SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
การเบิกจ่าย
                                     ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
                                 ___________________________________

                                     การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

ลักษณะการเดินทางมี 3 ประเภท
      1. การเดินทางไปราชการชั่วคราว
      2. การเดินทางไปราชการประจํา
      3. การเดินทางกลับภูมิลําเนา
    การเดินทางไปราชการชั่วคราว ได้แก่
               (1) การไปปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่งผู้บงคับบัญชา
                                                                                                   ั
                   หรือตามหน้าที่ที่ปฏิบัติราชการโดยปกติ
               (2) ยกเลิก
               (3) การไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือกตามที่ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
               (4) การไปช่วยราชการ ไปรักษาการในตําแหน่งหรือไปรักษาราชการแทน
               (5) การเดินทางไปราชการเฉพาะระหว่างเวลาที่อยู่ในราชอาณาจักรของผู้ซึ่งรับราชการประจําใน
                   ต่างประเทศ
               (6) การเดินทางข้ามแดนชั่วคราว เพื่อไปปฏิบัติราชการในดินแดนต่างประเทศตามข้อตกลง
                   ระหว่างประเทศ
                       สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไป
ราชการ หรือวันที่ออกจากราชการแล้วแต่กรณี
                       ให้ผ้มีอํานาจอนุมัติการเดินทางอนุมัติระยะเวลาในการเดินทางไปราชการตามความจําเป็นและ
                            ู
เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกําหนด
                       ถ้าผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้าหรือไม่สามารถเดินทางกลับ
ท้องที่ตั้งสํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุส่วนตัวโดยได้รับอนุมัติให้ลากิจหรือลาพักผ่อน
ตามระเบียบว่าด้วยการนั้น และได้รับอนุมติระยะเวลาดังกล่าวจากผู้มีอํานาจอนุมัติการเดินทางตามหลักเกณฑ์ที่
                                              ั
กระทรวงการคลังกําหนดด้วยแล้ว ให้มสทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการตามที่พระราชกฤษฎีกานี้
                                           ีิ
กําหนดไว้ต่อเมื่อได้มีการปฏิบัติราชการตามคําสั่งของทางราชการแล้ว
2



ค่าใช้จายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ได้แก่
       ่
         1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง
         2. ค่าเช่าที่พัก
         3. ค่าพาหนะ รวมถึงค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเชื้อเพลิงหรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ ค่าระวางบรรทุก
            ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่น ๆ ทํานองเดียวกัน
         4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ



การนับเวลา
         - เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือสถานทีปฏิบัติราชการปกติ จนถึงกลับสถานที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติ
                                                     ่
              ราชการปกติ
         - นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง ให้นับเป็น 1 วัน
         - กรณีไม่พักแรม เศษเกิน 12 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เกิน 6 ชั่วโมง นับเป็นครึ่งวัน
         ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับท้องที่ตั้ง
                   ี่
สํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการเพราะมีเหตุส่วนตัว ตามมาตรา 8/1 การนับเวลาเดินทางไปราชการ
เพื่อคํานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง กรณีลากิจหรือลาพักผ่อนก่อนปฏิบัติราชการให้นับเวลาตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการเป็น
ต้นไป และกรณีลากิจหรือลาพักผ่อนหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ ให้ถือว่าสิทธิในการเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
สิ้นสุดลงเมื่อสินสุดเวลาปฏิบัติราชการ
                ้



                              อัตราเบียเลี้ยงดินทางไปราชการในราชอาณาจักร
                                      ้
                                             ในลักษณะเหมาจ่าย

                                                                                       อัตรา
                               ข้าราชการ
                                                                                   (บาท : วัน : คน)
ระดับ 8 ลงมา ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก                          240
ลงมา หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพันตํารวจเอก ลงมา
ตําแหน่ง ระดับ 9 ขึ้ น ไป ข้า ราชการทหารซึ่ง มียศพั นเอก นาวาเอก นาวา                    270
อากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอก
พิเศษ ขึ้นไป
3



                                     อัตราค่าเช่าทีพักในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร
                                                   ่

1. กรณีเลือกเบิกในลักษณะจ่ายจริง ให้เบิกได้เท่าที่จายจริงไม่เกินอัตรา
                                                              ่
                                                                 ห้องพักคนเดียว             ห้องพักคนคู่
                          ข้าราชการ
                                                                (บาท : วัน : คน)          (บาท : วัน : คน)
ตํ า แหน่ ง ระดั บ 8 ลงมา ยศพั น เอก นาวาเอก นาวา                    1,500                      850
อากาศเอก ลงมา ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่
เกินอัตราค่าเช่าที่พักคนเดียว
     ในกรณี เ ดิ น ทางไปราชการเป็ น หมู่ ค ณะ ให้ พั ก
รวมกันสองคนขึ้นไปต่อหนึ่งห้อง โดยให้เบิกค่าเช่าที่พัก
ได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราค่าเช่าห้องพักคู่ เว้นแต่เป็น
กรณี ที่ ไ ม่ เ หมาะสมจะพั ก รวมกั น หรื อ มี เ หตุ จํ า เป็ น
ที่ไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน
อัตราค่าเช่าที่พักคนเดียว
ตําแหน่งระดับ 9 หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ยศพันเอก                    2,200                     1,200
นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ จะเบิกในอัตรา
ค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้

ระดับ 10 ขึ้นไป ข้า ราชการซึ่ง มีย ศพลตรี พลเรื อ ตรี                          2,500           1,400
พลอากาศตรี ขึ้ น ไป หรื อ ข้ า ราชการตํ า รวจซึ่ ง มี ย ศ
พลตํ า รวจตรี ขึ้ น ไป จะเบิ ก ในอั ต ราค่ า เช่ า ห้ อ งพั ก
คนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้
     ในกรณีเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ และผู้ดํารง
ตําแหน่งดังกล่าวข้างต้นเป็นหัวหน้าคณะ และมีความ
จํ า เป็ น ต้ อ งใช้ ส ถานที่ เ ดี ย วกั น กั บ ที่ พั ก เพื่ อ เป็ น
ที่ ป ระสานงานของคณะหรื อ บุ ค คลอื่ น ให้ เ บิ ก ค่ า เช่ า
ที่ พั ก ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น สํ า หรั บ ห้ อ งพั ก อี ก ห้ อ งหนึ่ ง ในอั ต รา
ค่าเช่าห้องพักคนเดี ยวหรื อจะเบิกค่าเช่ าห้องชุด แทน
ในอัตราไม่เกินสองเท่าของอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียว
ก็ได้
4




2. กรณีเลือกเบิกในลักษณะเหมาจ่าย ให้เบิกได้ไม่เกินอัตรา ดังนี้

                                                                                             อัตรา
                                  ข้าราชการ
                                                                                         (บาท : วัน : คน)
ระดับ 8 ลงมา ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอกลงมา                            800

ระดับ 9 ขึ้นไป ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก                               1,200
อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ขึ้นไป หรือ
ข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือน พันตํารวจเอกพิเศษ
ขึ้นไป



           การเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางสําหรับการเดินทางไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดในสถานที่ปฏิบัติราชการแห่ง
เดียวกัน ให้เบิกได้เพียงระยะเวลาไม่เกิน 120 วัน นับแต่วนที่ออกเดินทางถ้าเกินต้องได้อนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้า
                                                             ั
สังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผู้บังคับบัญชาที่มีอานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวงเป็น
                                                                              ํ
ผู้อนุมัติ ทั้งนี้ ให้พิจารณาถึงความจําเป็นและประหยัดด้วย
                     ผู้เดินทางไปราชการซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุมัติเบี้ยเลี้ยงเดินทางประจํา จะเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางตาม
พระราชกฤษฎีกานี้ได้เมื่องดเบิกเบี้ยเลี้ยงประจํา
กรณีห้ามเบิก
        1. การพักแรมซึ่งโดยปกติตองพักแรมในยานพาหนะ
                                  ้
        2. กรณีที่ทางราชการจัดที่พักให้แล้ว
                - กรณีเดินทางไปราชการในท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูงหรือเป็นแหล่งท่องเทียวให้ หน.ส่วนราชการ
                                                                                       ่
          เจ้าของงบประมาณ อนุมัติให้เบิกจ่ายค่าที่พักสูงกว่าอัตราที่กําหนดเพิ่มขึ้นอีกไม่เกินร้อยละ 25


ค่าเช่าทีพัก เบิกได้ในกรณีจําต้องพักแรม ให้เบิกจ่ายได้ดังนี้
         ่
                                                    ค่าเช่าทีพัก
                                                             ่

                   การเดินทางไปราชการ ณ สถานที่ปฏิบัติราชการใดที่ไม่สะดวกในการเดินทางไปกลับระหว่าง
สถานที่ปฏิบติราชการนั้นกับสถานที่อยู่ ให้เบิกค่าเช่าที่พักระหว่างที่ไปราชการได้เพียงระยะเวลาไม่เกินหนึ่งร้อย
             ั
ยี่สิบวัน นับแต่วนที่ออกเดินทางถ้าเกินต้องได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มี
                 ั
ปลัดกระทรวงให้ผ้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกันกับปลัดกระทรวงเป็นผู้อนุมัติ ทั้งนี้ ให้พิจารณาถึงความ
                    ู
จําเป็นและประหยัดด้วย
5



                                ค่าเช่าที่พักกรณีเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ


การเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ หมายถึง การเดินทางไปปฏิบัติราชการด้วยกันตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป โดยไปใน
เนื้องานเดียวกัน ณ สถานทีปฏิบัติราชการเดียวกัน
                         ่



หลักเกณฑ์การเบิกค่าเช่าที่พัก
       1. ข้าราชการระดับ 8 ลงมา (พ.อ , น.อ. ลงมา) ให้พักรวมกัน 2 คนต่อ 1 ห้อง เบิกค่าเช่าที่พักใน
           อัตราเหมาจ่าย หรือเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ กค. กําหนด
       2. ข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป (พ.อพิเศษ. , น.อ.พิเศษ ขึ้นไป) เบิกค่าเช่าทีพักเหมาจ่าย หรือเท่าที่จ่ายจริง
                                                                              ่
           ไม่เกินอัตราที่ กค. กําหนด ในอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้
หลักฐานการเบิกค่าเช่าที่พัก
       1. กรณีจ่ายจริง
                - ใบเสร็จรับเงิน
                 - ใบแจ้งรายการของโรงแรม (FOLIO)
       2. กรณีเหมาจ่าย
                - ไม่ต้องมีใบเสร็จรับเงิน

                                                  ค่าพาหนะ
         การเดินทางไปราชการโดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจําทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด
         ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจําทางหรือมีแต่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะ
อื่นได้ แต่ผ้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจําเป็นไว้ในรายงานการเดินทางหรือหลักฐานการขอเบิกเงินค่า
             ู
พาหนะนั้น
         ค่าพาหนะ หมายถึง ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม
สิ่งของของผู้เดินทาง (ให้ปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี)
ความหมายของยานพาหนะประจําทาง
      - บริการทั่วไปประจํา
      - เส้นทางแน่นอน
      - ค่าโดยสาร + ค่าระวางแน่นอน
6



หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI)
        1. กรณีไม่มียานพาหนะประจําทาง
        2. มียานพาหนะประจําทาง แต่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน ต้องชี้แจงเหตุผลประกอบ
        3. ระดับ 6 ขึ้นไป (พ.ท. , น.ท. ขึ้นไป) ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้าง กรณีดังต่อไปนี้
               - ไปกลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก ที่ปฏิบัติราชการ กับ สถานียานพาหนะหรือสถานที่จัดยานพาหนะ
                  เขตจังหวัดเดียวกัน
               - ไปกลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก กับ สถานที่ปฏิบัติราชการชั่วคราว วันละไม่เกิน 2 เที่ยว
                  ในจังหวัดเดียวกัน
               - เดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพ ฯ
        4. ระดับ 5 ลงมา (พ.ต. , น.ต.) ลงมา จะเบิกค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) ได้ จะต้องมีสัมภาระในการ
           เดินทาง หรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการไปด้วย
        5. การเดินทางไปสอบคัดเลือกหรือรับการคัดเลือก จะเบิกค่าพาหนะรับจ้างไม่ได้


การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด (น. กค. 0409.6/ว 42 ลง 26 ก.ค. 50) ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จายจริงดังนี้
                                                                                                 ่
        1. กรณีเดินทางข้ามเขตจังหวัด ระหว่าง กรุงเทพ ฯ กับ จังหวัดที่มีเขตติดต่อกับกรุงเทพ ฯ หรือการ
            เดินทางข้ามเขตจังหวัดที่ผ่านเขตกรุงเทพ ฯ ให้เบิกเท่าที่จายจริง เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท
                                                                     ่
        2. การเดินทางข้ามเขตจังหวัดอืน ๆ ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง เทียวละไม่เกิน 500 บาท
                                        ่                          ่
        3. เงินชดเชยในการใช้ยานพาหนะส่วนตัวในการเดินทาง
                3.1 รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท
                3.2 รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 2 บาท
                 การใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปราชการ ผู้เดินทางจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาดังต่อไปนี้ จึง
จะมีสทธิเบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะในลักษณะเหมาจ่ายให้เป็นค่าใช้จ่ายสําหรับเป็นค่าพาหนะส่วนตัวได้ คือ
     ิ
                 (1) อธิบดีขึ้นไปหรือตําแหน่งที่เทียบเท่า สําหรับราชการบริหารส่วนกลาง
                 (2) หัวหน้าสํานักงาน สําหรับราชการบริหารส่วนกลางที่มีสํานักงานอยู่ในส่วนภูมิภาค หรือมี
                     สํานักงานแยกต่างหากจากกระทรวง ทบวง กรม
                 (3) หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดซึ่งเป็นผู้เบิกเงิน หรือนายอําเภอท้องที่แล้วแต่กรณี สําหรับ
                     ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
7


        4. การเบิกค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการต้องเป็นไปตามเงื่อนไข ดังนี้
               4.1 เป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่ายไม่อาจเดินทางถึงจุดหมาย
               4.2 ต้องไม่เป็นค่าใช้จ่ายที่มีกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการของ
                    กระทรวงการคลังกําหนดไว้เป็นการเฉพาะ
               4.3 ต้องไม่ใช่ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ไปปฏิบัติราชการซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน
                    ของส่วนราชการ



                                                   ค่าเครื่องบิน
หลักเกณฑ์
         1. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป (พ.ท. , น.ท.) ขึ้นไป
         2. ผูดํารงตําแหน่งระดับ 5 ลงมา (พ.ต. , น.ต.) ลงมา ให้เดินทางได้เฉพาะกรณีที่จําเป็นเร่งด่วน เพื่อ
              ้
ประโยชน์แก่ทางราชการ
         3. การเดินทางซึ่งไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามข้อ 1, 2 ให้เบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าพาหนะในการเดินทาง
ภาคพื้นดินในระยะเดียวกัน ตามสิทธิของผู้เดินทางที่จะเบิกได้
ระดับชั้นโดยสารเครื่องบิน
         - ระดับ 6 - 8 (พ.ท. , น.ท. - พ.อ. , น.อ.) ชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุด
         - ระดับ 9 (พ.อ. พิเศษ , น.อ. พิเศษ) ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ

        ในการเดินทางไปราชการเพื่อรับเสด็จ ตามเสด็จหรือส่งเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หากที่นั่งโดยสารในชั้น
ประหยัดหรือชั้นต่ําสุดเต็ม และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเทียวบินได้ให้ผู้ดํารงตําแหน่งที่เดินทางดังกล่าวสามารถ
                                                          ่
เดินทางและเบิกค่าโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้โดยต้องได้รับอนุมัตจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับ
                                                                            ิ
ส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผู้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวงเป็นผู้อนุมัติ
                ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิจะเบิกค่า
                           ี่
โดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง

มาตรการประหยัด ปีงบประมาณ 2554
      - พ.อ. (พิเศษ), น.อ.(พิเศษ) ลงมา ชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุด
      - พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต. ถึง พล.อ., พล.ร.อ., พล.อ.อ. ชั้นธุรกิจ

หลักฐานการเบิกจ่ายค่าเครื่องบิน
       - กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน
       - กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ดังนี้
                   ใบเสร็จรับเงิน และ
                   กากบัตรโดยสาร / ใบรับเงินแสดงรายงานการเดินทาง
       - กรณีซื้อ E-Ticket (ตั๋วทางระบบอิเล็กทรอนิคส์) ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง มาเป็น
           หลักฐานในการเบิกจ่ายได้
8


                                                  กรณีทําหน้าที่เลขานุการ

         ผู้เดินทางไปราชการในหน้าที่เลขานุการกับผู้บงคับบัญชา ที่เป็นหัวหน้าคณะซึงดํารงตําแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป
                                                       ั                          ่
(พ.อ. , น.อ. พิเศษ ) ขึ้นไป หากมีความจําเป็นต้องเดินทางพร้อมกับผู้บังคับบัญชา ให้เบิกค่าใช้จ่ายดังนี้
                   - ค่าพาหนะ ให้เบิกได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา
                   - ค่าเช่าที่พัก ให้พักแรมในที่เดียวกันกับผู้บังคับบัญชา แต่เบิกค่าเช่าที่พักได้ตามสิทธิที่ ตนเอง
                     ได้รับ หรือเบิกได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราต่ําสุดของที่พักนั้น


    การเดินทางไปราชการประจํา
     การเดินทางไปราชการประจํา ได้แก่
        1. ไปประจําต่างสํานักงาน / ไปรักษาการในตําแหน่งหรือรักษาราชการแทน เพื่อดํารงตําแหน่งใหม่ ณ
             สํานักงานแห่งใหม่
        2. ไปประจําสํานักงานเดิมในท้องที่แห่งใหม่ (กรณีย้ายสํานักงาน)
        3. ไปปฏิบัติงานตามโครงการ หรือไปช่วยราชการมีกําหนดเวลาตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป
        4. การเดินทางไปช่วยราชการที่ไม่อาจกําหนดระยะเวลาสิ้นสุด หรือมีกําหนดเวลาไม่ถึง 1 ปี ซึ่งส่วน
             ราชการมีความจําเป็นต้องให้ผ้นั้นช่วยราชการต่อ ณ สถานที่แห่งเดิม ให้นับเวลาช่วยราชการต่อเนื่อง
                                              ู
             และให้ถือเวลาการช่วยราชการตั้งแต่วันที่ครบกําหนด 1 ปี เป็นต้นไป เป็นการเดินทางไปราชการ
             ประจํา
     สิทธิในการเบิก
        1. ตนเอง
        2. บุคคลในครอบครัว
             - คู่สมรส
             - บุตร
             - บิดา มารดา (ของตนเอง + คู่สมรส)
             - ผู้ติดตาม
                  ระดับ 6 ลงมา (พ.ท. , น.ท.) ลงมา ไม่เกิน 1 คน
                  ระดับ 7 ขึ้นไป (พ.อ. , น.อ.) ขึ้นไป ไม่เกิน 2 คน
    ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประจํา ประกอบด้วย
                  1. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
                  2. ค่าเช่าที่พัก
                  3. ค่าพาหนะ
                  4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ
                  5. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
9



        ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจําแห่งใหม่
                      1. ต้องเป็นกรณีไม่อาจเข้าบ้านพักทางราชการ หรือบ้านเช่าได้
                      2. เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน นับแต่วันถึงท้องที่ตั้งสํานักงานนั้น
                          (ถ้ามีความจําเป็นจะต้องเบิกค่าเช่าที่พักเกิน 7 วัน ต้องได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด
เดิม)
                    3. ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา ระดับอธิบดีขึ้นไปหรือหน.สํานักงาน กรณีมีสํานักงาน
                        แยกต่างหากจากกระทรวง, ทบวง,กรม
                    4. ต้องไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านขณะนั้น
                    5. กรณีโอนย้ายต่างสังกัด
                             - สังกัดเดิมเป็นฯผู้อนุมัติ
                             - สังกัดใหม่รับรองเหตุผลความจําเป็นในการขอเบิก และเป็นผู้เบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ไปราชการ

        ค่าพาหนะในการเดินทางไปราชการประจํา
                - ผู้มสทธิ
                       ีิ
                   1. ตนเอง
                   2. บุคคลในครอบครัวเดินทางพร้อมผู้มีสิทธิ
                             - เบิกอัตราเดียวกับผู้มีสิทธิ
                             - ผู้ติดตามเบิกเท่าระดับต่ําสุด
                   ในกรณีจําเป็นซึ่งไม่อาจนําบุคคลในครอบครัวไปพร้อมกับผู้เดินทางได้ ให้ผู้เดินทางรายงานชี้แจง
เหตุผลความจําเป็นและกําหนดเวลาที่จะเลื่อนการเดินทางต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงผู้ดํารงตําแหน่งอธิบดี
หรือปลัดกระทรวง หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า แล้วแต่กรณี สําหรับราชการบริหารส่วนกลาง หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
สําหรับการบริหารส่วนภูมิภาค แต่ถ้าผู้เดินทางดํารงตําแหน่งอธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด ให้เสนอผู้บังคับบัญชา
เหนือตนขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง
                   การขอเลื่อนการเดินทางตามวรรคหนึ่ง ให้ขอก่อนที่ข้าราชการ หรือลูกจ้างผู้นั้นจะเดินทาง
ผู้บังคับบัญชาตามวรรคหนึ่งมีอํานาจอนุญาตให้เลื่อนการเดินทางได้ภายในเวลาอันสมควร แต่ต้องไม่เกินหนึ่งปี
นับแต่วันที่ปรากฏในคําสั่งให้เดินทางไปราชการ
               ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ
           - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง
              ตาม ความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
10



 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
                          ผู้เดินทางไปราชการประจําให้เบิกค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวในลักษณะเหมาจ่ายได้ภายใน
วงเงินและเงื่อนไขที่ กค.กําหนดดังนี้
              อัตราค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวในการเดินทางไปราชการประจําในราชกอาณาจักร
ระยะทาง (กม.)                                         อัตรา (บาท)
๑-๕๐                                                  ๒,๐๐๐
๕๑-๑๐๐                                                ๒,๕๐๐
๑๐๑-๑๕๐                                               ๓,๐๐๐
๑๕๑-๒๐๐                                               ๔,๐๐๐
๒๐๑-๒๕๐                                               ๔,๕๐๐
๒๕๑-๓๐๐                                               ๕,๐๐๐
๓๐๑-๓๕๐                                               ๖,๐๐๐
๓๕๑-๔๐๐                                               ๖,๕๐๐
๔๐๑-๔๕๐                                               ๗,๐๐๐
๔๕๑-๕๐๐                                               ๘,๐๐๐
๕๐๑-๕๕๐                                               ๘,๕๐๐
๕๕๑-๖๐๐                                               ๙,๐๐๐
๖๐๑-๖๕๐                                               ๙,๕๐๐
๖๕๑-๗๐๐                                               ๑๐,๐๐๐
๗๐๑-๗๕๐                                               ๑๑,๐๐๐
๗๕๑-๘๐๐                                               ๑๑,๕๐๐
๘๐๑-๘๕๐                                               ๑๒,๐๐๐
๘๕๑-๙๐๐                                               ๑๓,๐๐๐
๙๐๑-๙๕๐                                               ๑๓,๕๐๐
๙๕๑-๑๐๐๐                                              ๑๔,๐๐๐
๑๐๐๑-๑๐๕๐                                             ๑๕,๐๐๐
๑๐๕๑-๑๑๐๐                                             ๑๕,๕๐๐
๑๑๐๑-๑๑๕๐                                             ๑๖,๐๐๐
๑๑๕๑-๑๒๐๐                                             ๑๗,๐๐๐
๑๒๐๑-๑๒๕๐                                             ๑๗,๕๐๐
๑๒๕๑-๑๓๐๐                                             ๑๘,๕๐๐
๑๓๐๑-๑๓๕๐                                             ๑๙,๐๐๐
๑๓๕๑-๑๔๐๐                                             ๑๙,๕๐๐
๑๔๐๑-๑๔๕๐                                             ๒๐,๐๐๐
๑๔๕๑-๑๕๐๐                                             ๒๐,๕๐๐
         สําหรับระยะทางที่เกิน ๑๕๐๐ กิโลเมตรขึ้นไปให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่านราชการตันสังกัด
ที่จะพิจารณาอนุ จ่ายกรณี ายในลักษณะเหมาจ่ายได้ตามความจํ
     การเบิกค่าใช้มัติให้เลิกเจ่ดินทางไปราชการประจําสํานักงาน าเป็นเหมาะสม
11


        การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีไปประจําสํานักงานซึ่งต่างสังกัด ให้เบิกจาก
สังกัดใหม่ที่ไปประจํา
                                         การเดินทางกลับภูมิลําเนา

           ภูมิลาเนาเดิม หมายถึง
                 ํ
                       1. ท้องที่ที่เริ่มรับราชการ, กลับเข้ารับราชการใหม่ หรือ
                       2. กรณีพิเศษ
                                 ผู้มีสิทธิเบิกค่าใช้จายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาจะขอเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยัง
                                                      ่
ท้องที่อื่น ซึ่งมิใช่ภูมิลําเนาเดิม โดยเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไม่สูงกว่า ให้กระทําได้เมื่อได้รับอนุญาตจาก
ผู้บังคับบัญชาระดับอธิบดีขึ้นไป
                       3. การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม หมายถึง
                                 การเดินทางเพื่อกลับภูมิลําเนาเดิมของผู้เดินทางไปราชการประจํา ในกรณีท่ออกจากี
ราชการหรือถูกสั่งพักราชการ
                   ค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลําเนา ประกอบด้วย
                       1. ค่าเช่าที่พัก
                       2. ค่าพาหนะ
                       3. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
                   สิทธิในการเบิก
                       1. กรณีออกจากราชการ, เลิกจ้าง
                       2. กรณีตาย
                            - ให้ทายาทที่อยู่ด้วยเป็นผู้เบิก
                            - ถ้าไม่มทายาทก็ให้ทายาททีมิได้อยู่ด้วยเป็นผู้เบิก การเบิกให้เบิกเฉพาะเดินทางกลับเท่านัน
                                       ี                  ่                                                        ้
                       3. กรณีใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น
                            - ค่าใช้จ่ายต้องไม่สูงกว่ากลับภูมิลําเนาเดิม
                            - ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาระดับอธิบดีขึ้นไป
                       4. การเดินทางและการขนย้าย ต้องกระทําภายใน 180 วัน นับแต่ออกจากราชการ, เลิกจ้าง,
ตาย (ถ้าเกินตกลง กค.)



