SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
นพนพ..พงศ์ธร ชาติพิทักษ์พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่สำานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 44
จจ..ราชบุรีราชบุรี
สาเหตุสาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue virus) ซึ่งเป็น
single - strand RNA จัดอยู่ใน genus Flavivirus และ
family Flaviviridae มี 4 serotypes คือ DEN-1,
DEN-2, DEN-3 และ DEN-4
ทั้ง 4 serotypes มี antigen ร่วมบางชนิด จึงทำาให้มี
cross reaction และ cross protection ได้ในระยะ
เวลาสั้นๆ
เมื่อมีการติดเชื้อไวรัสเดงกีชนิดหนึ่งจะมีภูมิคุ้มกัน
ต่อไวรัสเดงกีชนิด นั้นตลอดไป (long lasting
homotypic immunity) และจะมีภูมิคุ้มกัน cross
protection ต่อชนิดอื่น (heterotypic immunity) ใน
ช่วงระยะเวลาสั้นๆ ประมาณ 6-12 เดือน
ดังนั้น ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีไวรัสเดงกีชุกชุมอาจมีการ
ติดเชื้อ 3 หรือ 4 ครั้งได้
วิธีการติดต่อวิธีการติดต่อ
โรคไข้เลือดออกเดงกีติดต่อกันได้โดยมียุง
ลายบ้าน (Aedes aegypti) เป็นแมลงนำาโรคที่
สำาคัญ และในชนบทบางพื้นที่ จะมียุงลาย
สวน (Aedes albopictus) เป็นแมลงนำาโรค
ร่วมกับยุงลายบ้าน
เมื่อยุงลายตัวเมียกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่อยู่
ในระยะไข้ ซึ่งเป็นระยะที่มีไวรัสอยู่ใน
กระแสเลือดมาก เชื้อไวรัสจะเข้าสู่กระเพาะ
ยุง และเพิ่มจำานวนมากขึ้น แล้วเดินทางเข้า
สู่ต่อมนำ้าลาย พร้อมที่จะเข้าสู่คนที่ถูกกัดต่อ
ไป เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสเดงกีไปกัดคนอื่นก็
ระยะฟักตัว และระยะติดต่อระยะฟักตัว และระยะติดต่อ
ระยะฟักตัว
◦ ระยะเพิ่มจำานวนของไวรัสเดงกี ในยุง ประมาณ
8-10 วัน
◦ ระยะฟักตัวของเชื้อไวรัสเดงกี ในคน ประมาณ
3-14 วัน โดยทั่วไปประมาณ 5-8 วัน
ระยะติดต่อ
◦ โรคไข้เลือดออกเดงกีไม่ติดต่อจากคนสู่คน
ติดต่อกันได้โดยมียุงลายเป็นแมลงนำาโรค การ
ติดต่อจึงต้องใช้เวลาในผู้ป่วยและในยุง ระยะที่
ผู้ป่วยมีไข้สูงประมาณวันที่ 2-4 จะมีไวรัสอยู่ใน
กระแสเลือดมาก ระยะนี้จะเป็นระยะติดต่อจาก
คนสู่ยุง และระยะเพิ่มจำานวนของเชื้อไวรัสใน
ยุงจนมากพออีกประมาณ 8-10 วัน จึงจะเป็น
อาการและอาการแสดงอาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยมีอาการได้ 3 แบบ คือ
◦ Undifferentiated fever (UF) หรือกลุ่มอาการไวรัส
◦ ไข้เดงกี (Dengue fever - DF)
◦ ไข้เลือดออกเดงกี (Dengue hemorrhagic fever -
DHF)
โรคไข้เลือดออกเดงกี มีอาการสำาคัญที่เป็นรูป
แบบค่อนข้างเฉพาะ 4 ประการ เรียงตามลำาดับ
การเกิดก่อนหลัง ดังนี้
◦ ไข้สูงลอย 2-7 วัน
◦ มีอาการเลือดออก ส่วนใหญ่จะพบที่ผิวหนัง
◦ มีตับโต กดเจ็บ
◦ มีภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว/ภาวะช็อก
การดูแลรักษาผู้ป่วยการดูแลรักษาผู้ป่วย
1. ในระยะไข้สูง จำาเป็นต้องให้ยาลดไข้ ควรใช้ยาพวก
พาราเซตามอล ห้ามใช้ยาพวกแอสไพริน เพราะจะ
ทำาให้เกร็ดเลือดเสียการทำางาน จะระคายกระเพาะทำาให้
เลือดออกได้ง่ายขึ้น และที่สำาคัญอาจทำาให้เกิด Reye
syndrome ควรให้ยาลดไข้เวลาที่ไข้สูงเท่านั้น (มากกว่า
