SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย
   ้
 ชันมัธยมศึกษาตอนต้น

สาระพืนฐาน
      ้
ท 21101 ภาษาไทย 1                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต    60 ชัวโมง   ่
ท 21102 ภาษาไทย 2                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต    60 ชัวโมง     ่
ท 22103 ภาษาไทย 3                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60 ชัวโมง
                                                                  ่
ท 22104 ภาษาไทย 4                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60 ชัวโมง
                                                                    ่
ท 23105 ภาษาไทย 5                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60 ชัวโมง่
ท 23106 ภาษาไทย 6                  หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60 ชัวโมง  ่

สาระเพิมเติม
       ่
ท 20201 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาพื้นฐานการเรี ยน จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง่
ท 20202 เพลงกล่อมเด็ก             จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง
                                                            ่
ท 20203 วรรณกรรมพื้นบ้าน          จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง่
ท 20204 ภาษาไทยในแผ่นภาพ          จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง  ่
ท 20205 ภาษาไทยในบทเพลง           จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง    ่
ท 20206 การพัฒนาการอ่าน           จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง      ่
คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนต้น

ท 21101 ภาษาไทย 1 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย บทร้อยกรองที่เป็ นกลอนสุ ภาพ กลอน
สักวา กาพย์ยานี ๑๑ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆการอ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ การ
                                                                      ั
อ่านหนังสื อตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน
              คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่ อสาร
การบรรยายประสบการณ์ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ ที่เป็ นเรื่ องสั้น คาสอน โอวาท คา
ปราศรัย สุ นทรพจน์ การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อต่างๆ การเขียนจดหมาย
ส่ วนตัว มีมารยาทในการเขียน
พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูด
ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้ อหาโน้มน้าว มารยาทในการฟัง การดู และการพูด
              ศึกษาเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคา คาประสม คาซ้ า คาซ้อน คาพ้อง ชนิดและ
หน้าที่ของคา ภาษาพูด ภาษาเขียน
              ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง วรรณกรรมท้องถิ่น การวิเคราะห์คุณค่า
และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ท่องบทอาขยาน
ตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ
 มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.9 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท
5.1.5 (ม.1)
ท 21102 ภาษาไทย 2             จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
               อ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย บทร้อยกรอง ได้แก่
กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่ สุภาพ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ การ
อ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน
             ั
               การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน
สื่ อสาร การบรรยายประสบการณ์ การเขียนเรี ยงความเชิงพรรณนา การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ
ได้แก่ รายงาน ระเบียบ คาสั่ง บทสนทนาเรื่ องเล่าประสบการณ์ การเขียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสาระจากสื่ อต่างๆ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงาน มารยาทในการเขียน
พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงาน
การศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ ในชุมชน และท้องถิ่นของตน มารยาทในการฟัง การดู
และการพูด
               ศึกษาเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคา หน้าทีของคา ภาษาพูด ภาษาเขียน กาพย์ยานี
                                                      ่
๑๑ สานวนที่เป็ น คาพังเพยและสุ ภาษิต
ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์
ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง วรรณกรรมท้องถิ่น การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิด
จากวรรณคดีและวรรณกรรม บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ท่องบทอาขยานตามที่
กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.9 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท
5.1.5 (ม.1)
ท 22103 ภาษาไทย 3              จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                อ่านออกเสี ยงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถกต้อง จับใจความสาคัญสรุ ปความและ
                                                         ู
อธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนเรื่ องต่างๆ ที่
อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริ ง
ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าว หรื อ
                                                           ้
ความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อบทความหรื อคาประพันธ์อย่างหลากหลายและ
ประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวต มีมารยาทในการอ่าน
                                                                         ิ
                คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียน
ย่อความเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู ้
ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่านอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน
                พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ งข้อคิดเห็นและความ
                                                                     ้
น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด
มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่ องหรื อ
ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
                สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยค
ซ้อนแต่งบทร้อยกรอง ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่
ใช้ในภาษาไทย สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์
วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง     ิ
ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.8 ท 2.1.1 – ท 2.1.7 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.5 ท 5.1.1 – ท
5.1.5 (ม.2)
ท 22104 ภาษาไทย 4               จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                อ่านออกเสี ยงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถกต้อง จับใจความสาคัญสรุ ปความและ
                                                         ู
อธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนเรื่ องต่างๆ ที่
อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริ ง
ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าว หรื อ