                                  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ

ลักษณะการเดินทางมี 3 ประเภท
              1. เดินทางไปราชการชั่วคราว
              2. เดินทางไปราชการประจํา
              3. การเดินทางกลับภูมิลําเนา
12


     การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวได้แก่
                 1. ข้าราชการประจําในไทย เดินทางไปต่างประเทศ เพื่อประชุม, เจรจาธุรกิจ, ดูงาน, ตรวจสอบ
                      บัญชี, ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามความจําเป็น
                 2. ข้าราชการประจําในต่างประเทศ ไป ณ ที่ใด ๆในต่างประเทศหรือมาประเทศไทย เฉพาะ
                      เวลาที่เดินทางอยู่นอกประเทศไทย
                 3. ข้าราชการประจําต่างประเทศ ไปช่วยราชการ, รักษาการในตําแหน่ง, รักษาราชการแทน, ต่างสํานักงาน
                     ในต่างประเทศเฉพาะเวลาที่ออกเดินทางจากที่พักเดิมถึงที่พักสํานักงานแห่งใหม่
                 การอนุมัติระยะเวลาในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ให้อนุมัติระยะเวลาออก
เดินทางล่วงหน้าก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ และอนุมัติระยะเวลาเดินทางกลับหลังเสร็จสินการปฏิบัติราชการภายใน
                                                                                ้
กําหนดเวลาตามบัญชีหมายเลข ๑
                                                        บัญชีหมายเลข ๑
                                 ระยะเวลาอนุมัติการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
    ประเทศที่เดินทางไปราชการ                    ก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ       หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ
(ก) ประเทศในทวีปเอเชีย                             ไม่เกิน ๒๔ ชั่วโมง               ไม่เกิน ๒๔ ชั่วโมง
(ข) ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ประเทศ                   ไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง               ไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง
ในทวีปยุโรป หรือประเทศในทวีป
อเมริกาเหนือ
(ค) ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ หรือ                    ไม่เกิน ๗๒ ชั่วโมง               ไม่เกิน ๗๒ ชั่วโมง
ประเทศในทวีปแอฟริกา

            ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ได้แก่
                 1. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง/ค่าอาหาร
                 2. ค่าเช่าที่พัก
                 3. ค่าพาหนะ รวมทั้งค่าเช่ายานพาหนะ, ค่าเชื้อเพลิง, ค่าระวางบรรทุก, ค่าจ้างคนหาบหาม และ
                      อื่น ๆ ทํานองเดียวกัน
                 4. ค่ารับรอง
                 5. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นเนื่องในการเดินทางไปราชการ
                 6. ค่าเครื่องแต่งตัว


                           เบี้ยลี้ยงเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (เหมาจ่าย)


                           ข้าราชการ                                                   บาท / วัน
1. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. หรือ ข้าราชการระดับ 8 ลงมา                              2,100
2. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. พิเศษ หรือ ข้าราชการระดับ 9 ขึนไป
                                                              ้                         3,100
13



 การนับเวลาคํานวณเบี้ยเลี้ยงไปราชการต่างประเทศ
                 1. กรณีเป็นข้าราชการประจําในต่างประเทศ
                     - ให้นับตั้งแต่ ออกจากที่อยู่ในต่างประเทศหรือที่ทํางานปกติ จนกลับถึงที่อยู่ในต่างประเทศ
                     หรือที่ทํางานปกติ
                 2. กรณีเป็นข้าราชการประจําในประเทศไทย
                     - ให้นบตั้งแต่ประทับตราหนังสือเดินทางออกจากประเทศไทยถึงประทับตราหนังสือเดิน
                             ั
                         ทางเข้าประเทศ
                 3. การนับเวลากรณีพักแรม, ไม่พักแรม
                     - กรณีที่มีการพักแรม
                          ให้นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน
                     - กรณีที่ไม่มีการพักแรม
                          ให้นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม.นับเป็น 1 วัน แต่ถ้าเศษนับได้ไม่เกิน
12 ชม. แต่เกิน 6 ชม. ให้นับเป็น 1/2 วัน

                  4. กรณีลากิจ, ลาพักผ่อน
                      - ลาก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ
                      - ลาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ ให้ถือว่าสิทธิในการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางสิ้นสุดลง
                        เมื่อสิ้นสุดเวลาการปฏิบัติราชการ

                  5. กรณีไม่เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่ายให้มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายได้ดังนี้
                        - ค่าอาหาร-เครื่องดื่ม                               เท่าทีจ่ายจริงไม่เกิน 4 ,500 บาท /วัน
                                                                                   ่
                        - ค่าภาษี, บริการที่โรงแรม, ร้านค้าเรียกเก็บ
                        - ค่าทําความสะอาดเสื้อผ้า (เกิน 7 วัน) เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 500 บาท/วัน
                        - การเบิกจ่ายให้คํานวณเบิกจ่ายแต่ละวัน เศษที่เหลือจะนํามาสมทบเบิกจ่ายวันต่อไปไม่ได้
                        - ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ดเหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน/คน
              ค่าเช่าที่พักในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
               - หลักเกณฑ์
                  1. การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวที่จําเป็นต้องพักแรม
                  2. ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิที่ตนเองได้รับ

                  3. ระดับ 8 ลงมา (พ.อ.,น.อ.) ลงมาให้พักรวมกัน 2 คนต่อ 1 ห้อง โดยให้เบิกค่าที่พักได้ เท่าที่จ่าย
จริงในอัตราค่าเช่าห้องพักคู่
                  4. ระดับ 9 ขึนไป (พ.อ., น.อ.) พิเศษขึ้นไป ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราค่าเช่าห้องพัก
                               ้
คนเดียว
14


     อัตราการเบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( ฉบับที่ 2 )พ.ศ.
     2554 อัตราค่าเช่าที่พักในต่างประเทศ (บัญชีหมายเลข 7 )

                                                                     อัตราสําหรับประเทศ รัฐ เมือง   (บาท : วัน : คน)
                        ข้าราชการ                          ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค.              ประเภท ง. ประเภท จ.
ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโสลง                    ไม่เกิน        ไม่เกิน     ไม่เกิน       เพิ่มขึ้นจาก เพิ่มขึ้นจาก
มา ตําแหน่งประเภทวิชาการ                            ระดับ    7,500           5,000      3,100         ประเภท ก. ประเภท ก.
ชํานาญการพิเศษ ลงมา ตําแหน่งประเภท                                                                     อีกไม่เกิน อีกไม่เกิน
อํานวยการระดับต้น หรือตําแหน่งระดับ 8                                                                 ร้อยละ 40 ร้อยละ 25
ลงมา หรื อ ตํ า แหน่ ง ที่ เ ที ย บเท่ า หรื อ
ข้ า ราชการตุ ล าการซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 2
ล ง ม า ห รื อ ผู้ ช่ ว ย ผู้ พิ พ า ก ษ า ห รื อ
ดะโต๊ ะ ยุ ติ ธ รรม หรื อ ข้ า ราชการอั ย การ
ซึ่งรับเงินเดือนชั้น 3 ลงมา หรือข้าราชการ
ทหารซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศ
เอก ลงมา หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพัน
ตํารวจเอก ลงมา
ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่ วไประดับทั ก ษะ                    ไม่เกิน        ไม่เกิน     ไม่เกิน      เพิ่มขึ้นจาก เพิ่มขึ้นจาก
พิ เ ศษ ตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการระดั บ 10,000                             7,000      4,500        ประเภท ก. ประเภท ก.
เชี่ ย วชาญ ขึ้ นไป ตํ า แ หน่ ง ประเภท                                                               อีกไม่เกิน อีกไม่เกิน
อํ า นวยการระดั บ สู ง ตํ า แหน่ ง ประเภท                                                            ร้อยละ 40 ร้อยละ 25
บริ ห าร หรือ ตํ า แหน่ ง ระดั บ 9 ขึ้ น ไป หรื อ
ตําแหน่งที่เทียบเท่า หรือข้าราชการตุลาการ
ซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 3 ขึ้ น ต่ํ า ขึ้ น ไป หรื อ
ข้ า ราชการอั ย การซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 4
ขึ้นไป หรือข้าราชการทหารซึ่งมียศพันเอก
นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือน
พันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศ
เอกพิเศษ ขึ้นไป หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมี
ยศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือน พันตํารวจ
เอกพิเศษ ขึ้นไป
15



ประเภท ก. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้
๑. แคนาดา
๒. เครือรัฐออสเตรเลีย
๓. ไต้หวัน
๔. เติร์กเมนิสถาน
๕. นิวซีแลนด์
๖. บอสเนียแอนด์เฮอร์เซโกวีนา
๗. ปาปัวนิวกินี
๘. มาเลเซีย
๙. ราชรัฐโมนาโก
๑๐. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก
๑๑. ราชรัฐอันดอร์รา
๑๒. ราชอาณาจักรกัมพูชา
๑๓. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก
๑๔. ราชอาณาจักรนอร์เวย์
๑๕. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
๑๖.ราชอาณาจักรโมร็อกโก
๑๗. ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์
๑๘.ราชอาณาจักรสวีเดน
๑๙. รัฐสุลต่านโอมาน
๒๐. โรมาเนีย
๒๑. สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
๒๒. สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
๒๓. สหรัฐอาหรับอิมเรตส์
                   ิ
๒๔. สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
๒๕. สาธารณรัฐโครเอเชีย
๒๖. สาธารณรัฐชิลี
๒๗.สาธารณรัฐเช็ก
๒๘.สาธารณรัฐตุรกี
๒๙. สาธารณรัฐบัลแกเรีย
๓๐. สาธารณรัฐประชาชนจีน
๓๑.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย
๓๒.สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์- เลสเต
๓๓.สาธารณรัฐเปรู
๓๔.สาธารณรัฐโปแลนด์
๓๕.สาธารณรัฐฟินแลนด์
๓๖. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
๓๗. สาธารณรัฐมอริเชียส
๓๘. สาธารณรัฐมอลตา
16
๓๙. สาธารณรัฐโมซัมบิก
๔๐. สาธารณรัฐเยเมน
๔๑. สาธารณรัฐลิทัวเนีย
๔๒.สาธารณรัฐสโลวัก
๔๓. สาธารณรัฐสโลวีเนีย
๔๔. สาธารณรัฐออสเตรเลีย
๔๕ .สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน
๔๖. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
๔๗. สาธารณรัฐอินเดีย
๔๘. สาธารณรัฐเอสโตเนีย
๔๙. สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
๕๐. สาธารณรัฐไอซ์แลนด์
๕๑. สาธารณรัฐฮังการี
๕๒. สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีซ)
๕๓. ฮ่องกง

