SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
Télécharger pour lire hors ligne
การสร้ างคาในภาษาไทย
พืนฐานการสร้ างคาไทย
  ้
         พยางค์ หมายถึง เสี ยงพูดที่เปล่งออกมา
พร้อมกันทั้งเสี ยงสระ เสี ยงพยัญชนะ และเสี ยง
วรรณยุกต์ ครั้งหนึ่ง ๆ
         - พยางค์เปิ ด
         - พยางค์ปิด
         คา หมายถึง เสี ยงพูดที่เปล่งออกมาครั้ง
เดียวก็มีความหมาย
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๑. คามูล
             คามูล หมายถึง คาดั้งเดิมมาแต่แรก เป็ นคา
เดียวโดด ๆ ซึ่งเจ้าของภาษานั้นๆ คิดขึ้นเองหรื อยืม
มาจากภาษาอื่น อาจเป็ นคาพยางค์เดียวหรื อคาหลาย
พยางค์อาจประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมายหรื อ
                                            ่
มีความหมายก็ได้ แต่ให้สงเกตคานั้นให้ดีวาเมื่อ
                            ั
พยางค์ดงกล่าวมารวมกันเป็ นคาแล้ว จะเกิด
           ั
ความหมายใหม่โดยไม่มีเค้าความหมายเดิม หรื อ
เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์เดิม
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ประเภทของคามูล
๑. คาทีมพยางค์ เดียวเรียกว่ า “คามูลพยางค์
         ่ ี
    เดียว” ทั้งคาไทยและคาที่มาจากภาษาอืน เช่น
                                         ่
    ลม เดิน พ่อ แม่ กอล์ฟ วิว
๒. คาทีมีหลายพยางค์ เรียกว่ า “คามูลหลาย
          ่
    พยางค์” เช่น
     คะแนน มี ๒ พยางค์ มี ๑ ความหมาย
     บอระเพ็ด มี ๓ พยางค์ มี ๑ ความหมาย
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
คามูลทียมมาจากภาษาอืน
       ่ื              ่
          คามูลหลายพยางค์บางคาเป็ นคาดั้งเดิมในภาษาอื่นที่เรา
รับมาใช้ เราจึงไม่สามารถแยกศัพท์น้ นได้อีก และถือเป็ นคา
                                       ั
มูลหลายพยางค์ เช่น “นารี” มีความหมาย ทุกพยางค์ ดังนี้
 นา (พื้นที่ราบทาเป็ นคันกั้นน้ าเป็ นแปลงๆ สาหรับปลูกข้าว)
  รี (เรี ยว)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
คามูลหลายพยางค์ทไทยรับมาจากภาษาต่ างประเทศ
                  ี่
เช่ น
คาทีมาจากภาษาจีน เช่น เก้าอี้ บะหมี่ ปาท่องโก๋
      ่
คาที่มาจากภาษาเขมร เช่น เฉนียน ผจญ อุตพิด
คาทีมาจากภาษาบาลี เช่น จุฬา ปัญญา เมตตา
        ่
คาทีมาจากภาษาสั นสกฤต เช่น จุฑา ปรัชญา ไมตรี
          ่
คาที่มาจากภาษาอังกฤษ เช่น แกลลอน ฟุตบอล
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
คามูลพยางค์ เดียวทียงเหลืออยู่ในภาษาไทย
                    ่ั
๑. คาเรียกเครือญาติ เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา
๒. คาเรียกส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย เช่น ตา หู ลิ้น
๓. คาเรียกชื่อทางภูมิศาสตร์ เช่น ดิน น้ า ลม
๔. คาเรียกชื่อเครื่องใช้ ในชีวตประจาวัน เช่น
                              ิ
     ถ้วย ชาม หม้อ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
คามูลพยางค์ เดียวทียงเหลืออยู่ในภาษาไทย(ต่ อ)
                    ่ั
๕. คาเรียกชื่อเครื่องมือในการประกอบอาชีพ
     เช่น มีด จอบ เสี ยม
๕. คาบอกอาการที่สาคัญ
     เช่น กิน นอน นัง ยืน ไป
                         ่
๗. คาบอกลักษณะสาคัญ
     เช่น ใหญ่ เล็ก ผอม หวาน นิ่ม หอม
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
 คามูลพยางค์ เดียว และคามูลหลายพยางค์ สามารถ
 ทาหน้ าทีเ่ ป็ นคาชนิดต่ าง ๆ ในภาษาไทย ได้ ดังนี้
     ชนิดคา       คามูลพยางค์ เดียว      คามูลหลายพยางค์
คานาม         เสื อ แมว               คางคก กุหลาบ
คาสรรพนาม     เรา ท่าน                กระผม ดิฉนั
คากริยา       ดู หิว                  เขนย บาเรอ
คาวิเศษณ์     หวาน ใหม่               จรัส ประเสริ ฐ
คาบุพบท       บน ใกล้                 เฉพาะ กระทัง ่
คาสั นธาน     หรื อ เพราะ             แม้นว่า ทว่า
อุทาน         ว้าย อุย้               อนิจจา พุทโธ่
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
      คามูลพยางค์ เดียว และหลายพยางค์ ต่ างก็เป็ นส่ วน
      หนึ่งของประโยค เช่ น


     ประโยค           คามูลพยางค์ เดียว    คามูลหลายพยางค์
๑. แม่ซ้ือนาฬิกา   แม่ ซื้อ               นาฬิกา
๒. กระดาษปลิว      ปลิว                   กระดาษ
๓. ทหารต้องทรหด    ต้อง                   ทหาร ทรหด
๔. ใครขโมยเงิน     ใคร เงิน               ขโมย
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล
              ่
คามูลทีมีหลายพยางค์ เมื่อแยกแล้วจะมี ๒ ลักษณะ คือ
          ่
๑. แต่ ละพยางค์ ไม่ มีความหมาย เช่ น
     กะละแม = กะ + ละ + แม
     (พยางค์ แต่ ละพยางค์ ไม่ มีความหมาย)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล(ต่ อ)
               ่
๒. หรือถ้ าพยางค์ใดพยางค์ หนึ่งมีความหมายหรือ
        มีความหมายทั้งหมด ความหมายนั้นจะไม่
       เกียวข้ องกับคามูลเดิม เช่ น
           ่
        สิ งโต = สิ ง + โต
(มีความหมายทั้งสองพยางค์ แต่ เมื่อรวมกัน
แล้วเกิดความหมายใหม่ ไม่ มเี ค้ าความหมายเดิม)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๒. คาประสม
       หมายถึง การนาคามูลตั้งแต่ ๒ คาขึ้นไป
   มาประสมกันเป็ นคาใหม่ คาที่นามาประสม
   กันต้องมีความหมายต่างกัน เมื่อรวมกันแล้ว