                                                           ้
ความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อบทความหรื อคาประพันธ์อย่างหลากหลายและ
ประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวต มีมารยาทในการอ่าน
                                                                         ิ
                คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียน
ย่อความเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู ้
ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่านอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน
                พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ งข้อคิดเห็นและความ
                                                                     ้
น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด
มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่ องหรื อ
ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
                สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยค
ซ้อนแต่งบทร้อยกรอง ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่
ใช้ในภาษาไทย สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์
วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง     ิ
ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.8 ท 2.1.1 – ท 2.1.7 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.5 ท 5.1.1 – ท
5.1.5 (ม.2)
ท 23105          ภาษาไทย 5 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 อ่านออกเสี ยงคืออ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความปกิณกะ บท
                                                                ่
ร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ การ
อ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ ได้แก่ วรรณคดีในบทเรี ยน ข่าวและเหตุการณ์สาคัญ บทความ บันเทิง
คดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตานาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การอ่านตามความสนใจ ได้แก่หนังสื อ
อ่านนอกเวลา หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของนักเรี ยน หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยน
ร่ วมกันกาหนด มีมารยาทในการอ่าน
                 คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน
ข้อความตามสถานการณ์ และโอกาสต่างๆ ได้แก่คาอวยพรในโอกาสต่างๆ คาขวัญ คาคม โฆษณา
คติพจน์ สุ นทรพจน์ การเขียนอัตชีวประวัติหรื อชีวประวัติ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ เช่น
นิทาน ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ
การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ จดหมายแสดงความ
ขอบคุณ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่ องต่างๆ การเขียนวิเคราะห์
วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความคิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่นบทโฆษณา บทความทาง
วิชาการ การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนรายงาน
โครงงาน มีมารยาทในการเขียน
                 พูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการฟังและการดู การพูดวิเคราะห์
วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นการพูดใน
โอกาสต่างๆ เช่น การพูดโต้วาที การอภิปราย การพูดยอวาที การพูดโน้มน้าว มารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
                 ศึกษาคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คาทับศัพท์
คาศัพท์บญญัติ คาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ โคลงสี่ สุภาพ
         ั
                 ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี
พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี การวิเคราะห์วถีไทย และคุณค่า
                                                                            ิ
จากวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.10 ท 2.1.1 – ท 2.1.10 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 –
ท 5.1.4 (ม.3)
ท 23106          ภาษาไทย 6 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 การอ่านออกเสี ยงคืออ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความปกิณกะ
                                                                   ่
บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ
การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ ได้แก่ วรรณคดีในบทเรี ยน ข่าวและเหตุการณ์สาคัญ บทความ
บันเทิงคดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตานาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่ องราวจากบทเรี ยนใน
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การอ่านตามความสนใจ ได้แก่
หนังสื ออ่านนอกเวลา หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของนักเรี ยน หนังสื ออ่านที่ครู และ
นักเรี ยนร่ วมกันกาหนด มีมารยาทในการอ่าน
                 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน
ข้อความตามสถานการณ์ และโอกาสต่างๆ ได้แก่คาอวยพรในโอกาสต่างๆ คาขวัญ คาคม โฆษณา
คติพจน์ สุ นทรพจน์ การเขียนอัตชีวประวัติหรื อชีวประวัติ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ เช่น
นิทาน ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ
การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ จดหมายแสดงความ
ขอบคุณ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่ องต่างๆ การเขียนวิเคราะห์
วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความคิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่นบทโฆษณา บทความทาง
วิชาการ การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนรายงาน
โครงงาน มีมารยาทในการเขียน
                 การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการฟังและการดู การพูดวิเคราะห์
วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นการพูดใน
โอกาสต่างๆ เช่น การพูดโต้วาที การอภิปราย การพูดยอวาที การพูดโน้มน้าว มารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
                 คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คาทับศัพท์ คาศัพท์
บัญญัติ คาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ โคลงสี่ สุภาพ
                 วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม
สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี การวิเคราะห์วถีไทย และคุณค่าจาก
                                                                     ิ
วรรณคดีและวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.10 ท 2.1.1 – ท 2.1.10 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 –
ท 5.1.4 (ม.3)
คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระเพิมเติม
                                   ้              ่
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนต้น
ท 20201 ภาษาไทยเพือพัฒนาพืนฐานการเรียน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
                          ่        ้
คาอธิบายรายวิชา
                  การอ่านตาราทางวิทยาการ วรรณกรรม วรรณคดี บทความ สารคดี จากแหล่ง
เรี ยนรู ้ การวิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น การเขียนขยายความรู ้ การให้ขอสังเกตเรื่ องที่อ่าน การ
                        ้                                                 ้
เขียนบันทึกความรู ้ การทาบรรณานิทศน์หนังสื อ การอ้างอิงหนังสื อที่อ่าน
                                         ั