ประเภท ข. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้

๑. เครือรัฐบาฮามาส
๒. จอร์เจีย
๓. จาเมกา
๔. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
๕. มาซิโดเนีย
๖. ยูเครน
๗. รัฐกาตาร์
๘. รัฐคูเวต
๙. รัฐบาห์เรน
๑๐. รัฐอิสลาเอล
๑๑. ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย
๑๒. ราชอาณาจักรตองกา
๑๓. ราชอาณาจักรฮัซไมต์จอร์แดน
๑๔. สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย
๑๕. สหภาพพม่า
๑๖. สหรัฐเม็กซิโก
๑๗. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย
๑๘. สาธารณรัฐกานา
๑๙. สาธารณรัฐแกมเบีย
๒๐.สาธารณรัฐโกตดิวัวร์(ไอเวอรี่โคส)
๒๑.สาธารณรัฐคอสตาริกา
๒๒. สาธารณรัฐคีร์กซ
                  ิ
๒๓. สาธารณรัฐเคนยา
17
๒๔. สาธารณรัฐแคเมอรูน
๒๕.สาธารณรัฐคาซัคสถาน
๒๖. สาธารณรัฐจิบตี
                 ู
๒๗.สาธารณรัฐชาด
๒๘. สาธารณรัฐซิมบับเว
๒๙. สาธารณรัฐเซเนกัล
๓๐.สาธารณรัฐแซมเบีย
๓๑.สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน
๓๒. สาธารณรัฐไซปรัส
๓๓. สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก
๓๔. สาธารณรัฐตูนิเซีย
๓๕.สาธารณรัฐทาจิกสถาน
                   ิ
๓๖. สาธารณรัฐเนปาล
๓๗. สาธารณรัฐไนเจอร์
๓๘. สาธารณรัฐบุรุนดี
๓๙. สาธารณรัฐเบนิน
๔๐.สาธารณรัฐเบลารุส
๔๑. สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ
๔๒ สาธารณรัฐปานามา
๔๓. สาธารณรัฐมอลโดวา
๔๔. สาธารณรัฐมาลี
๔๕. สาธารณรัฐยูกันดา
๔๖. สาธารณรัฐลัตเวีย
๔๗. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลงกา
                                     ั
๔๘. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
๔๙. สาธารณรัฐอาร์เจนตินา
๕๐. สาธารณรัฐอาร์เมเนีย
๕๑. สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย
๕๒. สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์
๕๓. สาธารณรัฐอิรัก
๕๔. สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน
๕๕. สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย
๕๖. สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
๕๗. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน
๕๘. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง


ประเภท ค.ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมืองอื่นๆ นอกจากที่กําหนดในประเภท ก. ประภท ข. ประเภท ง. และประเภท จ.
ประเภท ง.ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้
๑. ญี่ปุ่น
๒. สาธารณรัฐฝรังเศส
                 ่
18
๓. สหพันธรัฐรัสเซีย
๔. สมาพันธรัฐสวิส
๕. สาธารณรัฐอิตาลี

ประเภท จ ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้
๑. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม
๒. ราชอาณาจักรสเปน
๓. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
๔. สหรัฐอเมริกา
๕. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ
๖. สาธารณรัฐโปรตุเกส
๗. สาธารณรัฐสิงคโปร์
19




            อัตราการจ่าย ตามคําสั่งกองทัพไทย ที่ 64/2554 เรื่อง มาตรการประหยัดงบประมาณ

อัตราค่าเช่าที่พักในต่างประเทศ
                     ข้าราชการ                   ห้องพัก      ประเภท      ประเภท       ประเภท
                                                                 ก.          ข.           ค.
1. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. หรือ                     เดี่ยว5,250       3,500        2,170
    ข้าราชการระดับ 8 ลงมา                                  คู่  3,675      2,450        1,519
2. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. น.อ. พิเศษ หรือ
    ข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป                              เดี่ยว      7,000     4,900      3,150
ประเทศที่มีสทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้น จากประเภท ก. ตามมาตรการประหยัดงบประมาณ อีกไม่เกินร้อยละ สี่สิบ
                ิ
ได้แก่ ญี่ปุ่น ,สาธารณรัฐฝรั่งเศส , สหพันธรัฐรัสเซีย , สมาพันธรัฐสวิส และ สาธารณรัฐอิตาลี

ประเทศที่มีสทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้น จากประเภท ก. ตามมาตรการประหยัดงบประมาณ อีกไม่เกินร้อยละ ยี่สิบ
             ิ
ห้า ได้แก่ ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม , ราชอาณาจักรสเปน , สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี , สหรัฐอเมริกา ,
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ , สาธารณรัฐโปรตุเกส และสาธารณรัฐสิงคโปร์


ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจําต่างประเทศ
         ข้าราชการที่เดินทางไปราชการประจําในต่างประเทศ สามารถเบิกค่าใช้จ่ายได้ดังนี้
                      - ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
                      - ค่าเช่าที่พัก
                      - ค่าพาหนะ
                      - ค่าเครื่องแต่งกาย
                      - ค่าใช้จายในการย้ายถิ่นที่อยู่
                                ่

เหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกัน
         1.1 ต่างเพศกัน ซึ่งมิได้เป็นคู่สมรส
                 1.2 หัวหน้าคณะระดับ 8 (พ.อ.)
                 1.3 หัวหน้าสํานักงานหรือหัวหน้าหน่วยงานระดับ 7 - 8 ไม่ต้องพักรวมกับระดับอื่นที่มิใช่
                      หัวหน้าระดับ 7 - 8 ด้วยกัน
                 1.4 สิทธิเบิกค่าเช่าที่พักต่างอัตรากัน ให้พักรวมกันเฉพาะในกลุ่มของตน (ระดับ 1 - 2
                      และ ระดับ 3 - 8)
                 1.5 กรณีข้าราชการทหารหรือข้าราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตร ไม่ต้องพักรวมกับข้าราชการ
                        ทหารหรือข้าราชการตํารวจชั้นประทวน เช่น
                         ข้าราชการทหารยศพันตรี ไปราชการกับข้าราชการทหารยศสิบเอก
                         พันตรี พักห้องเดี่ยว 1 ห้อง เบิกได้เต็มจํานวน แต่ไม่เกินสิทธิ
                         สิบเอก พักห้องเดี่ยว 1 ห้อง เบิกได้เต็มจํานวน แต่ไม่เกินสิทธิ
20
กรณีมีเหตุจําเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้
                 1. เป็นโรคติดต่ออันตรายต่อผู้พักร่วมด้วย
                 2. สมัครใจแยกพักฝ่ายเดียว

หมายเหตุ         1. ประเทศที่มสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก ไม่เกินร้อย 40
                                 ี
                     - ญี่ปุ่น
                     - สาธารณรัฐฝรั่งเศส
                     - สหพันธรัฐรัสเซีย
                     - สมาพันธรัฐสวิส
                     - สาธารณรัฐอิตาลี
                 2. ประเทศที่มสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก. อีกไม่เกินร้อยละ 25 ได้แก่
                               ี
                     1. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม
                     2. ราชอาณาจักรสเปน
                     3. สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
                     4. สหรัฐอเมริกา
                     5. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ
                     6. สาธารณรัฐโปรตุเกส
                     7. สาธารณรัฐสิงคโปร์

                   ข้อห้าม มิให้เบิกค่าเช่าที่พัก
                        1. พักในยานพาหนะ
                        2. ทางราชการจัดที่พักให้
                   การเบิกค่าเช่าที่พักในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
               ในกรณีเดินทางเป็นหมู่คณะให้เบิก ดังนี้
                   1. ระดับ 8 ลงมา (พ.อ., น.อ.) ลงมา ให้พกแรมรวมกัน 2 คน ต่อ 1 ห้อง ให้เบิกค่าเช่าที่พัก
                                                                ั
                       ได้เท่าที่จ่ายจริง
                   2. ระดับ 9 ขึนไป (พ.อ., น.อ.) พิเศษ ขึ้นไป ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราค่าเช่า
                                     ้
                        ห้องพักคนเดียว
                   3. ระดับ 10 ขึ้นไป ซึ่งเห็น หน.คณะหากจําเป็นต้องใช้สถานที่เพื่อเป็นที่ติดต่อประสานงาน
                       ให้เช่าที่พักเพิ่มได้ อีก 1 ห้อง ในอัตราห้องพักคนเดียว หรือจะเบิกค่าเช่าห้องชุดก็ได้ แต่
                        ทั้งนี้ต้องมีอัตราไม่เกิน 2 เท่าของอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียว
                   ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า ก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ เพราะ
                              ี่
เหตุสวนตัว ตามมาตรา 8/1 และมีเหตุจําเป็นต้องพักแรมในท้องที่ที่ปฏิบัติราชการก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการ ให้เบิกค่า
       ่
เช่าที่พักก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการดังกล่าวได้ ไม่เกิน 1 วัน
21


                                                ค่าพาหนะ
                 ค่าพาหนะ หมายถึง ค่าโดยสาร, ค่าเช่ายานพาหนะ, ค่าเชื้อเพลิง, ค่าระวางบรรทุก, ค่าจ้างคนหาบ
หามสิ่งของของผู้เดินทาง

ความหมายของยานพาหนะประจําทาง
           - ให้บริการทั่วไปเป็นประจํา
           - เส้นทางแน่นอน
           - ค่าโดยสาร + ค่าระวางแน่นอน
                    การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว โดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจําทางและให้เบิกค่าพาหนะ
ได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด
           ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจําทางหรือมีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะอื่นได้
แต่ผ้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจําเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะนั้น
     ู
           ในกรณีทผ้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับท้องที่ตั้ง
                    ี่ ู
สํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุส่วนตัว ตามมาตรา 8/1 ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง
ตามเส้นทางที่ได้รับคําสั่งให้เดินทางไปราชการ กรณีทมีการเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลานั้นให้เบิกค่าพาหนะได้
                                                      ี่
เท่าที่จ่ายจริงโดยไม่เกินอัตราตามเส้นทางที่ได้รบคําสั่งให้เดินทางไปราชการ
                                               ั
                    การเบิกค่าพาหนะภายในของต่างประเทศ ให้เบิกจ่ายได้เท่าทีจ่ายจริง โดยมิต้องตกลงกระทรวงการคลัง
                                                                          ่
                                                        ค่าเครื่องบิน
                  การเดินทางไปราชการต่างประเทศโดยเครื่องบินจากประเทศไทยไปต่างประเทศหรือจากต่างประเทศ
กลับประเทศไทย หรือการเดินทางในต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
                  1. ชั้นหนึ่งสําหรับผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้
                         (ก) หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล
                         (ข) ประธานศาลฎีกา และรองประธานศาลฎีกา
                         (ค) ประธานรัฐสภา และรองประธานรัฐสภา
                         (ง) ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา
                         (จ) ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
                         (ฉ) รัฐมนตรี
                         (ช) ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๑๐ ขึ้นไป (พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต.) ขึ้นไป
                  2. ชั้นธุรกิจ สําหรับระดับ 9 (พ.อ., น.อ.) พิเศษ
                  3. ชั้นประหยัด สําหรับระดับ 8 ลงมา (พ.อ., น.อ.) ลงมา
          ในกรณีที่เครื่องบินที่ใช้ในการเดินทางไม่มีชั้นระหว่างชั้นหนึ่งกับชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุดให้ผู้ดํารงตําแหน่ง
ระดับ 9 (พ.อ., น.อ.) พิเศษ เดินทางโดยชั้นหนึ่ง
          ในการเดินทางไปราชการเพื่อรับเสด็จ ตามเสด็จ หรือส่งเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หากที่นงโดยสารในชั้นที่
                                                                                                       ั่
กําหนดสําหรับผู้ดํารงตําแหน่งระดับ 8,9 (น.อ., พ.อ.) พิเศษ ลงมาเต็มและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินได้ ให้ผู้ดํารง
ตําแหน่งที่เดินทางดังกล่าวสามารถเดินทางและเบิกค่าโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้ โดยต้องได้รับอนุมัติจาก
ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผ้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวง
                                                                          ู
เป็นผู้อนุมติ
           ั
22


          ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิจะเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน
                     ี่
นั้นในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง
                                                 กรณีทําหน้าที่เลขานุการ
          ผู้เดินทางไปราชการต่างประเทศในหน้าที่เลขานุการกับผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล หรือซึ่ง
ดํารงตําแห่งประธานศาลฎีกา ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานศาลอุทธรณ์ รอง
ประธานศาลฎีกา รองประธานรัฐสภา รองประธานวุฒิสภา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือรัฐมนตรี ให้เบิกค่า
พาหนะได้เท่ากับที่ผู้บังคับบัญชามีสิทธิเบิกและให้พักแรมในที่เดียวกับผู้บังคับบัญชา โดยเบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง
ตามสิทธิที่ตนเองได้รบหรือเบิกในอัตราต่ําสุดของที่พักนั้น แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า
                        ั
                                     ค่ารับรองในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
         ให้ผเู้ ดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวเบิกค่ารับรองในการเดินทางไปราชการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
         (๑) ผู้เดินทางซึ่งดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ให้เบิกเงินค่ารับรองได้เท่าที่จ่ายจริง

