาน
จึงจะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดินก็เช่นเดียวกัน
ส่วนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นเกิดจากแรงภายในโลก เช่น
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อื่น ๆ ได้แก่ อุทกภัยและวาตภัย ไฟ
ป่า เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติดังกล่าวจะไม่เกิดบ่อยครั้งนัก
สรุป มนุษย์เป็นตัวการสร้าง และทำาลายสิ่งแวดล้อม
มากกว่าธรรมชาติ ความสำาคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ ได้แก่ ป่าไม้ สัตว์ปาและปลา นำ้า ดิน
                                              ่
อากาศ แร่ธาตุ มนุษย์และทุ่งหญ้า
     วิธีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ใช้ผ้าแทนกระดาษทิชชู เราใช้กระดาษทิชชูเช็ดมือ เช็ดหน้า
ปีละหลายล้านฟุต ซึงหมายถึง การโค่นต้นไม้ลงจำานวนมหาศาล
                     ่
ช่วยกันลดการใช้กระดาษทิชชูด้วยการวางผ้ามือไว้ใกล้อ่างล้าง
มือ แล้วใช้ผ้าเช็ดโต๊ะแทนการใช้กระดาษทิชชูเช็ด

2. ใช้ถุงพลาสติกซำ้าหลาย ๆ ครั้ง ประหยัดถุงพลาสติกได้โดย
การใช้ซำ้าหลาย ๆ ครั้ง หากถุงพลาสติกสกปรก ก็ให้ทำาความ
สะอาดแล้วแขวนไว้ให้แห้ง เพื่อส่งกลับเข้าโรงงานสำาหรับผลิต
ใหม่

3. แยกทิ้งเศษกระดาษจากขยะอื่น    โปรดหลีกเลี่ยงการทิ้งเศษ
กระดาษลงในถังกับขยะอื่น ๆ เพราะจะทำาให้กระดาษเปรอะเปื้อน
ไขมัน และเศษอาหารจะทำาให้เศษกระดาษนั้นนำาไปผลิตใหม่อีก
ไม่ได้

4. กระดาษทีนำาไปรีไซเคิลไม่ได้ กระดาษทีไม่สามารถนำาไปเข้า
             ่                               ่
กระบวนการผลิตใหม่เป็นกระดาษใช้ได้อีก ได้แก่ กระดาษที่
เคลือบด้วยขี้ผึ้ง กระดาษที่เข้าเล่มด้วยกรรมวิธีการละลายโดยใช้
ความร้อน เช่น สมุดโทรศัพท์ นิตยสารต่าง ๆ ตลอดจนกระดาษที่
ถูกเปรอะเปื้อนด้วยการชนิดที่ไม่ละลายนำ้า

5. หนังสือพิมพ์สามารถแก้ไขปัญหา ขยะกระดาษ แหล่งสร้าง
ขยะกระดาษที่สำาคัญก็คือหนังสือพิมพ์ หน้าที่เป็นขยะกระดาษ
โดย ผู้อ่านไม่ได้อ่าน ก็คือหน้าโฆษณาธุรกิจ ซึ่งมีอยู่ฉบับละ
หลาย ๆ หน้า ซึ่งแม้วาเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับหนังสือพิมพ์ แต่ ควร
                      ่
คำานึงว่า นั่นคือ การทำาลายกระดาษสะอาด และสร้างขยะกระดาษ
ให้เกิดขึ้นจำานวนมหาศาลในแต่ละวัน

6. เศษหญ้ามีประโยชน์ เศษหญ้าทีถูกทิ้งอยูบนสนามนั้น
                                     ่        ่
สามารถให้ประโยชน์ต่อสนามหญ้าได้มาก เพราะในเศษหญ้านั้น
มีธาตุอาหาร ทีมีคุณค่าเทียบเท่ากับปุ๋ย ทีใช้ใส่หญ้าทีเดียว
              ่                          ่
7. วิธีตัดกิ่งไม้ วิธีการตัดกิ่งก้านของต้นไม้ ไม้พุ่มใบไม้ ควรตัด
ให้เป็นเศษเล็กเศษน้อย เพื่อช่วยลดเศษขยะให้กับสวนได้ และทั้ง
ยังช่วยให้เกิดการเน่าเปื่อยขึ้นกับเศษใบไม้นั้นเร็วขึ้นด้วย

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
Quartz Yhaf
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jira Boonjira
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
พัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
maleela
 