   เกิดความหมายใหม่ โดยความหมายใหม่ที่ได้
   ยังคงเค้ากับความหมายเดิม หรื ออาจมี
   ความหมายโดยนัยเชิงอุปมาก็ได้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะของคาประสม
๑. คาทีนามาประสมต้ องเขียนต่ างกัน เช่ น
        ่
    พ่อ + ครัว = พ่อครัว
๒. คาที่นามาประสมต้ องมีความหมายต่ างกัน เช่ น
    เตา (คานาม) +
    รีด (คากริยา) =
    เตารีด
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะของคาประสม(ต่ อ)
๓. เมื่อประสมคาแล้วจะได้ ศัพท์ ใหม่ มีความหมาย
    ใหม่ ทคล้ายเนือความเดิม เช่ น
          ี่      ้
    ราว + ตาก + ผ้ า = ราวตากผ้ า
    หมายถึง ไม้ หรือเส้ นราวเอาไว้ ตากผ้ า
    รถ + ด่ วน = รถด่ วน
    หมายถึง รถทีวงด้ วยความเร็วสู งเป็ นพิเศษ
                    ่ ิ่
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม
๑. คานาม ประสมกับ คาวิเศษณ์
      เช่น มดแดง, รถด่วน, น้ าแข็ง, หัวอ่อน
๒. คานาม ประสมกับ คากริยา
      เช่น ไม้เท้า, ม้านัง, ของกินเล่น, เครื่ องบิน
                         ่
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ)
๓. คานาม ประสมกับ คานาม
      เช่น แกงไก่, น้ าส้ม, หี บเพลง
๔. คานาม ประสมกับ คาบุพบท
      เช่น คนกลาง, เมืองนอก, เครื่ องใน
๕. คากริยา ประสมกับ คากริยา
      เช่น วิ่งเต้น, ต้มยา, พิมพ์ดีด, วาดเขียน
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ)
๖. คากริยา ประสมกับ คานาม
      เช่น กินเส้น, วางใจ, ถือตัว
๗. คาวิเศษณ์ ประสมกับ คานาม
      เช่น ดีใจ, หลายใจ, แข็งข้อ
๘. คาบุพบท ประสมกับ คานาม
      เช่น นอกใจ, นอกคอก, เหนือหัว
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ)
๙. คาภาษาต่ างประเทศมาประสมกับคาไทย
     ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาเขมร
          เช่น ของขลัง, นายตรวจ
     ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาจีน
          เช่น กินโต๊ะ, เข้าหุน
                              ้
     ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาบาลี
          เช่น ตูนิรภัย, แม่พิมพ์
                 ้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ)
๑๐. สร้ างคาเลียนแบบคาสมาส แต่ ไม่ ใช่ คาสมาส
เช่ น พลเมือง, พลขับ, ผลไม้ , คุณค่ า ฯลฯ
๑๑. คาประสมบางคามีความหมายโดยนัยในเชิง
อุปมา เช่ น
         หลายใจ =คนหลายใจ
                 (คนจิตใจโลเลชอบหลายอย่ าง)
         หัวไม้ =นักเลงหัวไม้ (นักเลงอันธพาล)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ)
๑๒. คาที่ขนต้ นด้ วย นัก, ชาว, การ, ความ,
               ึ้
เรื่อง, โรง, ช่ าง, หมอ, ของ, ผู้, ที, เครื่อง
                                       ่
จัดเป็ นคาประสม เช่ น
         - ช่ าง(ผู้ชานาญในการทา.....)
           ช่ างไม้ ช่ างเงิน ช่ างทอง
๑๓. คาประสมทีสร้ างจากการจาแนก คน สั ตว์
                     ่
สิ่ งของ ลักษณะ อาการ เช่ น
         - คน เช่ น คนกลาง คนนอก คนใน
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ข้ อสั งเกตเกียวกับคาประสม
              ่
๑. คาประสมจะต้ องประกอบด้ วย ๒ ส่ วน ส่ วน
หนึ่งจะเป็ นคาหลัก อีกส่ วนหนึ่งเป็ นคาประกอบ
ขยาย เช่น น้ าปลา, บ้านพัก, ผงซักฟอก, โรง
รับจานา
๒. ความหมายของคาทีนามาประสมกันต้ องไม่
                          ่
เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงกันข้ ามกัน ซึ่ง
เป็ นคาซ้ อนไม่ ใช่ คาประสม
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ข้ อสั งเกตเกียวกับคาประสม(ต่ อ)
              ่
๓. คาทีนามาประสมกันต้ องมีความหมายใหม่ เกิด
           ่
เป็ นศัพท์ ใหม่ ขึนมา
                  ้
๔. คาที่นามาประสมกันแล้วไม่ มีความหมายใหม่
ไม่ เกิดศัพท์ ใหม่ ท้งความหมายโดยตรงและ
                     ั
ความหมายโดยนัยถือว่ าไม่ ใช่ คาประสม อาจเป็ น
กลุ่มคาหรือประโยคก็ได้ เช่ น
        ปาก + กา = ปากกา
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๓. คาซ้ อน
        หมายถึง คาที่เกิดจากการนาคามูลที่มี
   ความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงกัน หรื อ
   คามูลที่มีความหมายตรงข้ามกัน หรื อคามูลที่
   ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรื อมีเสี ยง
   สระคู่กนตั้งแต่ ๒ คาขึ้นไปมาเรี ยงซ้อนกัน
           ั
   เพื่อให้ได้ความหมายชัดเจนขึ้น
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๓.๑ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี
                                   ้   ่
ความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน เช่น เร็ ว
ไว ใหญ่โต ดูแล นุ่มนิ่ม ทรัพย์สิน สูญหาย
หยาบช้า เลือกสรร เป็ นต้น
๓.๒ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี
                                     ้   ่
ความหมายล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น อ่อน
นุ่ม เล็กน้อย ไร่ นา แข้งขา หน้าตา ใจคอ ยักษ์
มาร ศีลธรรม ภาษีอากร เขตแดน ถ้วยโถโอชาม
เย็บปักถักร้อย เป็ นต้น
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๓.๓ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี
                                        ้    ่
ความหมายตรงข้ ามกัน เช่น ถูกผิด หนักเบา สูง