                  (ก) ประธานองคมนตรี หรือองคมนตรี
                  (ข) นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี
                  (ค) ประธาน หรือรองประธานของสภาซึ่งเป็นองค์กรนิติบัญญัติ
                  (ง) ประธาน ศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา หรือประธานศาลอุทธรณ์
        (๒) ผู้เดินทางนอกจาที่กล่าวใน (๑) ให้เบิกค่ารับรองได้เท่าที่จ่ายจริง ทั้งในกรณีเดินทางไปราชการเป็นคณะ
หรือเดินทางไปราชการคนเดียว ไม่เกินอัตรา ดังต่อไปนื้
                  (ก) กรณีเดินทางไม่เกิน ๑๕ วัน จ่ายรวมกันทั้งคณะ ไม่เกิน ๖๗,๐๐๐ บาท
                  (ข) กรณีเดินทางเกิน ๑๕ วัน แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน จ่ายรวมกันทั้งคณะ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
        (๓) การเดินทางไปราชการที่จะเบิกค่ารับรองตาม (๒) ได้ ต้องเป็นการเดินทางกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้
                  (ก) เป็นผู้เดินทางไปเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศในฐานะผู้แทนรัฐบาล ผู้แทนรัฐสภาหรือผู้แทน
ส่วนราชการ แต่ไม่รวมถึงการประชุมหรือการสัมมนาทางวิชาการ
                  (ข) เป็นผู้เดินทางไปเจรจาธุรกิจ เจรจากู้เงินหรือขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในฐานะผู้แทน
รัฐบาลไทย
                  (ค) เป็นผู้เดินทางไปปรึกษาหารือหรือเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของ
รัฐบาลไทยกับหน่วยงานต่างประเทศ
                  (ง) เป็นผู้เดินทางไปเยือนต่างประเทศในฐานะทูตสันถวไมตรีหรือในฐานะแขกของรัฐบาลต่างประเทศ
                  (จ) เป็นผู้เดินทางไปร่วมในงานรัฐพิธีตามคําเชิญของรัฐบาลต่างประเทศ
                  (ฉ) เป็นผู้เดินทางไปจัดงานแสดงสินค้าไทย หรือส่งเสริมสินค้าไทยในต่างประเทศหรือส่งเสริมการ
ลงทุนของต่างประเทศในประเทศไทย หรือส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ
                  (ช) เป็นผู้เดินทางไปเผยแพร่ศิลปะหรือวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ
ตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้าย

Contenu connexe

Tendances

โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
madechada
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
supap6259
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

Tendances (20)

รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

En vedette

20110926134749
2011092613474920110926134749
20110926134749
maethaya
 
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
สายหมอก วันใหม่
 
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถการเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
Kookkai Phankaew
 
สรุปค่าเดินทาง
สรุปค่าเดินทางสรุปค่าเดินทาง
สรุปค่าเดินทาง
Supaporn Dachnui
 
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
i_cavalry
 
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
techno UCH
 
แบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทางแบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทาง
krutatee2499
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
sandbiyaa
 

En vedette (20)

20110926134749
2011092613474920110926134749
20110926134749
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
 
สรุปสาระสำคัญของสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
สรุปสาระสำคัญของสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรสรุปสาระสำคัญของสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
สรุปสาระสำคัญของสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
 
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรีย
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรียประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรีย
ประเภทและอัตราเงินบำรุงการศึกษาและค่าเล่าเรีย
 
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
1.โครงการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องอ่างเก็บน้ำ
 
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถการเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
การเบิกค่าผ่านทางด่วนและค่าบริการจอดรถ
 
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ4
 
สรุปค่าเดินทาง
สรุปค่าเดินทางสรุปค่าเดินทาง
สรุปค่าเดินทาง
 
ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
 
resume jasmine
resume jasmineresume jasmine
resume jasmine
 
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
 
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
 
แบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทางแบบรายงานการเดินทาง
แบบรายงานการเดินทาง
 
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
 
จำนวนข้อสอบ 0 net ม.3 ปี 2554
จำนวนข้อสอบ 0 net ม.3  ปี 2554จำนวนข้อสอบ 0 net ม.3  ปี 2554
จำนวนข้อสอบ 0 net ม.3 ปี 2554
 
บทที่ 3 การขายบนเวป พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Ninth edition
บทที่ 3 การขายบนเวป พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Ninth editionบทที่ 3 การขายบนเวป พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Ninth edition
บทที่ 3 การขายบนเวป พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Ninth edition
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
Hydrology reservoir 2 slides
Hydrology reservoir 2 slidesHydrology reservoir 2 slides
Hydrology reservoir 2 slides
 
HR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmallHR Case Analysis : Index livingmall
HR Case Analysis : Index livingmall
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย)
 

