SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน
เรื่อง...อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่
                  เกี่ยวข้อง

               จัดทาโดย
          นางสาวพัชรี อังศุวิริยะ
            ชั้นม.6/1 เลขที่ 11

                  เสนอ
          คุณครูจุฑารัตน์ ใจบุญ
คานา
         รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งดิฉันได้รับมอบหมาย
ให้ไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมายของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อาชญากรรม 6 ประเภท ลักษณะของผู้กระทาความผิดทาง
คอมพิวเตอร์ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจใน
เรื่องคอมพิวเตอร์ไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย




                                                                                   ผุ้จัดทา

                                                                             นางสาวพัชรี อังศุวิริยะ
สารบัญ

เนื้อเรื่อง                                      หน้า
ความหมายของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์                1

อาชญากรรม 6 ประเภท                                2

ลักษณะของผูกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์
           ้                                      4

กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์                5-10
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่
เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบ
คอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
โดยตรง
ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The
Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่
กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย
แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม
คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ
ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and
Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค
นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน
และความพยายามในการปัญหานี้


อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่

    1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ
         (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

    2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ
         อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย
         รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน
         สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ
   อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ
   เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ
   ก่อการร้าย ฯลฯ)


4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ
   หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง
   อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล
   หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว


5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล
   หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223
   การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย
   อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่
   เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้
   ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง


6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
   เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี
   ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
   ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต
   ในทางที่ผิด
อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทาผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสาคัญ
มีการจาแนกไว้ดังนี้

    1. พวกมือใหม่ (Novices) หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้และส่วนใหญ่จะมิใช่ผู้ ที่เป็นอาชญา
        กรโดยนิสัย มิได้ดารงชีพโดยการกระทาผิด อาจหมายถึงพวกที่เพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่
        ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

    2. Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตราย มัก
        เป็นพวกที่ชอบทาลายทุกสิ่งที่ขวางหน้าไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ หรือสภาพแวดล้อม

    3. Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทาผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มี
        ระบบ พวกเขาจะใช้คอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเครื่องหาข่าวสาร เหมือนองค์กร
        ธุรกิจทั่วไป อีกส่วนหนึ่งก็จะใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสาคัญในการก่ออาชญากรรม หรือ
        ใช้เทคโนโลยีกลบเกลื่อนร่องร่อย ให้รอดพ้นจากเจ้าหน้าที่

    4. Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็น
        ห่วงมากที่สุด เนื่องจากนับวันจะทวีจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจับผิดแล้วจับผิดเล่า บ่อยครั้ง

    5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
        ผลประโยชน์ส่วนตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และ
        ความรู้ของตนเพื่อหาเงินมิชอบทางกฎหมาย

    6. Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทาผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง

    7. Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบ
        ได้ โดยมีวัตถุประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเข้าไปทาลายหรือลบไฟล์ หรือ
        ทาให้คอมพิวเตอร์ใช้การไม่ได้ รวมถึงทาลายระบบปฏิบัติการ

    8. นักเจาะข้อมูล (Hacker) ผู้ที่ชอบเจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น พยายามหาความท้าทายทาง
        เทคโนโลยีเข้าไปในเครือข่ายของผู้อื่นโดยที่ตนเองไม่มีอานาจ

    9. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ เช่นพวกลักเล็กขโมยน้อยที่ พยายามขโมย
        บัตร ATM ของผู้อื่น
10. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนี้จะดารงชีพจากการกระทาความผิด เช่นพวกที่มักจะใช้ ความรู้ทาง
         เทคโนโลยีฉ้อโกงสถาบันการเงิน หรือการจารกรรมข้อมูลไปขาย เป็นต้น

    11. พวกหัวรุนแรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มักก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อ อุดมการณ์ทาง
         การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา หรือสิทธิมนุษย์ชน เป็นต้น

ผู้กระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์มีลักษณะพิเศษดังต่อไปนี้
1. ส่วนใหญ่มักมีอายุน้อย
2. ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีวิชาชีพ
3. ลักษณะส่วนตัวเช่น
- มีแรงจูงใจและความทะยานอยากสูงในการที่จะเอาชนะและฉลาด
- ไม่ใช่อาชญากรโดยอาชีพ
- กลัวที่จะถูกจับได้ กลัวครอบครัว เพื่อนและเพื่อนร่วมงานจะรู้ถึงการกระทาความผิดของตน
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศ
ว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรด
เกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทาง
ปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
“ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบ
คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า
(๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน
ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์
ของบุคคลอื่น
(๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น
“ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้




หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ
นั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ

มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านา
มาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ
นั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้
เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๙ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ
ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่
เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลง
แหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่ว่า
จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๒) เป็นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่
เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
ไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม
แสนบาท
ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี

มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทา
ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ
ความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(๓) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ง
ราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น
ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑)(๒) (๓) หรือ
(๔)

มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๑๔

มาตรา ๑๖ ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็น
ภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง
หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์
โดยสุจริต ผู้กระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายใน
ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้
และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย

มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ
(๑) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้
ลงโทษ หรือ
(๒) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้อง
ขอให้ลงโทษ
จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร

หมวด ๒
พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้
ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
เฉพาะที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผู้กระทาความผิด
อ้างอิง

ที่มา : http://www.cowboythai.com/forum/index.php?topic=1443.msg9206;topicseen

Contenu connexe

Tendances

รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยNakkarin Keesun
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุกJiraprapa Noinoo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อยJiraprapa Noinoo
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรวKamonwan Choophol
 

Tendances (14)

รายงานโจ
รายงานโจรายงานโจ
รายงานโจ
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
จิตรดิลก
จิตรดิลกจิตรดิลก
จิตรดิลก
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุก
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อย
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรว
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

En vedette

En vedette (7)

ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
Cuento mercedes ingles
Cuento mercedes inglesCuento mercedes ingles
Cuento mercedes ingles
 
ISAC-Projects
ISAC-ProjectsISAC-Projects
ISAC-Projects
 
Wipro-Projects
Wipro-ProjectsWipro-Projects
Wipro-Projects
 
Phuchongkhaprayatachan
PhuchongkhaprayatachanPhuchongkhaprayatachan
Phuchongkhaprayatachan
 
20 Ideas for your Website Homepage Content
20 Ideas for your Website Homepage Content20 Ideas for your Website Homepage Content
20 Ideas for your Website Homepage Content
 

Similaire à รายงานคอม

งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
นาย ศิริศักดิ์ พรหมทิพย์
นาย ศิริศักดิ์  พรหมทิพย์นาย ศิริศักดิ์  พรหมทิพย์
นาย ศิริศักดิ์ พรหมทิพย์Sirisak Promtip
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาdowsudarat
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาpaotogether
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
นายธนาวัตร นวลละออง
นายธนาวัตร นวลละอองนายธนาวัตร นวลละออง
นายธนาวัตร นวลละอองSirisak Promtip
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..Sirisak Promtip
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..Sirisak Promtip
 

Similaire à รายงานคอม (20)

อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
วิก
วิกวิก
วิก
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
นาย ศิริศักดิ์ พรหมทิพย์
นาย ศิริศักดิ์  พรหมทิพย์นาย ศิริศักดิ์  พรหมทิพย์
นาย ศิริศักดิ์ พรหมทิพย์
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
เกียรติภูมิ
เกียรติภูมิเกียรติภูมิ
เกียรติภูมิ
 
เกียรติภูมิ
เกียรติภูมิเกียรติภูมิ
เกียรติภูมิ
 
นายธนาวัตร นวลละออง
นายธนาวัตร นวลละอองนายธนาวัตร นวลละออง
นายธนาวัตร นวลละออง
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..
 
จิรทีปต์ ณ นคร
จิรทีปต์  ณ นครจิรทีปต์  ณ นคร
จิรทีปต์ ณ นคร
 
จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..จิรทีปต์+..
จิรทีปต์+..
 