ต่า ดาขาว ใกล้ไกล ชัวดี เหตุผล สูงต่าดา
                             ่
ขาว ตัดเป็ นตัดตาย ทีหน้าทีหลัง ตื้นลึกหนา
บาง เป็ นต้น
๓.๔ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปที่
                                      ้
ขึนต้ นด้ วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรือมีเสี ยงสระคู่
  ้
กัน เช่น อึกอัก จูจ้ ี สวิงสวาย กระจุ๋มกระจิ๋ม
                   ้
เป็ นต้น
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๓.๕ คาซ้ อนเพือความหมาย คาซ้อนที่เกิดจากคามูล
                   ่
ที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงกัน หรื อคา
มูลที่มีความหมายตรงข้ามกัน คาซ้อนประเภทนี้มุ่ง
ที่ความหมายเป็ นสาคัญ เช่น ถ้วยชาม ผีสาง เงิน
ทอง พี่นอง เพื่อนเกลอ เป็ นต้น
           ้
๓.๖ คาซ้ อนเพือเสี ยง คาซ้อนที่เกิดจากคามูลที่
                 ่
ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรื อมีเสี ยงสระคู่
กัน ซ้อนประเภทนี้มุ่งที่เสี ยงมากกว่าความหมาย
เช่น จริ งจัง ชิงชัง เกะเก เป็ นต้น
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะความหมายของคาซ้ อน
๑. ความหมายอยู่ทคาใดคาหนึ่ง ได้แก่
                     ี่
                        ่
     - ความหมายอยูคาต้น เช่น คิดอ่าน ยุ่งยาก
ซื่อตรง ขวัญหนีดีฝ่อ มือไวใจเร็ ว จับไม่ ได้ ไล่ไม่ทน
                                                    ั
                          ่
     - ความหมายอยูที่คาท้าย เช่น ปกปิ ด เท็จ
จริง ได้เสี ย เนื้อตัว น้ าใสใจจริง
ปล่อยปละละเลย เอร็ ดอร่ อย
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ)
๒. ความหมายอยู่ทคาใดคาหนึ่ง คาอื่นไม่ปรากฏ
                          ี่
ความหมายแต่ช่วยเน้นคา ที่มีความหมาย เช่น
เดียวดาย ดือดึง ว่ องไว แปดเปื้ อน
               ้
๓. ความหมายอยู่ทแต่ ละคา แต่ เป็ นความหมาย
                       ี่
     กว้ างออกไป เช่น
                                       ่
     เสื้ อผ้า ความหมายไม่ได้อยูที่เสื้ อกับผ้าแต่
                 รวมถึงเครื่องนุ่งห่ ม
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ)
๔. ความหมายอยู่ทคาต้ นกับคาท้ าย เช่น
                   ี่
เคราะห์ หามยามร้ าย ชอบมาพากล
ฤกษ์ งามยามดี ยากดีมีจน ผลหมากรากไม้
ข้ าวยากหมากแพง อดตาหลับขับตานอน
ติดสอยห้อยตาม
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ)
๕. มีความหมายทั้ง ๒ คารวมกัน เช่น บุญญา
บารมี อานาจวาสนา เอวบางร่ างน้อย
ยศถาบรรดาศักดิ์ ดินฟ้ าอากาศ
๖. ความหมายเป็ นไปในเชิงอุปมา เช่น นุ่มนวล
อ่อนหวาน อ่อนน้อม ดูดดื่ม อยูกิน เสี ยดแทง
                             ่
ค้ าจุน อุมชู เบิกบาน
          ้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
    ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม
    ๑. เกิดจากคามูลทีมความหมายอย่ างเดียวกันหรือ
                       ่ ี
    ทานองเดียวกัน ส่ วนคาประสมเกิดจากคามูลทีมี
                                            ่
    ความหมายต่ างกัน เช่ น
             คาซ้ อน                     คาประสม
รากฐาน                        ภูมิฐาน
เรื อแพ                       เรื อรบ
บ้านเรื อน                    บ้านนอก
ลูกหลาน                       ลูกค้า
รู ปร่ าง                     รู ปถ่าย
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
   ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม(ต่ อ)
   ๒. ความหมายของคาซ้ อนส่ วนมากอยู่ทคามูลคา
                                        ี่
   ใดคาหนึ่งเพียงคาเดียว ส่ วนความหมายของคา
   ประสมจะเป็ นความหมายเกิดขึนใหม่ ต่างจากคามูล
                                ้
   เดิม เช่ น
              คาซ้ อน                      คาประสม
                      ่
กีดกัน (ความหมายอยูที่ กัน )     กันสาด
เขตแดน (ความหมายอยูที่ เขต  ่    ดินแดน
หรื อ แดน)                       เล่นตัว
                        ่
เนื้อตัว (ความหมายอยูที่ ตัว )   ปากกา
                          ่
ปากคอ (ความหมายอยูที่ ปาก )
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม(ต่ อ)
หมายเหตุ คาซ้อนบางคามีความหมายใหม่เพี้ยนไป
จากคามูลเดิมเช่นเดียวกับคาประสมก็ได้เช่น
                               ั
พีน้อง ไม่ได้หมายถึงเฉพาะ พี่กบน้อง แต่รวมถึงญาติ
     ่
ทั้งหมด
ลูกหลาน ไม่ได้หมายถึงเฉพาะลูกหลานททแต่รวมถึง
ลูก หลานหรื อเหลนทั้งหมด
ข้ าวปลา ไม่ได้หมายถึงข้าวกับปลา แต่รวมถึงอาหาร
ทัวไป
   ่
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๔. คาซ้า
        หมายถึง คาทีเ่ กิดจากคามูล ๒ คา ที่
   เหมือนกันนามาซ้ากัน แล้วเกิดความหมายใหม่
   ความหมายใหม่ ที่เกิดขึนอาจเน้ นหนักหรือเบา
                           ้
   ลงไปหรือเปลียนเป็ นอย่ างอืน โดยมี
                  ่            ่
   เครื่องหมายไม้ ยมก ( ๆ ) แทนคาทีซ้า เช่ น
                                      ่
   เพือน ๆ ท่ าน ๆ คาซ้าจะถือว่ าเป็ นคาประสม
      ่
   ชนิดหนึ่งก็ได้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ชนิดของคาไทยที่เอามาซ้ากัน
         ในภาษาไทยเราสามารถเอาคาทุกชนิดมา
ซ้าได้ ดังนี้