39 องศาเซลเซียส) การใช้ยาลดไข้มากไปจะมีภาวะเป็น
พิษต่อตับได้ ควรจะใช้การเช็ดตัวช่วยลดไข้ด้วย บาง
รายอาจมีการชักได้ถ้าไข้สูงมาก โดยเฉพาะเด็กที่มี
ประวัติเคยชัก หรือในเด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือน
2. ให้ผู้ป่วยได้นำ้าชดเชย เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่มีไข้สูง เบื่อ
อาหาร และอาเจียน ทำาให้ขาดนำ้าและเกลือโซเดียมด้วย
ควรให้ผู้ป่วยดื่มนำ้าผลไม้หรือ สารละลายผงนำ้าตาลเกลือ
แร่ (โอ อาร์ เอส) ในรายที่อาเจียนควรให้ดื่มครั้งละ
น้อยๆ และดื่มบ่อยๆ
การดูแลรักษาผู้ป่วยการดูแลรักษาผู้ป่วย
4. เมื่อผู้ป่วยไปตรวจที่โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่
ให้การรักษาได้ แพทย์จะตรวจเลือดดูปริมาณเกร็ดเลือด
และ hematocrit และอาจนัดมาตรวจดูการเปลี่ยนแปลง
ของเกร็ดเลือดและ hematocrit เป็นระยะๆ เพราะถ้า
ปริมาณเกร็ดเลือดเริ่มลดลงและ hematocrit เริ่มสูงขึ้น
เป็นเครื่องชี้บ่งว่านำ้าเลือดรั่วออกจากเส้นเลือด และอาจ
จะช็อกได้ จำาเป็นต้องให้สารนำ้าชดเชย
5. โดยทั่วไปไม่จำาเป็นต้องรับผู้ป่วยเข้ารักษาในโรง
พยาบาลทุกราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะแรกที่ยังมี
ไข้ สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอก โดยให้ยาไปรับ
ประทาน และแนะนำาให้ผู้ปกครองเฝ้าสังเกตอาการ หรือ
แพทย์นัดให้ไปตรวจที่โรงพยาบาลเป็นระยะๆ
นิยามในการเฝ้าระวังโรคนิยามในการเฝ้าระวังโรค
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) แบ่ง
เป็น 2 ชนิด
◦ ไข้เดงกี มีไข้เฉียบพลัน ร่วมกับ อาการอื่นๆ
อย่างน้อย 2 อาการ
 ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนื้อ
ปวดกระดูกหรือข้อต่อ มีผื่น มีอาการเลือดออก
tourniquet test ให้ผลบวก
◦ ไข้เลือดออก มีไข้เฉียบพลัน และ tourniquet
test ให้ผลบวกร่วมกับ อาการอื่นๆ อย่างน้อย 1
อาการ
 ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดกระบอกตา ปวดกล้ามเนื้อ
ปวดกระดูกหรือข้อต่อ มีผื่น มีอาการเลือดออก ตับโต
นิยามในการเฝ้าระวังโรคนิยามในการเฝ้าระวังโรค
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory
Criteria)
ทั่วไป
◦ Complete Blood Count (CBC)
 มีจำานวนเม็ดเลือดขาวตำ่า (< 5,000 เซล/ลูกบาศก์
มิลลิเมตร) โดยมีสัดส่วน lymphocyte สูง (ในกรณี
ของไข้เดงกี)
 มีเกล็ดเลือดตำ่ากว่า 100,000 เซล/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
(ในกรณีของไข้เลือดออก)
 มีฮีมาโตคริตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 - 20 จากเดิม (ในกรณี
ของไข้เลือดออก)
◦ Chest x-rays (ในกรณีของไข้เลือดออก)
- จะพบ pleural effusion ได้เสมอ โดยส่วนใหญ่
นิยามในการเฝ้าระวังโรคนิยามในการเฝ้าระวังโรค
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory
Criteria)
จำาเพาะ
◦ ตรวจพบเชื้อได้จากเลือดในระยะไข้ โดยวิธี
PCR หรือการแยกเชื้อ หรือ
◦ ตรวจ พบแอนติบอดีจำาเพาะต่อเชื้อในนำ้าเหลือง
คู่ (paired sera) ด้วยวิธี Hemagglutination
Inhibition (HI) > 4 เท่า หรือ ถ้านำ้าเหลืองเดี่ยว