ท 20202 เพลงกล่อมเด็ก จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              การค้นคว้ารวบรวมเพลงเด็กแต่ละภาค การฝึ กร้องเพลงกล่อมเด็ก การถ่ายทอดเพลง
กล่อมเด็ก และการแสดงความคิดเห็น การใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารในการอนุรักษ์และเผยแพร่
เห็นคุณค่าของเพลงกล่อมเด็กในฐานะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

ท 20203      วรรณกรรมพืนบ้ าน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
                          ้
คาอธิบายรายวิชา
             การรวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน จากการสัมภาษณ์ สอบถาม หรื อแหล่งเรี ยนรู ้
นามาศึกษาด้วยการเขียนเป็ นโครงงาน ทางด้านเนื้อเรื่ อง คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
                             ่
ทางด้านภาษา ชีวิตความเป็ นอยูของคนไทย สังคมไทย หลักพินิจวรรณกรรม

ท 20204 ภาษาไทยในแผ่ นภาพ จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              การดูภาพกิจกรรมฝาผนังจากโบราณสถาน หรื อแผ่นภาพ แสดงความคิดเห็นเชิง
ศิลปะและเชิงวรรณคดี การเขียนอธิบาย การสรุ ปความ จัดลาดับความคิด การเขียนเรี ยงความเชิง
สร้างสรรค์ จากการดูแผ่นภาพด้วยความชื่นชม
              การฟัง ดู พูด นาเสนอความรู ้ ความคิด จิตรกรรมฝาผนังจากโบราณสถาน แผ่น
ภาพ ตามหลักทางทัศนศิลป์ โดยใช้ภาษาในการแสดงความคิดเห็นอย่างมีมรรยาท การดูและการ
เขียน
ท 20205 ภาษาไทยในบทเพลง จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              การฟังเพลงและการอ่านบทเพลง การวิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น แนวคิด
                                                      ้
คติ คุณค่าความไพเราะของท่วงทานอง การใช้ภาษา จุดประสงค์ ความรู ้สึกของผูแต่ง เหตุการณ์
                                                                        ้
สภาพสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม วิถีชีวิต หลักวิเคราะห์วรรณคดี
การใช้ถอยคา สานวน ความหมายของคาในบทเพลง มรรยาททางสังคม จากการแสดงออกทาง
       ้
นาฏศิลป์ การเต้นรา



ท 20206 การพัฒนาการอ่าน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
             การอ่านตาราวิทยาการ บทความ สารคดี การนายุทธศาสตร์ การอ่านเพื่อความเข้าใจ
ได้แก่ กระบวนการอ่าน การพูด และการเขียนเชิงวิทยาการ ได้แก่ การเขียนขยายความรู ้ เขียน
แนะนา เขียนบรรยาย อธิบายความรู ้ พูดอภิปราย พูดแสวงหาความรู ้
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย



สาระพืนฐาน
      ้
ท 31101 ภาษาไทย 1       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                        ่
ท 31102 ภาษาไทย 2       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                          ่
ท 32103 ภาษาไทย 3       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                            ่
ท 32104 ภาษาไทย 4       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                              ่
ท 33105 ภาษาไทย 5       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                ่
ท 33106 ภาษาไทย 6       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                  ่