รายงานคอม

  • 1. รายงาน เรื่อง...อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง จัดทาโดย นางสาวพัชรี อังศุวิริยะ ชั้นม.6/1 เลขที่ 11 เสนอ คุณครูจุฑารัตน์ ใจบุญ
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งดิฉันได้รับมอบหมาย ให้ไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อาชญากรรม 6 ประเภท ลักษณะของผู้กระทาความผิดทาง คอมพิวเตอร์ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจใน เรื่องคอมพิวเตอร์ไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผุ้จัดทา นางสาวพัชรี อังศุวิริยะ
  • 3. สารบัญ เนื้อเรื่อง หน้า ความหมายของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1 อาชญากรรม 6 ประเภท 2 ลักษณะของผูกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ ้ 4 กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ 5-10
  • 4. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบ คอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน และความพยายามในการปัญหานี้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ 1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
  • 5. 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ ก่อการร้าย ฯลฯ) 4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว 5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่ เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง 6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่ เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต ในทางที่ผิด
  • 6. อาชญากรคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทาผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสาคัญ มีการจาแนกไว้ดังนี้ 1. พวกมือใหม่ (Novices) หรือมือสมัครเล่น อยากทดลองความรู้และส่วนใหญ่จะมิใช่ผู้ ที่เป็นอาชญา กรโดยนิสัย มิได้ดารงชีพโดยการกระทาผิด อาจหมายถึงพวกที่เพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตราย มัก เป็นพวกที่ชอบทาลายทุกสิ่งที่ขวางหน้าไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ หรือสภาพแวดล้อม 3. Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทาผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มี ระบบ พวกเขาจะใช้คอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเครื่องหาข่าวสาร เหมือนองค์กร ธุรกิจทั่วไป อีกส่วนหนึ่งก็จะใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสาคัญในการก่ออาชญากรรม หรือ ใช้เทคโนโลยีกลบเกลื่อนร่องร่อย ให้รอดพ้นจากเจ้าหน้าที่ 4. Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็น ห่วงมากที่สุด เนื่องจากนับวันจะทวีจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจับผิดแล้วจับผิดเล่า บ่อยครั้ง 5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลประโยชน์ส่วนตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และ ความรู้ของตนเพื่อหาเงินมิชอบทางกฎหมาย 6. Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทาผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง 7. Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบ ได้ โดยมีวัตถุประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเข้าไปทาลายหรือลบไฟล์ หรือ ทาให้คอมพิวเตอร์ใช้การไม่ได้ รวมถึงทาลายระบบปฏิบัติการ 8. นักเจาะข้อมูล (Hacker) ผู้ที่ชอบเจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น พยายามหาความท้าทายทาง เทคโนโลยีเข้าไปในเครือข่ายของผู้อื่นโดยที่ตนเองไม่มีอานาจ 9. อาชญากรในรูปแบบเดิมที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ เช่นพวกลักเล็กขโมยน้อยที่ พยายามขโมย บัตร ATM ของผู้อื่น
  • 7. 10. อาชญากรมืออาชีพ คนพวกนี้จะดารงชีพจากการกระทาความผิด เช่นพวกที่มักจะใช้ ความรู้ทาง เทคโนโลยีฉ้อโกงสถาบันการเงิน หรือการจารกรรมข้อมูลไปขาย เป็นต้น 11. พวกหัวรุนแรงคลั่งอุดมการณ์หรือลัทธิ มักก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อ อุดมการณ์ทาง การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา หรือสิทธิมนุษย์ชน เป็นต้น ผู้กระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์มีลักษณะพิเศษดังต่อไปนี้ 1. ส่วนใหญ่มักมีอายุน้อย 2. ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีวิชาชีพ 3. ลักษณะส่วนตัวเช่น - มีแรงจูงใจและความทะยานอยากสูงในการที่จะเอาชนะและฉลาด - ไม่ใช่อาชญากรโดยอาชีพ - กลัวที่จะถูกจับได้ กลัวครอบครัว เพื่อนและเพื่อนร่วมงานจะรู้ถึงการกระทาความผิดของตน
  • 8. กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศ ว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกาหนดคาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทาง ปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คาสั่ง ชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยู่ในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ง แสดงถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่าน ทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ ของบุคคลอื่น (๒) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 9. มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ นั้น มิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านา มาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบ ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการ นั้นมิได้มีไว้สาหรับตน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๘ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้ เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๙ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
  • 10. มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่ เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลง แหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน ไม่ว่าความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลัง และไม่ว่า จะเกิดขึ้นพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็นการกระทาโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่ เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มี ไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสาม แสนบาท ถ้าการกระทาความผิดตาม (๒) เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี มาตรา ๑๓ ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทา ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทาความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (๑) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน (๒) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ ความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (๓) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ง ราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
  • 11. (๔) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑)(๒) (๓) หรือ (๔) มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็น ภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยสุจริต ผู้กระทาไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายใน ความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือ บุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย มาตรา ๑๗ ผู้ใดกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ (๑) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอให้ ลงโทษ หรือ (๒) ผู้กระทาความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและผู้เสียหายได้ร้อง ขอให้ลงโทษ จะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ ว่ามีการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จาเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทาความผิดและหาตัวผู้กระทาความผิด