ตารางค่าขนย้าย

  • 1. การเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ___________________________________ การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ลักษณะการเดินทางมี 3 ประเภท 1. การเดินทางไปราชการชั่วคราว 2. การเดินทางไปราชการประจํา 3. การเดินทางกลับภูมิลําเนา การเดินทางไปราชการชั่วคราว ได้แก่ (1) การไปปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่งผู้บงคับบัญชา ั หรือตามหน้าที่ที่ปฏิบัติราชการโดยปกติ (2) ยกเลิก (3) การไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือกตามที่ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา (4) การไปช่วยราชการ ไปรักษาการในตําแหน่งหรือไปรักษาราชการแทน (5) การเดินทางไปราชการเฉพาะระหว่างเวลาที่อยู่ในราชอาณาจักรของผู้ซึ่งรับราชการประจําใน ต่างประเทศ (6) การเดินทางข้ามแดนชั่วคราว เพื่อไปปฏิบัติราชการในดินแดนต่างประเทศตามข้อตกลง ระหว่างประเทศ สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไป ราชการ หรือวันที่ออกจากราชการแล้วแต่กรณี ให้ผ้มีอํานาจอนุมัติการเดินทางอนุมัติระยะเวลาในการเดินทางไปราชการตามความจําเป็นและ ู เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกําหนด ถ้าผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้าหรือไม่สามารถเดินทางกลับ ท้องที่ตั้งสํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุส่วนตัวโดยได้รับอนุมัติให้ลากิจหรือลาพักผ่อน ตามระเบียบว่าด้วยการนั้น และได้รับอนุมติระยะเวลาดังกล่าวจากผู้มีอํานาจอนุมัติการเดินทางตามหลักเกณฑ์ที่ ั กระทรวงการคลังกําหนดด้วยแล้ว ให้มสทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการตามที่พระราชกฤษฎีกานี้ ีิ กําหนดไว้ต่อเมื่อได้มีการปฏิบัติราชการตามคําสั่งของทางราชการแล้ว
  • 2. 2 ค่าใช้จายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ได้แก่ ่ 1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง 2. ค่าเช่าที่พัก 3. ค่าพาหนะ รวมถึงค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเชื้อเพลิงหรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม และอื่น ๆ ทํานองเดียวกัน 4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ การนับเวลา - เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่หรือสถานทีปฏิบัติราชการปกติ จนถึงกลับสถานที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติ ่ ราชการปกติ - นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง ให้นับเป็น 1 วัน - กรณีไม่พักแรม เศษเกิน 12 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เกิน 6 ชั่วโมง นับเป็นครึ่งวัน ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับท้องที่ตั้ง ี่ สํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการเพราะมีเหตุส่วนตัว ตามมาตรา 8/1 การนับเวลาเดินทางไปราชการ เพื่อคํานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง กรณีลากิจหรือลาพักผ่อนก่อนปฏิบัติราชการให้นับเวลาตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการเป็น ต้นไป และกรณีลากิจหรือลาพักผ่อนหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ ให้ถือว่าสิทธิในการเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง สิ้นสุดลงเมื่อสินสุดเวลาปฏิบัติราชการ ้ อัตราเบียเลี้ยงดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ้ ในลักษณะเหมาจ่าย อัตรา ข้าราชการ (บาท : วัน : คน) ระดับ 8 ลงมา ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก 240 ลงมา หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพันตํารวจเอก ลงมา ตําแหน่ง ระดับ 9 ขึ้ น ไป ข้า ราชการทหารซึ่ง มียศพั นเอก นาวาเอก นาวา 270 อากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอก พิเศษ ขึ้นไป
  • 3. 3 อัตราค่าเช่าทีพักในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ่ 1. กรณีเลือกเบิกในลักษณะจ่ายจริง ให้เบิกได้เท่าที่จายจริงไม่เกินอัตรา ่ ห้องพักคนเดียว ห้องพักคนคู่ ข้าราชการ (บาท : วัน : คน) (บาท : วัน : คน) ตํ า แหน่ ง ระดั บ 8 ลงมา ยศพั น เอก นาวาเอก นาวา 1,500 850 อากาศเอก ลงมา ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่ เกินอัตราค่าเช่าที่พักคนเดียว ในกรณี เ ดิ น ทางไปราชการเป็ น หมู่ ค ณะ ให้ พั ก รวมกันสองคนขึ้นไปต่อหนึ่งห้อง โดยให้เบิกค่าเช่าที่พัก ได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราค่าเช่าห้องพักคู่ เว้นแต่เป็น กรณี ที่ ไ ม่ เ หมาะสมจะพั ก รวมกั น หรื อ มี เ หตุ จํ า เป็ น ที่ไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน อัตราค่าเช่าที่พักคนเดียว ตําแหน่งระดับ 9 หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ยศพันเอก 2,200 1,200 นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ จะเบิกในอัตรา ค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้ ระดับ 10 ขึ้นไป ข้า ราชการซึ่ง มีย ศพลตรี พลเรื อ ตรี 2,500 1,400 พลอากาศตรี ขึ้ น ไป หรื อ ข้ า ราชการตํ า รวจซึ่ ง มี ย ศ พลตํ า รวจตรี ขึ้ น ไป จะเบิ ก ในอั ต ราค่ า เช่ า ห้ อ งพั ก คนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้ ในกรณีเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ และผู้ดํารง ตําแหน่งดังกล่าวข้างต้นเป็นหัวหน้าคณะ และมีความ จํ า เป็ น ต้ อ งใช้ ส ถานที่ เ ดี ย วกั น กั บ ที่ พั ก เพื่ อ เป็ น ที่ ป ระสานงานของคณะหรื อ บุ ค คลอื่ น ให้ เ บิ ก ค่ า เช่ า ที่ พั ก ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น สํ า หรั บ ห้ อ งพั ก อี ก ห้ อ งหนึ่ ง ในอั ต รา ค่าเช่าห้องพักคนเดี ยวหรื อจะเบิกค่าเช่ าห้องชุด แทน ในอัตราไม่เกินสองเท่าของอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียว ก็ได้
  • 4. 4 2. กรณีเลือกเบิกในลักษณะเหมาจ่าย ให้เบิกได้ไม่เกินอัตรา ดังนี้ อัตรา ข้าราชการ (บาท : วัน : คน) ระดับ 8 ลงมา ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอกลงมา 800 ระดับ 9 ขึ้นไป ข้าราชการทหาร ซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก 1,200 อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ขึ้นไป หรือ ข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือน พันตํารวจเอกพิเศษ ขึ้นไป การเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางสําหรับการเดินทางไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดในสถานที่ปฏิบัติราชการแห่ง เดียวกัน ให้เบิกได้เพียงระยะเวลาไม่เกิน 120 วัน นับแต่วนที่ออกเดินทางถ้าเกินต้องได้อนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้า ั สังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผู้บังคับบัญชาที่มีอานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวงเป็น ํ ผู้อนุมัติ ทั้งนี้ ให้พิจารณาถึงความจําเป็นและประหยัดด้วย ผู้เดินทางไปราชการซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุมัติเบี้ยเลี้ยงเดินทางประจํา จะเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางตาม พระราชกฤษฎีกานี้ได้เมื่องดเบิกเบี้ยเลี้ยงประจํา กรณีห้ามเบิก 1. การพักแรมซึ่งโดยปกติตองพักแรมในยานพาหนะ ้ 2. กรณีที่ทางราชการจัดที่พักให้แล้ว - กรณีเดินทางไปราชการในท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูงหรือเป็นแหล่งท่องเทียวให้ หน.ส่วนราชการ ่ เจ้าของงบประมาณ อนุมัติให้เบิกจ่ายค่าที่พักสูงกว่าอัตราที่กําหนดเพิ่มขึ้นอีกไม่เกินร้อยละ 25 ค่าเช่าทีพัก เบิกได้ในกรณีจําต้องพักแรม ให้เบิกจ่ายได้ดังนี้ ่ ค่าเช่าทีพัก ่ การเดินทางไปราชการ ณ สถานที่ปฏิบัติราชการใดที่ไม่สะดวกในการเดินทางไปกลับระหว่าง สถานที่ปฏิบติราชการนั้นกับสถานที่อยู่ ให้เบิกค่าเช่าที่พักระหว่างที่ไปราชการได้เพียงระยะเวลาไม่เกินหนึ่งร้อย ั ยี่สิบวัน นับแต่วนที่ออกเดินทางถ้าเกินต้องได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มี ั ปลัดกระทรวงให้ผ้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกันกับปลัดกระทรวงเป็นผู้อนุมัติ ทั้งนี้ ให้พิจารณาถึงความ ู จําเป็นและประหยัดด้วย
  • 5. 5 ค่าเช่าที่พักกรณีเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ การเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ หมายถึง การเดินทางไปปฏิบัติราชการด้วยกันตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป โดยไปใน เนื้องานเดียวกัน ณ สถานทีปฏิบัติราชการเดียวกัน ่ หลักเกณฑ์การเบิกค่าเช่าที่พัก 1. ข้าราชการระดับ 8 ลงมา (พ.อ , น.อ. ลงมา) ให้พักรวมกัน 2 คนต่อ 1 ห้อง เบิกค่าเช่าที่พักใน อัตราเหมาจ่าย หรือเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ กค. กําหนด 2. ข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป (พ.อพิเศษ. , น.อ.พิเศษ ขึ้นไป) เบิกค่าเช่าทีพักเหมาจ่าย หรือเท่าที่จ่ายจริง ่ ไม่เกินอัตราที่ กค. กําหนด ในอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้ หลักฐานการเบิกค่าเช่าที่พัก 1. กรณีจ่ายจริง - ใบเสร็จรับเงิน - ใบแจ้งรายการของโรงแรม (FOLIO) 2. กรณีเหมาจ่าย - ไม่ต้องมีใบเสร็จรับเงิน ค่าพาหนะ การเดินทางไปราชการโดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจําทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจําทางหรือมีแต่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะ อื่นได้ แต่ผ้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจําเป็นไว้ในรายงานการเดินทางหรือหลักฐานการขอเบิกเงินค่า ู พาหนะนั้น ค่าพาหนะ หมายถึง ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหาม สิ่งของของผู้เดินทาง (ให้ปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี) ความหมายของยานพาหนะประจําทาง - บริการทั่วไปประจํา - เส้นทางแน่นอน - ค่าโดยสาร + ค่าระวางแน่นอน
  • 6. 6 หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) 1. กรณีไม่มียานพาหนะประจําทาง 2. มียานพาหนะประจําทาง แต่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน ต้องชี้แจงเหตุผลประกอบ 3. ระดับ 6 ขึ้นไป (พ.ท. , น.ท. ขึ้นไป) ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้าง กรณีดังต่อไปนี้ - ไปกลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก ที่ปฏิบัติราชการ กับ สถานียานพาหนะหรือสถานที่จัดยานพาหนะ เขตจังหวัดเดียวกัน - ไปกลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก กับ สถานที่ปฏิบัติราชการชั่วคราว วันละไม่เกิน 2 เที่ยว ในจังหวัดเดียวกัน - เดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพ ฯ 4. ระดับ 5 ลงมา (พ.ต. , น.ต.) ลงมา จะเบิกค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) ได้ จะต้องมีสัมภาระในการ เดินทาง หรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการไปด้วย 5. การเดินทางไปสอบคัดเลือกหรือรับการคัดเลือก จะเบิกค่าพาหนะรับจ้างไม่ได้ การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด (น. กค. 0409.6/ว 42 ลง 26 ก.ค. 50) ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จายจริงดังนี้ ่ 1. กรณีเดินทางข้ามเขตจังหวัด ระหว่าง กรุงเทพ ฯ กับ จังหวัดที่มีเขตติดต่อกับกรุงเทพ ฯ หรือการ เดินทางข้ามเขตจังหวัดที่ผ่านเขตกรุงเทพ ฯ ให้เบิกเท่าที่จายจริง เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท ่ 2. การเดินทางข้ามเขตจังหวัดอืน ๆ ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง เทียวละไม่เกิน 500 บาท ่ ่ 3. เงินชดเชยในการใช้ยานพาหนะส่วนตัวในการเดินทาง 3.1 รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท 3.2 รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 2 บาท การใช้ยานพาหนะส่วนตัวไปราชการ ผู้เดินทางจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาดังต่อไปนี้ จึง จะมีสทธิเบิกเงินชดเชยเป็นค่าพาหนะในลักษณะเหมาจ่ายให้เป็นค่าใช้จ่ายสําหรับเป็นค่าพาหนะส่วนตัวได้ คือ ิ (1) อธิบดีขึ้นไปหรือตําแหน่งที่เทียบเท่า สําหรับราชการบริหารส่วนกลาง (2) หัวหน้าสํานักงาน สําหรับราชการบริหารส่วนกลางที่มีสํานักงานอยู่ในส่วนภูมิภาค หรือมี สํานักงานแยกต่างหากจากกระทรวง ทบวง กรม (3) หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดซึ่งเป็นผู้เบิกเงิน หรือนายอําเภอท้องที่แล้วแต่กรณี สําหรับ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