ต้องพบภูมิคุ้มกัน > 1: 1,280 หรือ
◦ ตรวจพบภูมิคุ้มกันชนิด IgM > 40 ยูนิต หรือการ
เพิ่มขึ้นของ IgG อย่างมีนัยสำาคัญโดยวิธี
ประเภทผู้ป่วยประเภทผู้ป่วย((CaseCase
Classification)Classification)
ผู้ป่วยที่สงสัย(Suspected case) หมายถึง ผู้
ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ผู้ป่วยที่เข้า
ข่าย(Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการ
ตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีลักษณะอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
◦ มีผลการตรวจเลือดทั่วไป
◦ มีผลการเชื่อมโยงทางระบาดวิทยากับผู้ป่วยรา
ยอื่นๆ ที่มีผลการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ
จำาเพาะ
ผู้ป่วยที่ยืนยันผล (Confirmed case) หมาย
ถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มี
ผลตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการจำาเพาะ
การรายงาน และการสอบสวนโรคการรายงาน และการสอบสวนโรค
การรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค-
รง.506(Reporting Criteria) ให้รายงานได้
ตั้งแต่ ผู้ป่วยที่สงสัย (Suspected case)
การสอบสวนโรค(Epidemiological
Investigation
◦ สอบสวนเฉพาะราย (Individual Investigation)
◦ สอบสวนการระบาด (Outbreak Investigation)
ในกรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำาการ
สอบสวนการระบาดทันที เพื่อหาเชื้อก่อโรค
และสาเหตุการระบาดในครั้งนั้น เพื่อการ
วางแผนในการควบคุมในครั้งนี้ และป้องกัน
ารควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลยุทธ์
- ป้องกันและ
ควบคุมการ
ระบาด
- การดูแลรักษาผู้
ป่วย
- การเฝ้าระวังโรค
- ประเมินผล
(ระบบ)
- Early Diagnosis & Prompt
Treatment (EDPT)
- การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและทำาล
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในเขตเมือง/ช
(ป้องกันล่วงหน้า)
- สร้างความเข้มแข็งชุมชน
ารวจลูกนำ้ายุงลาย
Active Surveillance
พัฒนาระบบฐานข้อมูล
DBMS)/ GIS
- การควบคุมการระบาด
(ประสิทธิภาพ SRRT)
-Case management
-Dead case conferenc
-Multisectoral Networ
สนับสนุนทรัพยากร
- สารเคมี
-พัฒนาการวินิจฉัย/รักษา
-(แพทย์/พยาบาล/จสส)
พัฒนาองค์
ความรู้-KM
(Expert
Committee)
การป้องกันโรคล่วงหน้าการป้องกันโรคล่วงหน้า
วิเคราะห์สาเหตุการระบาด และสอบสวน
แหล่งรังโรค
กำาจัดศักยภาพของแหล่งรังโรค ในพื้นที่
เสี่ยง เพื่อลดจำานวนลูกนำ้ายุงลายให้เหลือ
น้อยที่สุด คือ ให้มีค่าดัชนีลูกนำ้ายุงลาย (HI
≤ 10, CI = 0)
ระงับการแพร่เชื้อในพื้นที่ ด้วยการเฝ้า
ระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย ตรวจวินิจฉัย
ป้องกันยุงกัด และควบคุมยุงพาหะ เพื่อ
กำาจัดยุงลายที่มีเชื้อไวรัสให้เหลือน้อยที่สุด
วิธีการกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์วิธีการกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลายยุงลาย
ทางกายภาพ ได้แก่ การปิดภาชนะกัก
เก็บนำ้าด้วยฝาปิด สำาหรับภาชนะที่ยังไม่ได้
ใช้ประโยชน์ควรจะควำ่าไว้ สำาหรับสิ่งของที่