๑. ซ้าคานาม เช่ น พี่ ๆ น้ องๆ เด็ก ๆ
๒. ซ้าคาสรรพนาม เช่ น เขา ๆ เรา ๆ คุณ ๆ
๓. ซ้าคากริยา เช่ น นั่ง ๆ นอน ๆ เดิน ๆ
๔. ซ้าคาวิเศษณ์ เช่ น เร็ว ๆ ไว ๆ ช้ า ๆ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ชนิดของคาไทยที่เอามาซ้ากัน(ต่ อ)
๕. ซ้าคาบุพบท เช่ น ใกล้ ๆ ไกล ๆ เหนือ ๆ
๖. ซ้าคาสั นธาน เช่ น ทั้ง ๆ ที่ เหมือน ๆ
    ราว ๆ กับ
๗. ซ้าคาอุทาน เช่ น โฮ ๆ กริ๊ด ๆ อุ๊ย ๆ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะของคาซ้า
๑. อาจเป็ นคาชนิดใดและทาหน้ าทีใดก็ได้
                                   ่
    เช่ น คานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์
๒. นาคาหนึ่ง ๆ มาซ้ากันสองครั้ง
    เช่ น เด็ก ๆ เล็ก ๆ เล่น ๆ
๓. นาคาซ้ อนมาแยกซ้ากัน
    เช่ น ลูบคลา เป็ น ลูบ ๆ คลา ๆ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ลักษณะของคาซ้า(ต่ อ)
๔. นาคาซ้ามาประสมกัน เช่ น งู ๆ ปลา ๆ
    ไป ๆ มา ๆ ชั่ว ๆ ดี ๆ ลม ๆ แล้ง ๆ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ความหมายของคาซ้า
๑. บอกพหูพจน์ คาเดิมความหมายอาจเป็ น
เอกพจน์หรื อพหูพจน์ ความหมายกลายเป็ น
พหูพจน์อย่างเดียว เช่น
       เขาเล่นกับเพือน
                    ่
       (ความหมายเป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์)
       เขาเล่นกับเพือน ๆ
                      ่
       (ความหมายเป็ นพหูพจน์)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ความหมายของคาซ้า(ต่ อ)
๒. บอกความเน้ นหนัก คาวิเศษณ์บางคาเมื่อ
เป็ นคาซ้ าจะมีความหมายเน้นหนักกว่าเดิม โดยมาก
เวลาพูดจะเปลี่ยนเสี ยงคาแรกเป็ นเสี ยงตรี เช่น
          สวย ๆ เป็ น ซ้วยสวย
          ดี ๆ เป็ น ดี๊ดี
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ความหมายของคาซ้า(ต่ อ)
๓. บอกความไม่ เน้ นหนัก คาวิเศษณ์บางคาเมื่อ
เป็ นคาซ้ าความหมายจะคลายความเน้นหนักกว่าเดิม
คาซ้ าประเภทนี้ไม่เปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์ของคาแรก
เช่น
          สวย (สวยจริ ง) สวย ๆ (ไม่สวยทีเดียว)
          ดี (ดีจริ ง)    ดี ๆ (ไม่ดีทีเดียว)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ความหมายของคาซ้า(ต่ อ)
๔. บอกคาสั่ ง คาวิเศษณ์ที่เป็ นคาซ้ าเมื่อประกอบ
คากริ ยา จะเน้นความและบอกคาสัง เช่น
                                 ่
   อยูเ่ งียบ (วลี)   อยูเ่ งียบ ๆ (ประโยคคาสัง) ่
   พูดดัง (วลี)       พูดดัง ๆ (ประโยคคาสัง)   ่
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ความหมายของคาซ้า(ต่ อ)
๕. เปลียนความหมายใหม่ คาซ้ าบางคาเปลี่ยน
         ่
ความหมายใหม่โดยไม่มีเค้าของความหมายเดิม เช่น
กล้วย ๆ (ง่าย) น้อง ๆ (เกือบ,ใกล้,คล้าย)
หมู ๆ (ง่าย) ไล่ ๆ (ใกล้เคียง)
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
หมายเหตุ คาที่ออกเสี ยงซ้ ากันบางคาไม่ใช่คาซ้ า
เพราะไม่ได้เกิดคาใหม่และความหมายก็ไม่
เปลี่ยนไป ในกรณี เช่นนี้จะใช้ไม้ยมกแทนไม่ได้
เช่น
        เราควรเก็บของไว้ที่ทของมัน
                             ี่
        ที่ที่ ไม่ใช่คาซ้ า
        เราควรเก็บของไว้เป็ นที่ ๆ
        ที่ ๆ เป็ นคาซ้ า
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๕. คาพ้อง
        หมายถึง คาที่มีลกษณะเหมือนกัน หรื อซ้ า
                          ั
   กัน เช่น เขียนเหมือนกัน หรื อออกเสี ยง
   เหมือนกัน หรื อเหมือนกันทั้งรู ปและเสี ยง แต่
   มีความหมายต่างกัน ซึ่งจะพิจารณาตาม
   เนื้อความของคาที่เกี่ยวข้องกับคาพ้อง หรื อ
   คาที่เขียนต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกัน
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๑. คาพ้องเสี ยง
     คาพ้องเสี ยง คือ คาที่มีเสี ยงเหมือนกัน แต่มีรูป
ต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น คากลอน เรื่ อง
“คาพ้องเสี ยง”
                  ข้ าได้เช่านาวาให้ค่าเช่า
        ริ มศาลเจ้าเจ๊กบ้ามันฆ่ าหมู
                  กาไว้มนแล้วไม่ทากาม์ ของกู
                           ั่
        จะทนสูบาปกรรมไปทาไม
                ้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ตัวอย่ างคาพ้องเสี ยง
 ๑) กฎ หมายถึง ข้อกาหนด
     เช่น กฎของลูกเสื อสามัญมี ๓ ข้อ
     กด หมายถึง บังคับลง, ข่ม
     เช่น เขาเอามือกดหัวฉันไว้
๒) กรรณ หมายถึง หู
     เช่น พระกรรณหมายถึงหู
     กัณฐ์ หมายถึง คอ เช่น ทศกัณฐ์ มี ๑๐ คอ
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๒. คาพ้องรูป
       หมายถึง คาที่เขียนเหมือนกัน อ่านต่างกัน
และมีความหมายต่างกัน เช่น คากลอน เรื่ อง
“คาพ้องรู ป”
       กระบวนหนึ่งตัวตัวเขียนไม่เปลี่ยนแปลก
       แต่อ่านแยกสองความตามวิถี
       วัดเขมาโกศเขมาเพลาก็มี
       แต่ที่น้ ีไปถึงป่ าเพลาเย็น
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ตัวอย่ างคาพ้องรูป
๑) กรี อ่านว่ า กะ – รี
     หมายถึง ช้าง เช่น พญากรีมีงายาวมาก
     กฺรี หมายถึง กระดูกแหลมที่หวกุง  ั ้
                          ้        ่ ั
                   เช่น กุงมีกรีอยูที่หว
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ตัวอย่ างคาพ้องรูป(ต่ อ)
๒) แขม อ่านว่ า แขมฺ
     หมายถึง ไม้ลมลุกชนิดหนึ่งมักขึ้นตามชาย
                      ้