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
theerajet
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
Thanyamon Chat.
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
crunui
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
Jiraporn
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการ ปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติโครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
โครงการปลูกป่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Similaire à สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
sedwong Pam
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
mingpimon
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
0846054411
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
krudararad
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
weerabong
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
juejan boonsom
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
Sutisa Tantikulwijit
 

Similaire à สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (20)

Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Porntipa 1
Porntipa 1Porntipa 1
Porntipa 1
 
Porntipa 1
Porntipa 1Porntipa 1
Porntipa 1
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

  • 1. สิงแวดล้อมและ ่ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมมีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดจากการกระทำา ของมนุษย์หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หิน แร่ธาตุ นำ้า ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว์ ต่าง ๆ ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะมีการ เปลียนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็นตัวการสำาคัญยิ่งที่ ่ ทำาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสร้างและทำาลาย ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก. ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะที่นำามาใช้ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไม่หมดสิ้น ได้แก่ 1) ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เช่น พลังงาน จากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ่น ใช้เท่าไรก็ไม่มีการ เปลียนแปลงไม่รู้จักหมด ่ 2) ประเภททีมีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกใช้ในทางที่ผิด ่ เช่น ทีดิน นำ้า ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็นจะก่อให้เกิด ่ ปัญหาตามมา ได้แก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกันซำ้า ๆ ซาก ๆ ในที่ เดิม ย่อมทำาให้ดินเสื่อมคุณภาพ ได้ผลผลิตน้อยลงถ้าต้องการให้ ดินมีคุณภาพดีต้องใส่ปุ๋ยหรือปลูกพืชสลับและหมุนเวียน 2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดสิ้นไป ได้แก่ 1) ประเภททีใช้แล้วหมดไป แต่สามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ ่ ได้ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน นำ้าเสียจากโรงงาน นำ้าในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ ซึ่งอาจทำาให้เกิดขึ้นใหม่ได้ 2) ประเภททีไม่อาจทำาให้มใหม่ได้ เช่น คุณสมบัติธรรมชาติของ ่ ี ดิน พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปัญญา เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ ไม้ พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ป่า สัตว์บก สัตว์นำ้า ฯลฯ 3) ประเภททีไม่อาจรักษาไว้ได้ เมื่อใช้แล้วหมดไป แต่ยังสามารถ ่ นำามายุบให้ กลับเป็นวัตถุเช่นเดิม แล้วนำากลับมาประดิษฐ์ขึ้นใหม่ เช่น โลหะต่าง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคำา ฯลฯ 4) ประเภททีใช้แล้วหมดสิ้นไปนำากลับมาใช้อีกไม่ได้ เช่น ถ่านหิน ่ นำ้ามันก๊าซ อโลหะส่วนใหญ่ ฯลฯ ถูกนำามาใช้เพียงครั้งเดียวก็เผา ไหม้หมดไป ไม่สามารถนำามาใช้ใหม่ได้