  • 7. 7 4. การเบิกค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการต้องเป็นไปตามเงื่อนไข ดังนี้ 4.1 เป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่ายไม่อาจเดินทางถึงจุดหมาย 4.2 ต้องไม่เป็นค่าใช้จ่ายที่มีกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการของ กระทรวงการคลังกําหนดไว้เป็นการเฉพาะ 4.3 ต้องไม่ใช่ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ไปปฏิบัติราชการซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการ ค่าเครื่องบิน หลักเกณฑ์ 1. ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป (พ.ท. , น.ท.) ขึ้นไป 2. ผูดํารงตําแหน่งระดับ 5 ลงมา (พ.ต. , น.ต.) ลงมา ให้เดินทางได้เฉพาะกรณีที่จําเป็นเร่งด่วน เพื่อ ้ ประโยชน์แก่ทางราชการ 3. การเดินทางซึ่งไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามข้อ 1, 2 ให้เบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าพาหนะในการเดินทาง ภาคพื้นดินในระยะเดียวกัน ตามสิทธิของผู้เดินทางที่จะเบิกได้ ระดับชั้นโดยสารเครื่องบิน - ระดับ 6 - 8 (พ.ท. , น.ท. - พ.อ. , น.อ.) ชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุด - ระดับ 9 (พ.อ. พิเศษ , น.อ. พิเศษ) ขึ้นไป ชั้นธุรกิจ ในการเดินทางไปราชการเพื่อรับเสด็จ ตามเสด็จหรือส่งเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หากที่นั่งโดยสารในชั้น ประหยัดหรือชั้นต่ําสุดเต็ม และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเทียวบินได้ให้ผู้ดํารงตําแหน่งที่เดินทางดังกล่าวสามารถ ่ เดินทางและเบิกค่าโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้โดยต้องได้รับอนุมัตจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับ ิ ส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผู้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวงเป็นผู้อนุมัติ ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิจะเบิกค่า ี่ โดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง มาตรการประหยัด ปีงบประมาณ 2554 - พ.อ. (พิเศษ), น.อ.(พิเศษ) ลงมา ชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุด - พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต. ถึง พล.อ., พล.ร.อ., พล.อ.อ. ชั้นธุรกิจ หลักฐานการเบิกจ่ายค่าเครื่องบิน - กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน - กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ดังนี้ ใบเสร็จรับเงิน และ กากบัตรโดยสาร / ใบรับเงินแสดงรายงานการเดินทาง - กรณีซื้อ E-Ticket (ตั๋วทางระบบอิเล็กทรอนิคส์) ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง มาเป็น หลักฐานในการเบิกจ่ายได้
  • 8. 8 กรณีทําหน้าที่เลขานุการ ผู้เดินทางไปราชการในหน้าที่เลขานุการกับผู้บงคับบัญชา ที่เป็นหัวหน้าคณะซึงดํารงตําแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป ั ่ (พ.อ. , น.อ. พิเศษ ) ขึ้นไป หากมีความจําเป็นต้องเดินทางพร้อมกับผู้บังคับบัญชา ให้เบิกค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าพาหนะ ให้เบิกได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา - ค่าเช่าที่พัก ให้พักแรมในที่เดียวกันกับผู้บังคับบัญชา แต่เบิกค่าเช่าที่พักได้ตามสิทธิที่ ตนเอง ได้รับ หรือเบิกได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราต่ําสุดของที่พักนั้น การเดินทางไปราชการประจํา การเดินทางไปราชการประจํา ได้แก่ 1. ไปประจําต่างสํานักงาน / ไปรักษาการในตําแหน่งหรือรักษาราชการแทน เพื่อดํารงตําแหน่งใหม่ ณ สํานักงานแห่งใหม่ 2. ไปประจําสํานักงานเดิมในท้องที่แห่งใหม่ (กรณีย้ายสํานักงาน) 3. ไปปฏิบัติงานตามโครงการ หรือไปช่วยราชการมีกําหนดเวลาตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป 4. การเดินทางไปช่วยราชการที่ไม่อาจกําหนดระยะเวลาสิ้นสุด หรือมีกําหนดเวลาไม่ถึง 1 ปี ซึ่งส่วน ราชการมีความจําเป็นต้องให้ผ้นั้นช่วยราชการต่อ ณ สถานที่แห่งเดิม ให้นับเวลาช่วยราชการต่อเนื่อง ู และให้ถือเวลาการช่วยราชการตั้งแต่วันที่ครบกําหนด 1 ปี เป็นต้นไป เป็นการเดินทางไปราชการ ประจํา สิทธิในการเบิก 1. ตนเอง 2. บุคคลในครอบครัว - คู่สมรส - บุตร - บิดา มารดา (ของตนเอง + คู่สมรส) - ผู้ติดตาม ระดับ 6 ลงมา (พ.ท. , น.ท.) ลงมา ไม่เกิน 1 คน ระดับ 7 ขึ้นไป (พ.อ. , น.อ.) ขึ้นไป ไม่เกิน 2 คน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประจํา ประกอบด้วย 1. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง 2. ค่าเช่าที่พัก 3. ค่าพาหนะ 4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ 5. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว
  • 9. 9 ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจําแห่งใหม่ 1. ต้องเป็นกรณีไม่อาจเข้าบ้านพักทางราชการ หรือบ้านเช่าได้ 2. เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน นับแต่วันถึงท้องที่ตั้งสํานักงานนั้น (ถ้ามีความจําเป็นจะต้องเบิกค่าเช่าที่พักเกิน 7 วัน ต้องได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด เดิม) 3. ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา ระดับอธิบดีขึ้นไปหรือหน.สํานักงาน กรณีมีสํานักงาน แยกต่างหากจากกระทรวง, ทบวง,กรม 4. ต้องไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านขณะนั้น 5. กรณีโอนย้ายต่างสังกัด - สังกัดเดิมเป็นฯผู้อนุมัติ - สังกัดใหม่รับรองเหตุผลความจําเป็นในการขอเบิก และเป็นผู้เบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการ ค่าพาหนะในการเดินทางไปราชการประจํา - ผู้มสทธิ ีิ 1. ตนเอง 2. บุคคลในครอบครัวเดินทางพร้อมผู้มีสิทธิ - เบิกอัตราเดียวกับผู้มีสิทธิ - ผู้ติดตามเบิกเท่าระดับต่ําสุด ในกรณีจําเป็นซึ่งไม่อาจนําบุคคลในครอบครัวไปพร้อมกับผู้เดินทางได้ ให้ผู้เดินทางรายงานชี้แจง เหตุผลความจําเป็นและกําหนดเวลาที่จะเลื่อนการเดินทางต่อผู้บังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงผู้ดํารงตําแหน่งอธิบดี หรือปลัดกระทรวง หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า แล้วแต่กรณี สําหรับราชการบริหารส่วนกลาง หรือผู้ว่าราชการจังหวัด สําหรับการบริหารส่วนภูมิภาค แต่ถ้าผู้เดินทางดํารงตําแหน่งอธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด ให้เสนอผู้บังคับบัญชา เหนือตนขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง การขอเลื่อนการเดินทางตามวรรคหนึ่ง ให้ขอก่อนที่ข้าราชการ หรือลูกจ้างผู้นั้นจะเดินทาง ผู้บังคับบัญชาตามวรรคหนึ่งมีอํานาจอนุญาตให้เลื่อนการเดินทางได้ภายในเวลาอันสมควร แต่ต้องไม่เกินหนึ่งปี นับแต่วันที่ปรากฏในคําสั่งให้เดินทางไปราชการ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตาม ความจําเป็น เหมาะสม และประหยัด เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
  • 10. 10 ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว ผู้เดินทางไปราชการประจําให้เบิกค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวในลักษณะเหมาจ่ายได้ภายใน วงเงินและเงื่อนไขที่ กค.กําหนดดังนี้ อัตราค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวในการเดินทางไปราชการประจําในราชกอาณาจักร ระยะทาง (กม.) อัตรา (บาท) ๑-๕๐ ๒,๐๐๐ ๕๑-๑๐๐ ๒,๕๐๐ ๑๐๑-๑๕๐ ๓,๐๐๐ ๑๕๑-๒๐๐ ๔,๐๐๐ ๒๐๑-๒๕๐ ๔,๕๐๐ ๒๕๑-๓๐๐ ๕,๐๐๐ ๓๐๑-๓๕๐ ๖,๐๐๐ ๓๕๑-๔๐๐ ๖,๕๐๐ ๔๐๑-๔๕๐ ๗,๐๐๐ ๔๕๑-๕๐๐ ๘,๐๐๐ ๕๐๑-๕๕๐ ๘,๕๐๐ ๕๕๑-๖๐๐ ๙,๐๐๐ ๖๐๑-๖๕๐ ๙,๕๐๐ ๖๕๑-๗๐๐ ๑๐,๐๐๐ ๗๐๑-๗๕๐ ๑๑,๐๐๐ ๗๕๑-๘๐๐ ๑๑,๕๐๐ ๘๐๑-๘๕๐ ๑๒,๐๐๐ ๘๕๑-๙๐๐ ๑๓,๐๐๐ ๙๐๑-๙๕๐ ๑๓,๕๐๐ ๙๕๑-๑๐๐๐ ๑๔,๐๐๐ ๑๐๐๑-๑๐๕๐ ๑๕,๐๐๐ ๑๐๕๑-๑๑๐๐ ๑๕,๕๐๐ ๑๑๐๑-๑๑๕๐ ๑๖,๐๐๐ ๑๑๕๑-๑๒๐๐ ๑๗,๐๐๐ ๑๒๐๑-๑๒๕๐ ๑๗,๕๐๐ ๑๒๕๑-๑๓๐๐ ๑๘,๕๐๐ ๑๓๐๑-๑๓๕๐ ๑๙,๐๐๐ ๑๓๕๑-๑๔๐๐ ๑๙,๕๐๐ ๑๔๐๑-๑๔๕๐ ๒๐,๐๐๐ ๑๔๕๑-๑๕๐๐ ๒๐,๕๐๐ สําหรับระยะทางที่เกิน ๑๕๐๐ กิโลเมตรขึ้นไปให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่านราชการตันสังกัด ที่จะพิจารณาอนุ จ่ายกรณี ายในลักษณะเหมาจ่ายได้ตามความจํ การเบิกค่าใช้มัติให้เลิกเจ่ดินทางไปราชการประจําสํานักงาน าเป็นเหมาะสม
  • 11. 11 การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีไปประจําสํานักงานซึ่งต่างสังกัด ให้เบิกจาก สังกัดใหม่ที่ไปประจํา การเดินทางกลับภูมิลําเนา ภูมิลาเนาเดิม หมายถึง ํ 1. ท้องที่ที่เริ่มรับราชการ, กลับเข้ารับราชการใหม่ หรือ 2. กรณีพิเศษ ผู้มีสิทธิเบิกค่าใช้จายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาจะขอเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยัง ่ ท้องที่อื่น ซึ่งมิใช่ภูมิลําเนาเดิม โดยเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไม่สูงกว่า ให้กระทําได้เมื่อได้รับอนุญาตจาก ผู้บังคับบัญชาระดับอธิบดีขึ้นไป 3. การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม หมายถึง การเดินทางเพื่อกลับภูมิลําเนาเดิมของผู้เดินทางไปราชการประจํา ในกรณีท่ออกจากี ราชการหรือถูกสั่งพักราชการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับภูมิลําเนา ประกอบด้วย 1. ค่าเช่าที่พัก 2. ค่าพาหนะ 3. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว สิทธิในการเบิก 1. กรณีออกจากราชการ, เลิกจ้าง 2. กรณีตาย - ให้ทายาทที่อยู่ด้วยเป็นผู้เบิก - ถ้าไม่มทายาทก็ให้ทายาททีมิได้อยู่ด้วยเป็นผู้เบิก การเบิกให้เบิกเฉพาะเดินทางกลับเท่านัน ี ่ ้ 3. กรณีใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น - ค่าใช้จ่ายต้องไม่สูงกว่ากลับภูมิลําเนาเดิม - ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาระดับอธิบดีขึ้นไป 4. การเดินทางและการขนย้าย ต้องกระทําภายใน 180 วัน นับแต่ออกจากราชการ, เลิกจ้าง, ตาย (ถ้าเกินตกลง กค.) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ลักษณะการเดินทางมี 3 ประเภท 1. เดินทางไปราชการชั่วคราว 2. เดินทางไปราชการประจํา 3. การเดินทางกลับภูมิลําเนา
  • 12. 12 การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวได้แก่ 1. ข้าราชการประจําในไทย เดินทางไปต่างประเทศ เพื่อประชุม, เจรจาธุรกิจ, ดูงาน, ตรวจสอบ บัญชี, ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามความจําเป็น 2. ข้าราชการประจําในต่างประเทศ ไป ณ ที่ใด ๆในต่างประเทศหรือมาประเทศไทย เฉพาะ เวลาที่เดินทางอยู่นอกประเทศไทย 3. ข้าราชการประจําต่างประเทศ ไปช่วยราชการ, รักษาการในตําแหน่ง, รักษาราชการแทน, ต่างสํานักงาน ในต่างประเทศเฉพาะเวลาที่ออกเดินทางจากที่พักเดิมถึงที่พักสํานักงานแห่งใหม่ การอนุมัติระยะเวลาในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ให้อนุมัติระยะเวลาออก เดินทางล่วงหน้าก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ และอนุมัติระยะเวลาเดินทางกลับหลังเสร็จสินการปฏิบัติราชการภายใน ้ กําหนดเวลาตามบัญชีหมายเลข ๑ บัญชีหมายเลข ๑ ระยะเวลาอนุมัติการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ประเทศที่เดินทางไปราชการ ก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ (ก) ประเทศในทวีปเอเชีย ไม่เกิน ๒๔ ชั่วโมง ไม่เกิน ๒๔ ชั่วโมง (ข) ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ประเทศ ไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง ไม่เกิน ๔๘ ชั่วโมง ในทวีปยุโรป หรือประเทศในทวีป อเมริกาเหนือ (ค) ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ หรือ ไม่เกิน ๗๒ ชั่วโมง ไม่เกิน ๗๒ ชั่วโมง ประเทศในทวีปแอฟริกา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ได้แก่ 1. ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง/ค่าอาหาร 2. ค่าเช่าที่พัก 3. ค่าพาหนะ รวมทั้งค่าเช่ายานพาหนะ, ค่าเชื้อเพลิง, ค่าระวางบรรทุก, ค่าจ้างคนหาบหาม และ อื่น ๆ ทํานองเดียวกัน 4. ค่ารับรอง 5. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นเนื่องในการเดินทางไปราชการ 6. ค่าเครื่องแต่งตัว เบี้ยลี้ยงเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (เหมาจ่าย) ข้าราชการ บาท / วัน 1. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. หรือ ข้าราชการระดับ 8 ลงมา 2,100 2. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. พิเศษ หรือ ข้าราชการระดับ 9 ขึนไป ้ 3,100
  • 13. 13 การนับเวลาคํานวณเบี้ยเลี้ยงไปราชการต่างประเทศ 1. กรณีเป็นข้าราชการประจําในต่างประเทศ - ให้นับตั้งแต่ ออกจากที่อยู่ในต่างประเทศหรือที่ทํางานปกติ จนกลับถึงที่อยู่ในต่างประเทศ หรือที่ทํางานปกติ 2. กรณีเป็นข้าราชการประจําในประเทศไทย - ให้นบตั้งแต่ประทับตราหนังสือเดินทางออกจากประเทศไทยถึงประทับตราหนังสือเดิน ั ทางเข้าประเทศ 3. การนับเวลากรณีพักแรม, ไม่พักแรม - กรณีที่มีการพักแรม ให้นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน - กรณีที่ไม่มีการพักแรม ให้นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม.นับเป็น 1 วัน แต่ถ้าเศษนับได้ไม่เกิน 12 ชม. แต่เกิน 6 ชม. ให้นับเป็น 1/2 วัน 4. กรณีลากิจ, ลาพักผ่อน - ลาก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ - ลาหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ ให้ถือว่าสิทธิในการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางสิ้นสุดลง เมื่อสิ้นสุดเวลาการปฏิบัติราชการ 5. กรณีไม่เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่ายให้มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายได้ดังนี้ - ค่าอาหาร-เครื่องดื่ม เท่าทีจ่ายจริงไม่เกิน 4 ,500 บาท /วัน ่ - ค่าภาษี, บริการที่โรงแรม, ร้านค้าเรียกเก็บ - ค่าทําความสะอาดเสื้อผ้า (เกิน 7 วัน) เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 500 บาท/วัน - การเบิกจ่ายให้คํานวณเบิกจ่ายแต่ละวัน เศษที่เหลือจะนํามาสมทบเบิกจ่ายวันต่อไปไม่ได้ - ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ดเหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน/คน ค่าเช่าที่พักในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว - หลักเกณฑ์ 1. การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวที่จําเป็นต้องพักแรม 2. ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงตามสิทธิที่ตนเองได้รับ 3. ระดับ 8 ลงมา (พ.อ.,น.อ.) ลงมาให้พักรวมกัน 2 คนต่อ 1 ห้อง โดยให้เบิกค่าที่พักได้ เท่าที่จ่าย จริงในอัตราค่าเช่าห้องพักคู่ 4. ระดับ 9 ขึนไป (พ.อ., น.อ.) พิเศษขึ้นไป ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราค่าเช่าห้องพัก ้ คนเดียว