                                               ่
    น้ า ชายป่ าพงก็เรี ยก เช่น มีตนแขมขึ้ นอยูตาม
                                   ้
    ชายน้ า
     ขะ – แม
     หมายถึง คนเขมร เช่น คนแขมเป็ นคนเขมร
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๓. คาพ้องรูป – พ้องเสี ยง
        หมายถึง คาที่เขียนเหมือนกัน และออก
   เสี ยงเหมือนกัน แต่มีความหมายต่างกัน เช่น
    คากลอนเรื่อง “คาพ้องรูป – พ้องเสี ยง”
        ขันน้ าใสไก่ขนขันชะเนาะ
                     ั
        คนหัวเราะเจ้าสานวนก็ชวนขัน
        กันกันผมให้เขาเรารักกัน
        ยิมเห็นฟันอย่าฟันให้บรรลัย
          ้
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
ตัวอย่ างคาพ้องรูป – พ้องเสี ยง
กัน ๑ หมายถึงคาใช้แทนผูพดเพศชาย พูดกับผู ้
                             ้ ู
         เสมอหรื อผูนอยในทานองกันเอง
                       ้ ้
         เช่น วันนี้กนไม่ไปด้วยนะ
                     ั
กัน ๒ หมายถึงคาประกอบท้ายกริ ยาของผูกระทา้
         ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปแสดงการกระทา
         ร่ วมกัน เช่น พวกเรามาปรึ กษาหารื อกัน
การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ)
๔ . คาพ้องความ
           หมายถึง คาที่มีความหมายเหมือนกัน อาจ
เรี ยกว่า “คาไวพจน์ ” ก็ได้ เช่น
        ดวงอาทิตย์ = ตะวัน สุ ริยะ สุ ริยา สุ ริยน
                                                 ั
        น้ า        = ชล วารี อุทก
        ป่ า        = วนา พนา พนาลี ไพร
        ฝน          = พรรษ (พัด) พิรุณ

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
Nun'Top Lovely LoveLove
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
Lakkana Wuittiket
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
krubuatoom
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
KruBowbaro
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 

Similaire à การสร้างคำ

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
guestd57bc7
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

Similaire à การสร้างคำ (20)

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 

การสร้างคำ

  • 1. การสร้ างคาในภาษาไทย พืนฐานการสร้ างคาไทย ้ พยางค์ หมายถึง เสี ยงพูดที่เปล่งออกมา พร้อมกันทั้งเสี ยงสระ เสี ยงพยัญชนะ และเสี ยง วรรณยุกต์ ครั้งหนึ่ง ๆ - พยางค์เปิ ด - พยางค์ปิด คา หมายถึง เสี ยงพูดที่เปล่งออกมาครั้ง เดียวก็มีความหมาย
  • 2. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๑. คามูล คามูล หมายถึง คาดั้งเดิมมาแต่แรก เป็ นคา เดียวโดด ๆ ซึ่งเจ้าของภาษานั้นๆ คิดขึ้นเองหรื อยืม มาจากภาษาอื่น อาจเป็ นคาพยางค์เดียวหรื อคาหลาย พยางค์อาจประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมายหรื อ ่ มีความหมายก็ได้ แต่ให้สงเกตคานั้นให้ดีวาเมื่อ ั พยางค์ดงกล่าวมารวมกันเป็ นคาแล้ว จะเกิด ั ความหมายใหม่โดยไม่มีเค้าความหมายเดิม หรื อ เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์เดิม
  • 3. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ประเภทของคามูล ๑. คาทีมพยางค์ เดียวเรียกว่ า “คามูลพยางค์ ่ ี เดียว” ทั้งคาไทยและคาที่มาจากภาษาอืน เช่น ่ ลม เดิน พ่อ แม่ กอล์ฟ วิว ๒. คาทีมีหลายพยางค์ เรียกว่ า “คามูลหลาย ่ พยางค์” เช่น คะแนน มี ๒ พยางค์ มี ๑ ความหมาย บอระเพ็ด มี ๓ พยางค์ มี ๑ ความหมาย
  • 4. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลทียมมาจากภาษาอืน ่ื ่ คามูลหลายพยางค์บางคาเป็ นคาดั้งเดิมในภาษาอื่นที่เรา รับมาใช้ เราจึงไม่สามารถแยกศัพท์น้ นได้อีก และถือเป็ นคา ั มูลหลายพยางค์ เช่น “นารี” มีความหมาย ทุกพยางค์ ดังนี้ นา (พื้นที่ราบทาเป็ นคันกั้นน้ าเป็ นแปลงๆ สาหรับปลูกข้าว) รี (เรี ยว)
  • 5. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลหลายพยางค์ทไทยรับมาจากภาษาต่ างประเทศ ี่ เช่ น คาทีมาจากภาษาจีน เช่น เก้าอี้ บะหมี่ ปาท่องโก๋ ่ คาที่มาจากภาษาเขมร เช่น เฉนียน ผจญ อุตพิด คาทีมาจากภาษาบาลี เช่น จุฬา ปัญญา เมตตา ่ คาทีมาจากภาษาสั นสกฤต เช่น จุฑา ปรัชญา ไมตรี ่ คาที่มาจากภาษาอังกฤษ เช่น แกลลอน ฟุตบอล
  • 6. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลพยางค์ เดียวทียงเหลืออยู่ในภาษาไทย ่ั ๑. คาเรียกเครือญาติ เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ๒. คาเรียกส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย เช่น ตา หู ลิ้น ๓. คาเรียกชื่อทางภูมิศาสตร์ เช่น ดิน น้ า ลม ๔. คาเรียกชื่อเครื่องใช้ ในชีวตประจาวัน เช่น ิ ถ้วย ชาม หม้อ
  • 7. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลพยางค์ เดียวทียงเหลืออยู่ในภาษาไทย(ต่ อ) ่ั ๕. คาเรียกชื่อเครื่องมือในการประกอบอาชีพ เช่น มีด จอบ เสี ยม ๕. คาบอกอาการที่สาคัญ เช่น กิน นอน นัง ยืน ไป ่ ๗. คาบอกลักษณะสาคัญ เช่น ใหญ่ เล็ก ผอม หวาน นิ่ม หอม
  • 8. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลพยางค์ เดียว และคามูลหลายพยางค์ สามารถ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นคาชนิดต่ าง ๆ ในภาษาไทย ได้ ดังนี้ ชนิดคา คามูลพยางค์ เดียว คามูลหลายพยางค์ คานาม เสื อ แมว คางคก กุหลาบ คาสรรพนาม เรา ท่าน กระผม ดิฉนั คากริยา ดู หิว เขนย บาเรอ คาวิเศษณ์ หวาน ใหม่ จรัส ประเสริ ฐ คาบุพบท บน ใกล้ เฉพาะ กระทัง ่ คาสั นธาน หรื อ เพราะ แม้นว่า ทว่า อุทาน ว้าย อุย้ อนิจจา พุทโธ่