ไม่มีประโยชน์หรือสิ่งของเหลือใช้ควรเผา
หรือฝังแล้วแต่ความสะดวก
ทางชีวภาพ คือ การปล่อยปลากินลูกนำ้า
ลงในภาชนะเก็บกักนำ้า สามารถขอพันธุ์
ปลาได้จากสำานักงานป้องกันควบคุมโรค
ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำาโดยแมลง และ
สำานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สารเคมี ได้แก่ ทรายทีมีฟอส ควรใช้
เฉพาะกับภาชนะเก็บนำ้าที่ไม่สามารถปิด
การพ่นเคมีกำาจัดยุงตัวเต็มวัยการพ่นเคมีกำาจัดยุงตัวเต็มวัย
พ่นเคมีกำาจัดยุงลาย ไม่ว่าจะใช้ในกรณีใด
จะมีผลลดจำานวนยุงอยู่เพียงระยะสั้น จำาเป็น
ต้องมีการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายร่วม
ด้วยเสมอ เพื่อส่งเสริมให้การควบคุมยุงลายมี
ประสิทธิภาพในระยะยาว
1.การพ่นฝอยละออง (Ultra Low Volume
or ULV) นำ้ายาเคมีจะถูกพ่นจากเครื่องพ่น
โดยแรงอัดอากาศ ผ่านรูพ่น กระจายออกมา
เป็นฝอยละออง ขนาดเล็กมาก ซึ่งจะกระจาย
อยู่ในอากาศเพื่อให้สัมผัสกับตัวยุง เครื่องพ่น
มีทั้งแบบติดตั้งบนรถยนต์ และแบบสะพาย
หลัง
2.การพ่นหมอกควัน นำ้ายาเคมีจะถูกพ่น
โดยอาศัยอากาศร้อนช่วยในการแตกตัวของ
ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้สุขศึกษาแก่ประชาชน
ทางสื่อมวลชน โดยกระจายข่าวทางวิทยุ,
โทรทัศน์, หนังสือพิมพ์, เสียงตามสาย หอกระ
จายข่าวตามหมู่บ้าน
ทางโรงเรียน ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
แก่เด็กนักเรียน หรืออาจให้ความรู้แก่ ครู
อาจารย์ที่สอนวิชาสุขศึกษา เน้นให้เด็ก
นักเรียนปฏิบัติตาม รวมทั้งนำาไปถ่ายทอดให้
แก่ที่บ้าน
แจกเอกสารสุขศึกษา เช่นแผ่นพับ ติด
โปสเตอร์ รูปภาพ ตามสถานที่ซึ่งประชาชน
มักจะมาชุมนุมกันมาก ๆ
ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนที่มารับบริการที่
การควบคุมเมื่อเกิดโรคการควบคุมเมื่อเกิดโรค
ระบาดระบาด
ประกาศเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้
เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมกับให้
สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกัน
ตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด ให้ความ
รู้วิธีปฏิบัติเมื่อเด็กป่วยหรือสงสัยว่าป่วยเป็น
โรคไข้เลือดออก และวิธีการควบคุมแหล่ง
เพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านและขอให้ประชาชน
ให้ความร่วมมือกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่
อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป
การกำาจัดลูกนำ้ายุงลายในบ้านผู้ป่วย และ
บริเวณรอบบ้านผู้ป่วยควรดำาเนินการในรัศมี
การควบคุมเมื่อเกิดโรคการควบคุมเมื่อเกิดโรค
ระบาดระบาด
ใช้มาตรการเร่งด่วนสำาหรับการควบคุมการระบาด
คือ การพ่นเคมีกำาจัดยุงตัวเต็มวัย ทั้งนี้ทีมควบคุม
โรคต้องมีความพร้อมในการควบคุมพาหะอย่างมี
ประสิทธิภาพเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ป่วย โดยจะ
สามารถปฏิบัติการได้ทันที ลักษณะการพ่นเคมีควร
ปฏิบัติตามการกระจายของผู้ป่วย ดังนี้
 หากเกิดมีผู้ป่วย ควรดำาเนินการควบคุมแหล่งแพร่
โรค (หมู่บ้านหรือชุมชน) โดยพ่นสารเคมีในบ้านผู้
ป่วย และพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100