สาระเพิมเติม
       ่
ท 30201 การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่วยกิต          60 ชัวโมง
                                                                     ่
ท 30202 การอ่านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่วยกิต
                                 ่                             60 ชัวโมง
                                                                       ่
ท 30203 ภาษาไทยเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต      60 ชัวโมง ่
ท 30204 ภาษาไทยที่ใช้ในสื่ อมวลชน จานวน 1.5 หน่วยกิต           60 ชัวโมง   ่
ท 30205 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง       จานวน 1.5 หน่วยกิต        60 ชัวโมง
                                                                   ่
ท 30206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต          60 ชัวโมง    ่
คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย
ท 31101 ภาษาไทย 1            จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่
อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี
เหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการ
                                                              ่                       ั
ดาเนินชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
          ิ
ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด
บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน
                 เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล ้
และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน
ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน
                                                    ้
การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก
                                                                       ้
การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
                     ่
                 สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ
ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้
ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม
                ิ ิ
น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย
ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง
วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย
วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ      ั
เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน
                                                                         ิ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์
ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย
                                        ่                        ิ
ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่า
บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง             ้
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 31102 ภาษาไทย 2            จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน
ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน
                                                      ่                          ั
ชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบ
    ิ
คาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด
บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน
                  เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล้
และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน
ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน
                                                    ้
การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก
                                                                       ้
การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
                      ่
                  สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ
ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้
ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม
                 ิ ิ
น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย
ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง
วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย
วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                  วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ     ั
เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน
                                                                         ิ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์
ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย
                                        ่                        ิ
ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
และนาไปใช้อางอิง
               ้
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 32103             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ
วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ
             ั                                                                              ิ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 32104             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ
วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ
             ั                                                                              ิ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 33105             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ       ั
วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ
                                                                     ิ
ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 33106             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คา
บรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ       ั
วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ
                                                                     ิ
ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย สาระการเพิมเติม
                                                   ่
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย

ท 40201 การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                การใช้ประโยคซับซ้อนในการเขียนบทความ เรี ยงความ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียน
เพื่อความบันเทิง การเลือกใช้ถอยคาในการเขียน การพูด การวางแผนการเขียนและการพูด การคิด
                               ้
ไตร่ ตรองก่อนพูดและเขียน การใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์การทางาน การใช้ถอยคาสร้างพลัง
                                                                      ้
ความรู้สึก

ท 40202 การอ่ านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
                                ่
คาอธิบายรายวิชา
              วรรณกรรมประเภทเรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย ที่ได้รับรางวัลยอดเยียม การวิจารณ์
                                                                            ่
วรรณกรรมทางด้านวรรณศิลป์ เนื้ อเรื่ อง การใช้ภาษาในวรรณกรรม คุณค่าทางสังคม ศิลปกรรม และ
แนวความคิดในการดาเนินชีวิต การเขียนบทวิจารณ์ จากการอ่านวรรณกรรมยอดเยี่ยม

ท 40203 ภาษาไทยเพื่อสร้ างมนุษยสั มพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              การพูดในโอกาสต่าง ๆ ด้วยการใช้ถอยคาและกิริยาท่าทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
                                                ้
การเขียนจดหมายส่ วนตัว การเขียนโน้มน้าวใจโดยเลือกใช้ถอยคาสร้างความรู้สึกที่ดี มรรยาทการเขียน
                                                       ้
และการพูดสร้างมนุ ษยสัมพันธ์

ท 40204 ภาษาไทยที่ใช้ ในสื่ อมวลชน
คาอธิบายรายวิชา
              ความหมายของคา ความหมายของประโยคที่ใกล้เคียงหรื อที่ใช้สับสนภาษาใน
สื่ อมวลชน การปรับเปลี่ยนตาแหน่งการขยายประโยค ทาให้ความหมายของประโยคคงเดิมหรื อ
เปลี่ยนไป
ท 40205 ศิลปะการเขียนร้ อยกรอง จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              ความรู้ในเรื่ องฉันทลักษณ์ ตามลักษณะคาประพันธ์ประเภทกลอน โคลง ร่ าย กาพย์
และฉันท์ การใช้คาศัพท์ในการประพันธ์ และภาษากวี ความคิดและการใช้ถอยคาในการแต่งคา
                                                                    ้
ประพันธ์ การรวบรวมคาประพันธ์ จากวรรณคดี และวรรณกรรมตามรู ปแบบคาประพันธ์


ท 40206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การประเมินค่า การเล่าเรื่ อง การย่อเรื่ อง การ
ถ่ายทอดความคิด ความรู้จากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้ว การเขียนศึกษาค้นคว้า การเลือกใช้ภาษา
เรี ยบเรี ยงข้อความ จดบันทึกข้อมูลนาวิธีการของแผนภาพความคิดประกอบงานเขียนในรู ปแบบต่าง ๆ
การใช้ภาษาแสดงความคิดตามหลักการใช้ภาษา การคิดไตร่ ตรอง และลาดับความคิดในการเขียน