  • 9. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) คามูลพยางค์ เดียว และหลายพยางค์ ต่ างก็เป็ นส่ วน หนึ่งของประโยค เช่ น ประโยค คามูลพยางค์ เดียว คามูลหลายพยางค์ ๑. แม่ซ้ือนาฬิกา แม่ ซื้อ นาฬิกา ๒. กระดาษปลิว ปลิว กระดาษ ๓. ทหารต้องทรหด ต้อง ทหาร ทรหด ๔. ใครขโมยเงิน ใคร เงิน ขโมย
  • 10. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล ่ คามูลทีมีหลายพยางค์ เมื่อแยกแล้วจะมี ๒ ลักษณะ คือ ่ ๑. แต่ ละพยางค์ ไม่ มีความหมาย เช่ น กะละแม = กะ + ละ + แม (พยางค์ แต่ ละพยางค์ ไม่ มีความหมาย)
  • 11. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล(ต่ อ) ่ ๒. หรือถ้ าพยางค์ใดพยางค์ หนึ่งมีความหมายหรือ มีความหมายทั้งหมด ความหมายนั้นจะไม่ เกียวข้ องกับคามูลเดิม เช่ น ่ สิ งโต = สิ ง + โต (มีความหมายทั้งสองพยางค์ แต่ เมื่อรวมกัน แล้วเกิดความหมายใหม่ ไม่ มเี ค้ าความหมายเดิม)
  • 12. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๒. คาประสม หมายถึง การนาคามูลตั้งแต่ ๒ คาขึ้นไป มาประสมกันเป็ นคาใหม่ คาที่นามาประสม กันต้องมีความหมายต่างกัน เมื่อรวมกันแล้ว เกิดความหมายใหม่ โดยความหมายใหม่ที่ได้ ยังคงเค้ากับความหมายเดิม หรื ออาจมี ความหมายโดยนัยเชิงอุปมาก็ได้
  • 13. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะของคาประสม ๑. คาทีนามาประสมต้ องเขียนต่ างกัน เช่ น ่ พ่อ + ครัว = พ่อครัว ๒. คาที่นามาประสมต้ องมีความหมายต่ างกัน เช่ น เตา (คานาม) + รีด (คากริยา) = เตารีด
  • 14. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะของคาประสม(ต่ อ) ๓. เมื่อประสมคาแล้วจะได้ ศัพท์ ใหม่ มีความหมาย ใหม่ ทคล้ายเนือความเดิม เช่ น ี่ ้ ราว + ตาก + ผ้ า = ราวตากผ้ า หมายถึง ไม้ หรือเส้ นราวเอาไว้ ตากผ้ า รถ + ด่ วน = รถด่ วน หมายถึง รถทีวงด้ วยความเร็วสู งเป็ นพิเศษ ่ ิ่
  • 15. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม ๑. คานาม ประสมกับ คาวิเศษณ์ เช่น มดแดง, รถด่วน, น้ าแข็ง, หัวอ่อน ๒. คานาม ประสมกับ คากริยา เช่น ไม้เท้า, ม้านัง, ของกินเล่น, เครื่ องบิน ่
  • 16. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ) ๓. คานาม ประสมกับ คานาม เช่น แกงไก่, น้ าส้ม, หี บเพลง ๔. คานาม ประสมกับ คาบุพบท เช่น คนกลาง, เมืองนอก, เครื่ องใน ๕. คากริยา ประสมกับ คากริยา เช่น วิ่งเต้น, ต้มยา, พิมพ์ดีด, วาดเขียน
  • 17. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ) ๖. คากริยา ประสมกับ คานาม เช่น กินเส้น, วางใจ, ถือตัว ๗. คาวิเศษณ์ ประสมกับ คานาม เช่น ดีใจ, หลายใจ, แข็งข้อ ๘. คาบุพบท ประสมกับ คานาม เช่น นอกใจ, นอกคอก, เหนือหัว
  • 18. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ) ๙. คาภาษาต่ างประเทศมาประสมกับคาไทย ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาเขมร เช่น ของขลัง, นายตรวจ ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาจีน เช่น กินโต๊ะ, เข้าหุน ้ ภาษาไทย ประสมกับ ภาษาบาลี เช่น ตูนิรภัย, แม่พิมพ์ ้
  • 19. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ) ๑๐. สร้ างคาเลียนแบบคาสมาส แต่ ไม่ ใช่ คาสมาส เช่ น พลเมือง, พลขับ, ผลไม้ , คุณค่ า ฯลฯ ๑๑. คาประสมบางคามีความหมายโดยนัยในเชิง อุปมา เช่ น หลายใจ =คนหลายใจ (คนจิตใจโลเลชอบหลายอย่ าง) หัวไม้ =นักเลงหัวไม้ (นักเลงอันธพาล)
  • 20. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) วิธีสร้ างคาประสม(ต่ อ) ๑๒. คาที่ขนต้ นด้ วย นัก, ชาว, การ, ความ, ึ้ เรื่อง, โรง, ช่ าง, หมอ, ของ, ผู้, ที, เครื่อง ่ จัดเป็ นคาประสม เช่ น - ช่ าง(ผู้ชานาญในการทา.....) ช่ างไม้ ช่ างเงิน ช่ างทอง ๑๓. คาประสมทีสร้ างจากการจาแนก คน สั ตว์ ่ สิ่ งของ ลักษณะ อาการ เช่ น - คน เช่ น คนกลาง คนนอก คนใน
  • 21. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตเกียวกับคาประสม ่ ๑. คาประสมจะต้ องประกอบด้ วย ๒ ส่ วน ส่ วน หนึ่งจะเป็ นคาหลัก อีกส่ วนหนึ่งเป็ นคาประกอบ ขยาย เช่น น้ าปลา, บ้านพัก, ผงซักฟอก, โรง รับจานา ๒. ความหมายของคาทีนามาประสมกันต้ องไม่ ่ เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงกันข้ ามกัน ซึ่ง เป็ นคาซ้ อนไม่ ใช่ คาประสม
  • 22. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตเกียวกับคาประสม(ต่ อ) ่ ๓. คาทีนามาประสมกันต้ องมีความหมายใหม่ เกิด ่ เป็ นศัพท์ ใหม่ ขึนมา ้ ๔. คาที่นามาประสมกันแล้วไม่ มีความหมายใหม่ ไม่ เกิดศัพท์ ใหม่ ท้งความหมายโดยตรงและ ั ความหมายโดยนัยถือว่ าไม่ ใช่ คาประสม อาจเป็ น กลุ่มคาหรือประโยคก็ได้ เช่ น ปาก + กา = ปากกา
  • 23. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๓. คาซ้ อน หมายถึง คาที่เกิดจากการนาคามูลที่มี ความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงกัน หรื อ คามูลที่มีความหมายตรงข้ามกัน หรื อคามูลที่ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรื อมีเสี ยง สระคู่กนตั้งแต่ ๒ คาขึ้นไปมาเรี ยงซ้อนกัน ั เพื่อให้ได้ความหมายชัดเจนขึ้น