  • 2. ข. สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ที่อยูรอบ ๆ ตัว ทังสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชวิต ่ ้ ี ซึ่งเกิดจาก การกระทำาของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 2. สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือ มนุษย์เสริมสร้างกำาหนดขึ้น สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จำาแนกได้ 2 ชนิด คือ 1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดิน ลักษณะ ภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ ทัศนียภาพต่าง ๆ ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและ ทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด 2) สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพหรือชีวภูมิศาสตร์ ได้แก่ พืชพันธุ์ ธรรมชาติต่าง ๆ สัตว์ปา ป่าไม้ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ทีอยู่รอบตัวเราและ ่ ่ มวลมนุษย์ สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์ เสริมสร้างขึ้น ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมทีมนุษย์เสริมสร้างขึ้น ่ โดยใช้กลวิธีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ รถยนต์ พัดลม โทรทัศน์ วิทยุ ฝนเทียม เขื่อน บ้านเรือน โบราณ สถาน โบราณวัตถุท อื่น ๆ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ค่านิยม และสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งเกิดจาก สาเหตุ 2 ประการ คือ 1) มนุษย์ 2) ธรรมชาติแวดล้อม มนุษย์ เป็นตัวการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อ ผลประโยชน์ของตนเอง มากกว่าสิ่ง อื่น เช่น ชอบจับปลาในฤดู วางไข่ ใช้เครื่องมือถี่เกินไปทำาให้ปลาเล็ก ๆ ติดมาด้วย ลักลอบ ตัดไม้ทำาลายป่า เพื่อนำามาสร้างที่อยู่อาศัย ส่งเป็นสินค้า หรือเพื่อ ใช้พื้นที่เพาะปลูกปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนต์ ทำาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (นำ้าเน่า อากาศเสีย) ธรรมชาติ แวดล้อม ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เช่น แม่นำ้าที่พัด พาตะกอนไปทับถมบริเวณนำ้าท่วม และปากแม่นำ้าต้องใช้เวลานาน จึงจะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดินก็เช่นเดียวกัน ส่วนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นเกิดจากแรงภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อื่น ๆ ได้แก่ อุทกภัยและวาตภัย ไฟ ป่า เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติดังกล่าวจะไม่เกิดบ่อยครั้งนัก
  • 3. สรุป มนุษย์เป็นตัวการสร้าง และทำาลายสิ่งแวดล้อม มากกว่าธรรมชาติ ความสำาคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ ได้แก่ ป่าไม้ สัตว์ปาและปลา นำ้า ดิน ่ อากาศ แร่ธาตุ มนุษย์และทุ่งหญ้า วิธีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ใช้ผ้าแทนกระดาษทิชชู เราใช้กระดาษทิชชูเช็ดมือ เช็ดหน้า ปีละหลายล้านฟุต ซึงหมายถึง การโค่นต้นไม้ลงจำานวนมหาศาล ่ ช่วยกันลดการใช้กระดาษทิชชูด้วยการวางผ้ามือไว้ใกล้อ่างล้าง มือ แล้วใช้ผ้าเช็ดโต๊ะแทนการใช้กระดาษทิชชูเช็ด 2. ใช้ถุงพลาสติกซำ้าหลาย ๆ ครั้ง ประหยัดถุงพลาสติกได้โดย การใช้ซำ้าหลาย ๆ ครั้ง หากถุงพลาสติกสกปรก ก็ให้ทำาความ สะอาดแล้วแขวนไว้ให้แห้ง เพื่อส่งกลับเข้าโรงงานสำาหรับผลิต ใหม่ 3. แยกทิ้งเศษกระดาษจากขยะอื่น โปรดหลีกเลี่ยงการทิ้งเศษ กระดาษลงในถังกับขยะอื่น ๆ เพราะจะทำาให้กระดาษเปรอะเปื้อน ไขมัน และเศษอาหารจะทำาให้เศษกระดาษนั้นนำาไปผลิตใหม่อีก ไม่ได้ 4. กระดาษทีนำาไปรีไซเคิลไม่ได้ กระดาษทีไม่สามารถนำาไปเข้า ่ ่ กระบวนการผลิตใหม่เป็นกระดาษใช้ได้อีก ได้แก่ กระดาษที่ เคลือบด้วยขี้ผึ้ง กระดาษที่เข้าเล่มด้วยกรรมวิธีการละลายโดยใช้ ความร้อน เช่น สมุดโทรศัพท์ นิตยสารต่าง ๆ ตลอดจนกระดาษที่ ถูกเปรอะเปื้อนด้วยการชนิดที่ไม่ละลายนำ้า 5. หนังสือพิมพ์สามารถแก้ไขปัญหา ขยะกระดาษ แหล่งสร้าง ขยะกระดาษที่สำาคัญก็คือหนังสือพิมพ์ หน้าที่เป็นขยะกระดาษ โดย ผู้อ่านไม่ได้อ่าน ก็คือหน้าโฆษณาธุรกิจ ซึ่งมีอยู่ฉบับละ หลาย ๆ หน้า ซึ่งแม้วาเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับหนังสือพิมพ์ แต่ ควร ่ คำานึงว่า นั่นคือ การทำาลายกระดาษสะอาด และสร้างขยะกระดาษ ให้เกิดขึ้นจำานวนมหาศาลในแต่ละวัน 6. เศษหญ้ามีประโยชน์ เศษหญ้าทีถูกทิ้งอยูบนสนามนั้น ่ ่ สามารถให้ประโยชน์ต่อสนามหญ้าได้มาก เพราะในเศษหญ้านั้น มีธาตุอาหาร ทีมีคุณค่าเทียบเท่ากับปุ๋ย ทีใช้ใส่หญ้าทีเดียว ่ ่
  • 4. 7. วิธีตัดกิ่งไม้ วิธีการตัดกิ่งก้านของต้นไม้ ไม้พุ่มใบไม้ ควรตัด ให้เป็นเศษเล็กเศษน้อย เพื่อช่วยลดเศษขยะให้กับสวนได้ และทั้ง ยังช่วยให้เกิดการเน่าเปื่อยขึ้นกับเศษใบไม้นั้นเร็วขึ้นด้วย