Contenu connexe

Tendances

กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3Nun'Top Lovely LoveLove
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 

Tendances (18)

กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
วิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษวิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษ
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 

Similaire à ภาษาไทย

หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 

Similaire à ภาษาไทย (20)

หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
10
1010
10
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
Thai 4
Thai 4Thai 4
Thai 4
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 

Plus de กลุ่มงาน วิชาการ

Plus de กลุ่มงาน วิชาการ (20)

เกี่ยวกับ
เกี่ยวกับเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ
 
ติดต่อเรา
ติดต่อเราติดต่อเรา
ติดต่อเรา
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
ศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลายศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลาย
 
ศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้นศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้น
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้นวิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้น
 
คณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลายคณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลาย
 
คณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้นคณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลายวิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลาย
 

ภาษาไทย

  • 1. โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย ้ ชันมัธยมศึกษาตอนต้น สาระพืนฐาน ้ ท 21101 ภาษาไทย 1 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 21102 ภาษาไทย 2 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 22103 ภาษาไทย 3 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 22104 ภาษาไทย 4 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 23105 ภาษาไทย 5 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง่ ท 23106 ภาษาไทย 6 หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ สาระเพิมเติม ่ ท 20201 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาพื้นฐานการเรี ยน จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง่ ท 20202 เพลงกล่อมเด็ก จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ท 20203 วรรณกรรมพื้นบ้าน จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง่ ท 20204 ภาษาไทยในแผ่นภาพ จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ท 20205 ภาษาไทยในบทเพลง จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ท 20206 การพัฒนาการอ่าน จานวน 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่
  • 2. คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน ้ ชันมัธยมศึกษาตอนต้น ท 21101 ภาษาไทย 1 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย บทร้อยกรองที่เป็ นกลอนสุ ภาพ กลอน สักวา กาพย์ยานี ๑๑ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆการอ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ การ ั อ่านหนังสื อตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่ อสาร การบรรยายประสบการณ์ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ ที่เป็ นเรื่ องสั้น คาสอน โอวาท คา ปราศรัย สุ นทรพจน์ การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่ อต่างๆ การเขียนจดหมาย ส่ วนตัว มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูด ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้ อหาโน้มน้าว มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ศึกษาเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคา คาประสม คาซ้ า คาซ้อน คาพ้อง ชนิดและ หน้าที่ของคา ภาษาพูด ภาษาเขียน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง วรรณกรรมท้องถิ่น การวิเคราะห์คุณค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ท่องบทอาขยาน ตามที่กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.9 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท 5.1.5 (ม.1)
  • 3. ท 21102 ภาษาไทย 2 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสี ยง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยาย บทร้อยกรอง ได้แก่ กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ และโคลงสี่ สุภาพ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ การ อ่านและปฏิบติตามเอกสารคู่มือ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน ั การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน สื่ อสาร การบรรยายประสบการณ์ การเขียนเรี ยงความเชิงพรรณนา การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ ได้แก่ รายงาน ระเบียบ คาสั่ง บทสนทนาเรื่ องเล่าประสบการณ์ การเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสาระจากสื่ อต่างๆ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงาน มารยาทในการเขียน พูดสรุ ปความ พูดแสดงความรู ้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงาน การศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ ในชุมชน และท้องถิ่นของตน มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ศึกษาเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคา หน้าทีของคา ภาษาพูด ภาษาเขียน กาพย์ยานี ่ ๑๑ สานวนที่เป็ น คาพังเพยและสุ ภาษิต ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง วรรณกรรมท้องถิ่น การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิด จากวรรณคดีและวรรณกรรม บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ท่องบทอาขยานตามที่ กาหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.9 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท 5.1.5 (ม.1)