  • 24. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๓.๑ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี ้ ่ ความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน เช่น เร็ ว ไว ใหญ่โต ดูแล นุ่มนิ่ม ทรัพย์สิน สูญหาย หยาบช้า เลือกสรร เป็ นต้น ๓.๒ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี ้ ่ ความหมายล้ายคลึงกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น อ่อน นุ่ม เล็กน้อย ไร่ นา แข้งขา หน้าตา ใจคอ ยักษ์ มาร ศีลธรรม ภาษีอากร เขตแดน ถ้วยโถโอชาม เย็บปักถักร้อย เป็ นต้น
  • 25. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๓.๓ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปทีมี ้ ่ ความหมายตรงข้ ามกัน เช่น ถูกผิด หนักเบา สูง ต่า ดาขาว ใกล้ไกล ชัวดี เหตุผล สูงต่าดา ่ ขาว ตัดเป็ นตัดตาย ทีหน้าทีหลัง ตื้นลึกหนา บาง เป็ นต้น ๓.๔ คาซ้ อนที่ประกอบด้ วยคาสองคาขึนไปที่ ้ ขึนต้ นด้ วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรือมีเสี ยงสระคู่ ้ กัน เช่น อึกอัก จูจ้ ี สวิงสวาย กระจุ๋มกระจิ๋ม ้ เป็ นต้น
  • 26. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๓.๕ คาซ้ อนเพือความหมาย คาซ้อนที่เกิดจากคามูล ่ ที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงกัน หรื อคา มูลที่มีความหมายตรงข้ามกัน คาซ้อนประเภทนี้มุ่ง ที่ความหมายเป็ นสาคัญ เช่น ถ้วยชาม ผีสาง เงิน ทอง พี่นอง เพื่อนเกลอ เป็ นต้น ้ ๓.๖ คาซ้ อนเพือเสี ยง คาซ้อนที่เกิดจากคามูลที่ ่ ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสี ยงเดียวกันหรื อมีเสี ยงสระคู่ กัน ซ้อนประเภทนี้มุ่งที่เสี ยงมากกว่าความหมาย เช่น จริ งจัง ชิงชัง เกะเก เป็ นต้น
  • 27. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะความหมายของคาซ้ อน ๑. ความหมายอยู่ทคาใดคาหนึ่ง ได้แก่ ี่ ่ - ความหมายอยูคาต้น เช่น คิดอ่าน ยุ่งยาก ซื่อตรง ขวัญหนีดีฝ่อ มือไวใจเร็ ว จับไม่ ได้ ไล่ไม่ทน ั ่ - ความหมายอยูที่คาท้าย เช่น ปกปิ ด เท็จ จริง ได้เสี ย เนื้อตัว น้ าใสใจจริง ปล่อยปละละเลย เอร็ ดอร่ อย
  • 28. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ) ๒. ความหมายอยู่ทคาใดคาหนึ่ง คาอื่นไม่ปรากฏ ี่ ความหมายแต่ช่วยเน้นคา ที่มีความหมาย เช่น เดียวดาย ดือดึง ว่ องไว แปดเปื้ อน ้ ๓. ความหมายอยู่ทแต่ ละคา แต่ เป็ นความหมาย ี่ กว้ างออกไป เช่น ่ เสื้ อผ้า ความหมายไม่ได้อยูที่เสื้ อกับผ้าแต่ รวมถึงเครื่องนุ่งห่ ม
  • 29. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ) ๔. ความหมายอยู่ทคาต้ นกับคาท้ าย เช่น ี่ เคราะห์ หามยามร้ าย ชอบมาพากล ฤกษ์ งามยามดี ยากดีมีจน ผลหมากรากไม้ ข้ าวยากหมากแพง อดตาหลับขับตานอน ติดสอยห้อยตาม
  • 30. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะความหมายของคาซ้ อน(ต่ อ) ๕. มีความหมายทั้ง ๒ คารวมกัน เช่น บุญญา บารมี อานาจวาสนา เอวบางร่ างน้อย ยศถาบรรดาศักดิ์ ดินฟ้ าอากาศ ๖. ความหมายเป็ นไปในเชิงอุปมา เช่น นุ่มนวล อ่อนหวาน อ่อนน้อม ดูดดื่ม อยูกิน เสี ยดแทง ่ ค้ าจุน อุมชู เบิกบาน ้
  • 31. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม ๑. เกิดจากคามูลทีมความหมายอย่ างเดียวกันหรือ ่ ี ทานองเดียวกัน ส่ วนคาประสมเกิดจากคามูลทีมี ่ ความหมายต่ างกัน เช่ น คาซ้ อน คาประสม รากฐาน ภูมิฐาน เรื อแพ เรื อรบ บ้านเรื อน บ้านนอก ลูกหลาน ลูกค้า รู ปร่ าง รู ปถ่าย
  • 32. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม(ต่ อ) ๒. ความหมายของคาซ้ อนส่ วนมากอยู่ทคามูลคา ี่ ใดคาหนึ่งเพียงคาเดียว ส่ วนความหมายของคา ประสมจะเป็ นความหมายเกิดขึนใหม่ ต่างจากคามูล ้ เดิม เช่ น คาซ้ อน คาประสม ่ กีดกัน (ความหมายอยูที่ กัน ) กันสาด เขตแดน (ความหมายอยูที่ เขต ่ ดินแดน หรื อ แดน) เล่นตัว ่ เนื้อตัว (ความหมายอยูที่ ตัว ) ปากกา ่ ปากคอ (ความหมายอยูที่ ปาก )
  • 33. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ข้ อสั งเกตการพิจารณาคาซ้ อนกับคาประสม(ต่ อ) หมายเหตุ คาซ้อนบางคามีความหมายใหม่เพี้ยนไป จากคามูลเดิมเช่นเดียวกับคาประสมก็ได้เช่น ั พีน้อง ไม่ได้หมายถึงเฉพาะ พี่กบน้อง แต่รวมถึงญาติ ่ ทั้งหมด ลูกหลาน ไม่ได้หมายถึงเฉพาะลูกหลานททแต่รวมถึง ลูก หลานหรื อเหลนทั้งหมด ข้ าวปลา ไม่ได้หมายถึงข้าวกับปลา แต่รวมถึงอาหาร ทัวไป ่
  • 34. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๔. คาซ้า หมายถึง คาทีเ่ กิดจากคามูล ๒ คา ที่ เหมือนกันนามาซ้ากัน แล้วเกิดความหมายใหม่ ความหมายใหม่ ที่เกิดขึนอาจเน้ นหนักหรือเบา ้ ลงไปหรือเปลียนเป็ นอย่ างอืน โดยมี ่ ่ เครื่องหมายไม้ ยมก ( ๆ ) แทนคาทีซ้า เช่ น ่ เพือน ๆ ท่ าน ๆ คาซ้าจะถือว่ าเป็ นคาประสม ่ ชนิดหนึ่งก็ได้
  • 35. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ชนิดของคาไทยที่เอามาซ้ากัน ในภาษาไทยเราสามารถเอาคาทุกชนิดมา ซ้าได้ ดังนี้ ๑. ซ้าคานาม เช่ น พี่ ๆ น้ องๆ เด็ก ๆ ๒. ซ้าคาสรรพนาม เช่ น เขา ๆ เรา ๆ คุณ ๆ ๓. ซ้าคากริยา เช่ น นั่ง ๆ นอน ๆ เดิน ๆ ๔. ซ้าคาวิเศษณ์ เช่ น เร็ว ๆ ไว ๆ ช้ า ๆ
  • 36. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ชนิดของคาไทยที่เอามาซ้ากัน(ต่ อ) ๕. ซ้าคาบุพบท เช่ น ใกล้ ๆ ไกล ๆ เหนือ ๆ ๖. ซ้าคาสั นธาน เช่ น ทั้ง ๆ ที่ เหมือน ๆ ราว ๆ กับ ๗. ซ้าคาอุทาน เช่ น โฮ ๆ กริ๊ด ๆ อุ๊ย ๆ