เมตร ควรพ่นอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน 7
วัน
หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายทั่วไปในชุมชนหรือหมู่บ้าน
ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และควรพ่นเคมี
ให้มีบริเวณกั้นกลาง (Barrier Zone) ที่ปลอดยุงรอบ
ปัจจัยที่ส่งเสริมความสำาเร็จปัจจัยที่ส่งเสริมความสำาเร็จ
1. ความพร้อมของทีมงานการเฝ้าระวัง
ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก ทั้งระดับ
กระทรวงสาธารณสุข กรมวิชาการต่างๆ
สสจ. /สสอ/สอ CUP/ PCU สคร.
ศตม. รวมทั้ง นคม. ที่ดำาเนินการทั้งภาวะ
ปกติ และภาวะฉุกเฉิน
2. การมีอาสาสมัคร ที่มีบทบาทสำาคัญในการ
ควบคุมลูกนำ้ายุงลายในพื้นที่
ปัจจัยที่ส่งเสริมความสำาเร็จปัจจัยที่ส่งเสริมความสำาเร็จ
3. การมีกระบวนรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการ
ตลาดเชิงสังคม ได้สร้างความสำาเร็จด้าน
พัฒนาองค์ความรู้แก่บุคคลในองค์กร
ภายนอก และเครือข่าย ทำาให้มีการ
พัฒนาสื่อสาธารณะ พัฒนาความคิดจาก
พื้นฐานการมีส่วนร่วมตามบริบทของ
ประชาชน ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
พื้นที่นั้น ได้แก่ โครงการ คุณ-นะทำา
นำาไทยปลอดภัยไข้เลือดออก

Contenu connexe

Tendances

มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
Panda Jing
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
Loveis1able Khumpuangdee
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
Aobinta In
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
techno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain clinic pnk
 

Tendances (20)

มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
STD
STD STD
STD
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 

Similaire à Dangue fever pp

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
นายสามารถ เฮียงสุข
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
Ultraman Taro
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 

Similaire à Dangue fever pp (20)

hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
HIV
HIV HIV
HIV
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 

Plus de นายสามารถ เฮียงสุข

เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
นายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
นายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
นายสามารถ เฮียงสุข
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
นายสามารถ เฮียงสุข
 

Plus de นายสามารถ เฮียงสุข (9)

6วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 26วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้าเครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
 
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลงเครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
 
1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์
 

Dangue fever pp