  • 4. ท 22103 ภาษาไทย 3 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสี ยงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถกต้อง จับใจความสาคัญสรุ ปความและ ู อธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนเรื่ องต่างๆ ที่ อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริ ง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าว หรื อ ้ ความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อบทความหรื อคาประพันธ์อย่างหลากหลายและ ประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวต มีมารยาทในการอ่าน ิ คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียน ย่อความเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู ้ ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่านอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ งข้อคิดเห็นและความ ้ น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่ องหรื อ ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยค ซ้อนแต่งบทร้อยกรอง ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ ใช้ในภาษาไทย สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของ วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.8 ท 2.1.1 – ท 2.1.7 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.5 ท 5.1.1 – ท 5.1.5 (ม.2)
  • 5. ท 22104 ภาษาไทย 4 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสี ยงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถกต้อง จับใจความสาคัญสรุ ปความและ ู อธิ บายรายละเอียดจากเรื่ องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนเรื่ องต่างๆ ที่ อ่านอภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริ ง ข้อมูลสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อการโน้มน้าว หรื อ ้ ความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสื อบทความหรื อคาประพันธ์อย่างหลากหลายและ ประเมินคุณค่าหรื อแนวคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวต มีมารยาทในการอ่าน ิ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรี ยงความ เขียน ย่อความเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู ้ ความคิดเห็นหรื อโต้แย้งในเรื่ องที่อ่านอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ขอเท็จจริ งข้อคิดเห็นและความ ้ น่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่ อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผลเพื่อนาข้อคิด มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่ องหรื อ ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยค ซ้อนแต่งบทร้อยกรอง ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ ใช้ในภาษาไทย สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของ วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.8 ท 2.1.1 – ท 2.1.7 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.5 ท 5.1.1 – ท 5.1.5 (ม.2)
  • 6. ท 23105 ภาษาไทย 5 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสี ยงคืออ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความปกิณกะ บท ่ ร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ การ อ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ ได้แก่ วรรณคดีในบทเรี ยน ข่าวและเหตุการณ์สาคัญ บทความ บันเทิง คดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตานาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่ องราวจากบทเรี ยนในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การอ่านตามความสนใจ ได้แก่หนังสื อ อ่านนอกเวลา หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของนักเรี ยน หนังสื ออ่านที่ครู และนักเรี ยน ร่ วมกันกาหนด มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน ข้อความตามสถานการณ์ และโอกาสต่างๆ ได้แก่คาอวยพรในโอกาสต่างๆ คาขวัญ คาคม โฆษณา คติพจน์ สุ นทรพจน์ การเขียนอัตชีวประวัติหรื อชีวประวัติ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ เช่น นิทาน ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ จดหมายแสดงความ ขอบคุณ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่ องต่างๆ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความคิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่นบทโฆษณา บทความทาง วิชาการ การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนรายงาน โครงงาน มีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการฟังและการดู การพูดวิเคราะห์ วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นการพูดใน โอกาสต่างๆ เช่น การพูดโต้วาที การอภิปราย การพูดยอวาที การพูดโน้มน้าว มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ศึกษาคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คาทับศัพท์ คาศัพท์บญญัติ คาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ โคลงสี่ สุภาพ ั ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี การวิเคราะห์วถีไทย และคุณค่า ิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.10 ท 2.1.1 – ท 2.1.10 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท 5.1.4 (ม.3)