  • 37. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะของคาซ้า ๑. อาจเป็ นคาชนิดใดและทาหน้ าทีใดก็ได้ ่ เช่ น คานาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ ๒. นาคาหนึ่ง ๆ มาซ้ากันสองครั้ง เช่ น เด็ก ๆ เล็ก ๆ เล่น ๆ ๓. นาคาซ้ อนมาแยกซ้ากัน เช่ น ลูบคลา เป็ น ลูบ ๆ คลา ๆ
  • 38. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ลักษณะของคาซ้า(ต่ อ) ๔. นาคาซ้ามาประสมกัน เช่ น งู ๆ ปลา ๆ ไป ๆ มา ๆ ชั่ว ๆ ดี ๆ ลม ๆ แล้ง ๆ
  • 39. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ความหมายของคาซ้า ๑. บอกพหูพจน์ คาเดิมความหมายอาจเป็ น เอกพจน์หรื อพหูพจน์ ความหมายกลายเป็ น พหูพจน์อย่างเดียว เช่น เขาเล่นกับเพือน ่ (ความหมายเป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์) เขาเล่นกับเพือน ๆ ่ (ความหมายเป็ นพหูพจน์)
  • 40. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ความหมายของคาซ้า(ต่ อ) ๒. บอกความเน้ นหนัก คาวิเศษณ์บางคาเมื่อ เป็ นคาซ้ าจะมีความหมายเน้นหนักกว่าเดิม โดยมาก เวลาพูดจะเปลี่ยนเสี ยงคาแรกเป็ นเสี ยงตรี เช่น สวย ๆ เป็ น ซ้วยสวย ดี ๆ เป็ น ดี๊ดี
  • 41. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ความหมายของคาซ้า(ต่ อ) ๓. บอกความไม่ เน้ นหนัก คาวิเศษณ์บางคาเมื่อ เป็ นคาซ้ าความหมายจะคลายความเน้นหนักกว่าเดิม คาซ้ าประเภทนี้ไม่เปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์ของคาแรก เช่น สวย (สวยจริ ง) สวย ๆ (ไม่สวยทีเดียว) ดี (ดีจริ ง) ดี ๆ (ไม่ดีทีเดียว)
  • 42. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ความหมายของคาซ้า(ต่ อ) ๔. บอกคาสั่ ง คาวิเศษณ์ที่เป็ นคาซ้ าเมื่อประกอบ คากริ ยา จะเน้นความและบอกคาสัง เช่น ่ อยูเ่ งียบ (วลี) อยูเ่ งียบ ๆ (ประโยคคาสัง) ่ พูดดัง (วลี) พูดดัง ๆ (ประโยคคาสัง) ่
  • 43. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ความหมายของคาซ้า(ต่ อ) ๕. เปลียนความหมายใหม่ คาซ้ าบางคาเปลี่ยน ่ ความหมายใหม่โดยไม่มีเค้าของความหมายเดิม เช่น กล้วย ๆ (ง่าย) น้อง ๆ (เกือบ,ใกล้,คล้าย) หมู ๆ (ง่าย) ไล่ ๆ (ใกล้เคียง)
  • 44. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) หมายเหตุ คาที่ออกเสี ยงซ้ ากันบางคาไม่ใช่คาซ้ า เพราะไม่ได้เกิดคาใหม่และความหมายก็ไม่ เปลี่ยนไป ในกรณี เช่นนี้จะใช้ไม้ยมกแทนไม่ได้ เช่น เราควรเก็บของไว้ที่ทของมัน ี่ ที่ที่ ไม่ใช่คาซ้ า เราควรเก็บของไว้เป็ นที่ ๆ ที่ ๆ เป็ นคาซ้ า
  • 45. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๕. คาพ้อง หมายถึง คาที่มีลกษณะเหมือนกัน หรื อซ้ า ั กัน เช่น เขียนเหมือนกัน หรื อออกเสี ยง เหมือนกัน หรื อเหมือนกันทั้งรู ปและเสี ยง แต่ มีความหมายต่างกัน ซึ่งจะพิจารณาตาม เนื้อความของคาที่เกี่ยวข้องกับคาพ้อง หรื อ คาที่เขียนต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกัน
  • 46. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๑. คาพ้องเสี ยง คาพ้องเสี ยง คือ คาที่มีเสี ยงเหมือนกัน แต่มีรูป ต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น คากลอน เรื่ อง “คาพ้องเสี ยง” ข้ าได้เช่านาวาให้ค่าเช่า ริ มศาลเจ้าเจ๊กบ้ามันฆ่ าหมู กาไว้มนแล้วไม่ทากาม์ ของกู ั่ จะทนสูบาปกรรมไปทาไม ้
  • 47. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ตัวอย่ างคาพ้องเสี ยง ๑) กฎ หมายถึง ข้อกาหนด เช่น กฎของลูกเสื อสามัญมี ๓ ข้อ กด หมายถึง บังคับลง, ข่ม เช่น เขาเอามือกดหัวฉันไว้ ๒) กรรณ หมายถึง หู เช่น พระกรรณหมายถึงหู กัณฐ์ หมายถึง คอ เช่น ทศกัณฐ์ มี ๑๐ คอ
  • 48. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๒. คาพ้องรูป หมายถึง คาที่เขียนเหมือนกัน อ่านต่างกัน และมีความหมายต่างกัน เช่น คากลอน เรื่ อง “คาพ้องรู ป” กระบวนหนึ่งตัวตัวเขียนไม่เปลี่ยนแปลก แต่อ่านแยกสองความตามวิถี วัดเขมาโกศเขมาเพลาก็มี แต่ที่น้ ีไปถึงป่ าเพลาเย็น
  • 49. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ตัวอย่ างคาพ้องรูป ๑) กรี อ่านว่ า กะ – รี หมายถึง ช้าง เช่น พญากรีมีงายาวมาก กฺรี หมายถึง กระดูกแหลมที่หวกุง ั ้ ้ ่ ั เช่น กุงมีกรีอยูที่หว
  • 50. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ตัวอย่ างคาพ้องรูป(ต่ อ) ๒) แขม อ่านว่ า แขมฺ หมายถึง ไม้ลมลุกชนิดหนึ่งมักขึ้นตามชาย ้ ่ น้ า ชายป่ าพงก็เรี ยก เช่น มีตนแขมขึ้ นอยูตาม ้ ชายน้ า ขะ – แม หมายถึง คนเขมร เช่น คนแขมเป็ นคนเขมร
  • 51. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๓. คาพ้องรูป – พ้องเสี ยง หมายถึง คาที่เขียนเหมือนกัน และออก เสี ยงเหมือนกัน แต่มีความหมายต่างกัน เช่น คากลอนเรื่อง “คาพ้องรูป – พ้องเสี ยง” ขันน้ าใสไก่ขนขันชะเนาะ ั คนหัวเราะเจ้าสานวนก็ชวนขัน กันกันผมให้เขาเรารักกัน ยิมเห็นฟันอย่าฟันให้บรรลัย ้
  • 52. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ตัวอย่ างคาพ้องรูป – พ้องเสี ยง กัน ๑ หมายถึงคาใช้แทนผูพดเพศชาย พูดกับผู ้ ้ ู เสมอหรื อผูนอยในทานองกันเอง ้ ้ เช่น วันนี้กนไม่ไปด้วยนะ ั กัน ๒ หมายถึงคาประกอบท้ายกริ ยาของผูกระทา้ ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปแสดงการกระทา ร่ วมกัน เช่น พวกเรามาปรึ กษาหารื อกัน
  • 53. การสร้ างคาในภาษาไทย(ต่ อ) ๔ . คาพ้องความ หมายถึง คาที่มีความหมายเหมือนกัน อาจ เรี ยกว่า “คาไวพจน์ ” ก็ได้ เช่น ดวงอาทิตย์ = ตะวัน สุ ริยะ สุ ริยา สุ ริยน ั น้ า = ชล วารี อุทก ป่ า = วนา พนา พนาลี ไพร ฝน = พรรษ (พัด) พิรุณ