  • 7. ท 23106 ภาษาไทย 6 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสี ยงคืออ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทความทัวไปและบทความปกิณกะ ่ บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่ สุภาพ การอ่านจับใจความจากสื่ อต่างๆ ได้แก่ วรรณคดีในบทเรี ยน ข่าวและเหตุการณ์สาคัญ บทความ บันเทิงคดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตานาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่ องราวจากบทเรี ยนใน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การอ่านตามความสนใจ ได้แก่ หนังสื ออ่านนอกเวลา หนังสื ออ่านตามความสนใจและตามวัยของนักเรี ยน หนังสื ออ่านที่ครู และ นักเรี ยนร่ วมกันกาหนด มีมารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ งบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียน ข้อความตามสถานการณ์ และโอกาสต่างๆ ได้แก่คาอวยพรในโอกาสต่างๆ คาขวัญ คาคม โฆษณา คติพจน์ สุ นทรพจน์ การเขียนอัตชีวประวัติหรื อชีวประวัติ การเขียนย่อความจากสื่ อต่างๆ เช่น นิทาน ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห์ จดหมายแสดงความ ขอบคุณ การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งในเรื่ องต่างๆ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ ความคิดเห็น หรื อโต้แย้งจากสื่ อต่างๆ เช่นบทโฆษณา บทความทาง วิชาการ การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนรายงาน โครงงาน มีมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่ องจากการฟังและการดู การพูดวิเคราะห์ วิจารณ์จากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นการพูดใน โอกาสต่างๆ เช่น การพูดโต้วาที การอภิปราย การพูดยอวาที การพูดโน้มน้าว มารยาทในการฟัง การดู และการพูด คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประโยคซับซ้อน ระดับภาษา คาทับศัพท์ คาศัพท์ บัญญัติ คาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ โคลงสี่ สุภาพ วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุ ภาษิตคาสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี การวิเคราะห์วถีไทย และคุณค่าจาก ิ วรรณคดีและวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.10 ท 2.1.1 – ท 2.1.10 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.6 ท 5.1.1 – ท 5.1.4 (ม.3)
  • 8. คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระเพิมเติม ้ ่ ้ ชันมัธยมศึกษาตอนต้น ท 20201 ภาษาไทยเพือพัฒนาพืนฐานการเรียน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง ่ ้ คาอธิบายรายวิชา การอ่านตาราทางวิทยาการ วรรณกรรม วรรณคดี บทความ สารคดี จากแหล่ง เรี ยนรู ้ การวิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น การเขียนขยายความรู ้ การให้ขอสังเกตเรื่ องที่อ่าน การ ้ ้ เขียนบันทึกความรู ้ การทาบรรณานิทศน์หนังสื อ การอ้างอิงหนังสื อที่อ่าน ั ท 20202 เพลงกล่อมเด็ก จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การค้นคว้ารวบรวมเพลงเด็กแต่ละภาค การฝึ กร้องเพลงกล่อมเด็ก การถ่ายทอดเพลง กล่อมเด็ก และการแสดงความคิดเห็น การใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารในการอนุรักษ์และเผยแพร่ เห็นคุณค่าของเพลงกล่อมเด็กในฐานะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ท 20203 วรรณกรรมพืนบ้ าน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง ้ คาอธิบายรายวิชา การรวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน จากการสัมภาษณ์ สอบถาม หรื อแหล่งเรี ยนรู ้ นามาศึกษาด้วยการเขียนเป็ นโครงงาน ทางด้านเนื้อเรื่ อง คุณค่าทางด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ่ ทางด้านภาษา ชีวิตความเป็ นอยูของคนไทย สังคมไทย หลักพินิจวรรณกรรม ท 20204 ภาษาไทยในแผ่ นภาพ จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การดูภาพกิจกรรมฝาผนังจากโบราณสถาน หรื อแผ่นภาพ แสดงความคิดเห็นเชิง ศิลปะและเชิงวรรณคดี การเขียนอธิบาย การสรุ ปความ จัดลาดับความคิด การเขียนเรี ยงความเชิง สร้างสรรค์ จากการดูแผ่นภาพด้วยความชื่นชม การฟัง ดู พูด นาเสนอความรู ้ ความคิด จิตรกรรมฝาผนังจากโบราณสถาน แผ่น ภาพ ตามหลักทางทัศนศิลป์ โดยใช้ภาษาในการแสดงความคิดเห็นอย่างมีมรรยาท การดูและการ เขียน
  • 9. ท 20205 ภาษาไทยในบทเพลง จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การฟังเพลงและการอ่านบทเพลง การวิเคราะห์ขอเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น แนวคิด ้ คติ คุณค่าความไพเราะของท่วงทานอง การใช้ภาษา จุดประสงค์ ความรู ้สึกของผูแต่ง เหตุการณ์ ้ สภาพสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม วิถีชีวิต หลักวิเคราะห์วรรณคดี การใช้ถอยคา สานวน ความหมายของคาในบทเพลง มรรยาททางสังคม จากการแสดงออกทาง ้ นาฏศิลป์ การเต้นรา ท 20206 การพัฒนาการอ่าน จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านตาราวิทยาการ บทความ สารคดี การนายุทธศาสตร์ การอ่านเพื่อความเข้าใจ ได้แก่ กระบวนการอ่าน การพูด และการเขียนเชิงวิทยาการ ได้แก่ การเขียนขยายความรู ้ เขียน แนะนา เขียนบรรยาย อธิบายความรู ้ พูดอภิปราย พูดแสวงหาความรู ้
  • 10. โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย สาระพืนฐาน ้ ท 31101 ภาษาไทย 1 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 31102 ภาษาไทย 2 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 32103 ภาษาไทย 3 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 32104 ภาษาไทย 4 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 33105 ภาษาไทย 5 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 33106 ภาษาไทย 6 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ สาระเพิมเติม ่ ท 30201 การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30202 การอ่านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่วยกิต ่ 60 ชัวโมง ่ ท 30203 ภาษาไทยเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30204 ภาษาไทยที่ใช้ในสื่ อมวลชน จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30205 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่
  • 11. คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน ้ ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท 31101 ภาษาไทย 1 จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่ อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี เหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการ ่ ั ดาเนินชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ิ ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล ้ และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน ้ การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก ้ การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน ่ สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม ิ ิ น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ ั เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน ิ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย ่ ิ ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่า บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง ้ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 12. ท 31102 ภาษาไทย 2 จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน ่ ั ชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบ ิ คาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล้ และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน ้ การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก ้ การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน ่ สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม ิ ิ น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ ั เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน ิ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย ่ ิ ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง ้ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 13. ท 32103 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ ั ิ สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 14. ท 32104 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ ั ิ สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 15. ท 33105 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ ั วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ ิ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี คุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 16. ท 33106 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คา บรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ ั วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ ิ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี คุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 17. คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย สาระการเพิมเติม ่ ้ ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท 40201 การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การใช้ประโยคซับซ้อนในการเขียนบทความ เรี ยงความ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียน เพื่อความบันเทิง การเลือกใช้ถอยคาในการเขียน การพูด การวางแผนการเขียนและการพูด การคิด ้ ไตร่ ตรองก่อนพูดและเขียน การใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์การทางาน การใช้ถอยคาสร้างพลัง ้ ความรู้สึก ท 40202 การอ่ านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง ่ คาอธิบายรายวิชา วรรณกรรมประเภทเรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย ที่ได้รับรางวัลยอดเยียม การวิจารณ์ ่ วรรณกรรมทางด้านวรรณศิลป์ เนื้ อเรื่ อง การใช้ภาษาในวรรณกรรม คุณค่าทางสังคม ศิลปกรรม และ แนวความคิดในการดาเนินชีวิต การเขียนบทวิจารณ์ จากการอ่านวรรณกรรมยอดเยี่ยม ท 40203 ภาษาไทยเพื่อสร้ างมนุษยสั มพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การพูดในโอกาสต่าง ๆ ด้วยการใช้ถอยคาและกิริยาท่าทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ้ การเขียนจดหมายส่ วนตัว การเขียนโน้มน้าวใจโดยเลือกใช้ถอยคาสร้างความรู้สึกที่ดี มรรยาทการเขียน ้ และการพูดสร้างมนุ ษยสัมพันธ์ ท 40204 ภาษาไทยที่ใช้ ในสื่ อมวลชน คาอธิบายรายวิชา ความหมายของคา ความหมายของประโยคที่ใกล้เคียงหรื อที่ใช้สับสนภาษาใน สื่ อมวลชน การปรับเปลี่ยนตาแหน่งการขยายประโยค ทาให้ความหมายของประโยคคงเดิมหรื อ เปลี่ยนไป
  • 18. ท 40205 ศิลปะการเขียนร้ อยกรอง จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ความรู้ในเรื่ องฉันทลักษณ์ ตามลักษณะคาประพันธ์ประเภทกลอน โคลง ร่ าย กาพย์ และฉันท์ การใช้คาศัพท์ในการประพันธ์ และภาษากวี ความคิดและการใช้ถอยคาในการแต่งคา ้ ประพันธ์ การรวบรวมคาประพันธ์ จากวรรณคดี และวรรณกรรมตามรู ปแบบคาประพันธ์ ท 40206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การประเมินค่า การเล่าเรื่ อง การย่อเรื่ อง การ ถ่ายทอดความคิด ความรู้จากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้ว การเขียนศึกษาค้นคว้า การเลือกใช้ภาษา เรี ยบเรี ยงข้อความ จดบันทึกข้อมูลนาวิธีการของแผนภาพความคิดประกอบงานเขียนในรู ปแบบต่าง ๆ การใช้ภาษาแสดงความคิดตามหลักการใช้ภาษา การคิดไตร่ ตรอง และลาดับความคิดในการเขียน