  • 14. 14 อัตราการเบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( ฉบับที่ 2 )พ.ศ. 2554 อัตราค่าเช่าที่พักในต่างประเทศ (บัญชีหมายเลข 7 ) อัตราสําหรับประเทศ รัฐ เมือง (บาท : วัน : คน) ข้าราชการ ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง. ประเภท จ. ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโสลง ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน เพิ่มขึ้นจาก เพิ่มขึ้นจาก มา ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ 7,500 5,000 3,100 ประเภท ก. ประเภท ก. ชํานาญการพิเศษ ลงมา ตําแหน่งประเภท อีกไม่เกิน อีกไม่เกิน อํานวยการระดับต้น หรือตําแหน่งระดับ 8 ร้อยละ 40 ร้อยละ 25 ลงมา หรื อ ตํ า แหน่ ง ที่ เ ที ย บเท่ า หรื อ ข้ า ราชการตุ ล าการซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 2 ล ง ม า ห รื อ ผู้ ช่ ว ย ผู้ พิ พ า ก ษ า ห รื อ ดะโต๊ ะ ยุ ติ ธ รรม หรื อ ข้ า ราชการอั ย การ ซึ่งรับเงินเดือนชั้น 3 ลงมา หรือข้าราชการ ทหารซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศ เอก ลงมา หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมียศพัน ตํารวจเอก ลงมา ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่ วไประดับทั ก ษะ ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน เพิ่มขึ้นจาก เพิ่มขึ้นจาก พิ เ ศษ ตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการระดั บ 10,000 7,000 4,500 ประเภท ก. ประเภท ก. เชี่ ย วชาญ ขึ้ นไป ตํ า แ หน่ ง ประเภท อีกไม่เกิน อีกไม่เกิน อํ า นวยการระดั บ สู ง ตํ า แหน่ ง ประเภท ร้อยละ 40 ร้อยละ 25 บริ ห าร หรือ ตํ า แหน่ ง ระดั บ 9 ขึ้ น ไป หรื อ ตําแหน่งที่เทียบเท่า หรือข้าราชการตุลาการ ซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 3 ขึ้ น ต่ํ า ขึ้ น ไป หรื อ ข้ า ราชการอั ย การซึ่ ง รั บ เงิ น เดื อ นชั้ น 4 ขึ้นไป หรือข้าราชการทหารซึ่งมียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศ เอกพิเศษ ขึ้นไป หรือข้าราชการตํารวจซึ่งมี ยศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือน พันตํารวจ เอกพิเศษ ขึ้นไป
  • 15. 15 ประเภท ก. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ ๑. แคนาดา ๒. เครือรัฐออสเตรเลีย ๓. ไต้หวัน ๔. เติร์กเมนิสถาน ๕. นิวซีแลนด์ ๖. บอสเนียแอนด์เฮอร์เซโกวีนา ๗. ปาปัวนิวกินี ๘. มาเลเซีย ๙. ราชรัฐโมนาโก ๑๐. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก ๑๑. ราชรัฐอันดอร์รา ๑๒. ราชอาณาจักรกัมพูชา ๑๓. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก ๑๔. ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ๑๕. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ๑๖.ราชอาณาจักรโมร็อกโก ๑๗. ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์ ๑๘.ราชอาณาจักรสวีเดน ๑๙. รัฐสุลต่านโอมาน ๒๐. โรมาเนีย ๒๑. สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ๒๒. สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ๒๓. สหรัฐอาหรับอิมเรตส์ ิ ๒๔. สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) ๒๕. สาธารณรัฐโครเอเชีย ๒๖. สาธารณรัฐชิลี ๒๗.สาธารณรัฐเช็ก ๒๘.สาธารณรัฐตุรกี ๒๙. สาธารณรัฐบัลแกเรีย ๓๐. สาธารณรัฐประชาชนจีน ๓๑.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย ๓๒.สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์- เลสเต ๓๓.สาธารณรัฐเปรู ๓๔.สาธารณรัฐโปแลนด์ ๓๕.สาธารณรัฐฟินแลนด์ ๓๖. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ๓๗. สาธารณรัฐมอริเชียส ๓๘. สาธารณรัฐมอลตา
  • 16. 16 ๓๙. สาธารณรัฐโมซัมบิก ๔๐. สาธารณรัฐเยเมน ๔๑. สาธารณรัฐลิทัวเนีย ๔๒.สาธารณรัฐสโลวัก ๔๓. สาธารณรัฐสโลวีเนีย ๔๔. สาธารณรัฐออสเตรเลีย ๔๕ .สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน ๔๖. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ๔๗. สาธารณรัฐอินเดีย ๔๘. สาธารณรัฐเอสโตเนีย ๔๙. สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ๕๐. สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ ๕๑. สาธารณรัฐฮังการี ๕๒. สาธารณรัฐเฮลเลนิก(กรีซ) ๕๓. ฮ่องกง ประเภท ข. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ ๑. เครือรัฐบาฮามาส ๒. จอร์เจีย ๓. จาเมกา ๔. เนการาบรูไนดารุสซาลาม ๕. มาซิโดเนีย ๖. ยูเครน ๗. รัฐกาตาร์ ๘. รัฐคูเวต ๙. รัฐบาห์เรน ๑๐. รัฐอิสลาเอล ๑๑. ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย ๑๒. ราชอาณาจักรตองกา ๑๓. ราชอาณาจักรฮัซไมต์จอร์แดน ๑๔. สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย ๑๕. สหภาพพม่า ๑๖. สหรัฐเม็กซิโก ๑๗. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย ๑๘. สาธารณรัฐกานา ๑๙. สาธารณรัฐแกมเบีย ๒๐.สาธารณรัฐโกตดิวัวร์(ไอเวอรี่โคส) ๒๑.สาธารณรัฐคอสตาริกา ๒๒. สาธารณรัฐคีร์กซ ิ ๒๓. สาธารณรัฐเคนยา
  • 17. 17 ๒๔. สาธารณรัฐแคเมอรูน ๒๕.สาธารณรัฐคาซัคสถาน ๒๖. สาธารณรัฐจิบตี ู ๒๗.สาธารณรัฐชาด ๒๘. สาธารณรัฐซิมบับเว ๒๙. สาธารณรัฐเซเนกัล ๓๐.สาธารณรัฐแซมเบีย ๓๑.สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน ๓๒. สาธารณรัฐไซปรัส ๓๓. สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก ๓๔. สาธารณรัฐตูนิเซีย ๓๕.สาธารณรัฐทาจิกสถาน ิ ๓๖. สาธารณรัฐเนปาล ๓๗. สาธารณรัฐไนเจอร์ ๓๘. สาธารณรัฐบุรุนดี ๓๙. สาธารณรัฐเบนิน ๔๐.สาธารณรัฐเบลารุส ๔๑. สาธารณรัฐประชาชนบังคลาเทศ ๔๒ สาธารณรัฐปานามา ๔๓. สาธารณรัฐมอลโดวา ๔๔. สาธารณรัฐมาลี ๔๕. สาธารณรัฐยูกันดา ๔๖. สาธารณรัฐลัตเวีย ๔๗. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลงกา ั ๔๘. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ๔๙. สาธารณรัฐอาร์เจนตินา ๕๐. สาธารณรัฐอาร์เมเนีย ๕๑. สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย ๕๒. สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ ๕๓. สาธารณรัฐอิรัก ๕๔. สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ๕๕. สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย ๕๖. สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ๕๗. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน ๕๘. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ประเภท ค.ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมืองอื่นๆ นอกจากที่กําหนดในประเภท ก. ประภท ข. ประเภท ง. และประเภท จ. ประเภท ง.ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ ๑. ญี่ปุ่น ๒. สาธารณรัฐฝรังเศส ่
  • 18. 18 ๓. สหพันธรัฐรัสเซีย ๔. สมาพันธรัฐสวิส ๕. สาธารณรัฐอิตาลี ประเภท จ ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ ๑. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ๒. ราชอาณาจักรสเปน ๓. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ๔. สหรัฐอเมริกา ๕. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ๖. สาธารณรัฐโปรตุเกส ๗. สาธารณรัฐสิงคโปร์
  • 19. 19 อัตราการจ่าย ตามคําสั่งกองทัพไทย ที่ 64/2554 เรื่อง มาตรการประหยัดงบประมาณ อัตราค่าเช่าที่พักในต่างประเทศ ข้าราชการ ห้องพัก ประเภท ประเภท ประเภท ก. ข. ค. 1. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. , น.อ. หรือ เดี่ยว5,250 3,500 2,170 ข้าราชการระดับ 8 ลงมา คู่ 3,675 2,450 1,519 2. ข้าราชการทหาร ยศ พ.อ. น.อ. พิเศษ หรือ ข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป เดี่ยว 7,000 4,900 3,150 ประเทศที่มีสทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้น จากประเภท ก. ตามมาตรการประหยัดงบประมาณ อีกไม่เกินร้อยละ สี่สิบ ิ ได้แก่ ญี่ปุ่น ,สาธารณรัฐฝรั่งเศส , สหพันธรัฐรัสเซีย , สมาพันธรัฐสวิส และ สาธารณรัฐอิตาลี ประเทศที่มีสทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้น จากประเภท ก. ตามมาตรการประหยัดงบประมาณ อีกไม่เกินร้อยละ ยี่สิบ ิ ห้า ได้แก่ ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม , ราชอาณาจักรสเปน , สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี , สหรัฐอเมริกา , สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ , สาธารณรัฐโปรตุเกส และสาธารณรัฐสิงคโปร์ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจําต่างประเทศ ข้าราชการที่เดินทางไปราชการประจําในต่างประเทศ สามารถเบิกค่าใช้จ่ายได้ดังนี้ - ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าเครื่องแต่งกาย - ค่าใช้จายในการย้ายถิ่นที่อยู่ ่ เหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกัน 1.1 ต่างเพศกัน ซึ่งมิได้เป็นคู่สมรส 1.2 หัวหน้าคณะระดับ 8 (พ.อ.) 1.3 หัวหน้าสํานักงานหรือหัวหน้าหน่วยงานระดับ 7 - 8 ไม่ต้องพักรวมกับระดับอื่นที่มิใช่ หัวหน้าระดับ 7 - 8 ด้วยกัน 1.4 สิทธิเบิกค่าเช่าที่พักต่างอัตรากัน ให้พักรวมกันเฉพาะในกลุ่มของตน (ระดับ 1 - 2 และ ระดับ 3 - 8) 1.5 กรณีข้าราชการทหารหรือข้าราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตร ไม่ต้องพักรวมกับข้าราชการ ทหารหรือข้าราชการตํารวจชั้นประทวน เช่น ข้าราชการทหารยศพันตรี ไปราชการกับข้าราชการทหารยศสิบเอก พันตรี พักห้องเดี่ยว 1 ห้อง เบิกได้เต็มจํานวน แต่ไม่เกินสิทธิ สิบเอก พักห้องเดี่ยว 1 ห้อง เบิกได้เต็มจํานวน แต่ไม่เกินสิทธิ
  • 20. 20 กรณีมีเหตุจําเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ 1. เป็นโรคติดต่ออันตรายต่อผู้พักร่วมด้วย 2. สมัครใจแยกพักฝ่ายเดียว หมายเหตุ 1. ประเทศที่มสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก ไม่เกินร้อย 40 ี - ญี่ปุ่น - สาธารณรัฐฝรั่งเศส - สหพันธรัฐรัสเซีย - สมาพันธรัฐสวิส - สาธารณรัฐอิตาลี 2. ประเทศที่มสิทธิเบิกค่าเช่าที่พักเพิ่มขึ้นจากประเภท ก. อีกไม่เกินร้อยละ 25 ได้แก่ ี 1. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 2. ราชอาณาจักรสเปน 3. สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี 4. สหรัฐอเมริกา 5. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ 6. สาธารณรัฐโปรตุเกส 7. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ข้อห้าม มิให้เบิกค่าเช่าที่พัก 1. พักในยานพาหนะ 2. ทางราชการจัดที่พักให้ การเบิกค่าเช่าที่พักในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ในกรณีเดินทางเป็นหมู่คณะให้เบิก ดังนี้ 1. ระดับ 8 ลงมา (พ.อ., น.อ.) ลงมา ให้พกแรมรวมกัน 2 คน ต่อ 1 ห้อง ให้เบิกค่าเช่าที่พัก ั ได้เท่าที่จ่ายจริง 2. ระดับ 9 ขึนไป (พ.อ., น.อ.) พิเศษ ขึ้นไป ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราค่าเช่า ้ ห้องพักคนเดียว 3. ระดับ 10 ขึ้นไป ซึ่งเห็น หน.คณะหากจําเป็นต้องใช้สถานที่เพื่อเป็นที่ติดต่อประสานงาน ให้เช่าที่พักเพิ่มได้ อีก 1 ห้อง ในอัตราห้องพักคนเดียว หรือจะเบิกค่าเช่าห้องชุดก็ได้ แต่ ทั้งนี้ต้องมีอัตราไม่เกิน 2 เท่าของอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียว ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า ก่อนเริ่มปฏิบัติราชการ เพราะ ี่ เหตุสวนตัว ตามมาตรา 8/1 และมีเหตุจําเป็นต้องพักแรมในท้องที่ที่ปฏิบัติราชการก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการ ให้เบิกค่า ่ เช่าที่พักก่อนวันเริ่มปฏิบัติราชการดังกล่าวได้ ไม่เกิน 1 วัน
  • 21. 21 ค่าพาหนะ ค่าพาหนะ หมายถึง ค่าโดยสาร, ค่าเช่ายานพาหนะ, ค่าเชื้อเพลิง, ค่าระวางบรรทุก, ค่าจ้างคนหาบ หามสิ่งของของผู้เดินทาง ความหมายของยานพาหนะประจําทาง - ให้บริการทั่วไปเป็นประจํา - เส้นทางแน่นอน - ค่าโดยสาร + ค่าระวางแน่นอน การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว โดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจําทางและให้เบิกค่าพาหนะ ได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจําทางหรือมีแต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะอื่นได้ แต่ผ้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจําเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะนั้น ู ในกรณีทผ้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับท้องที่ตั้ง ี่ ู สํานักงานปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุส่วนตัว ตามมาตรา 8/1 ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง ตามเส้นทางที่ได้รับคําสั่งให้เดินทางไปราชการ กรณีทมีการเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลานั้นให้เบิกค่าพาหนะได้ ี่ เท่าที่จ่ายจริงโดยไม่เกินอัตราตามเส้นทางที่ได้รบคําสั่งให้เดินทางไปราชการ ั การเบิกค่าพาหนะภายในของต่างประเทศ ให้เบิกจ่ายได้เท่าทีจ่ายจริง โดยมิต้องตกลงกระทรวงการคลัง ่ ค่าเครื่องบิน การเดินทางไปราชการต่างประเทศโดยเครื่องบินจากประเทศไทยไปต่างประเทศหรือจากต่างประเทศ กลับประเทศไทย หรือการเดินทางในต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. ชั้นหนึ่งสําหรับผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ (ก) หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล (ข) ประธานศาลฎีกา และรองประธานศาลฎีกา (ค) ประธานรัฐสภา และรองประธานรัฐสภา (ง) ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา (จ) ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ฉ) รัฐมนตรี (ช) ผู้ดํารงตําแหน่งระดับ ๑๐ ขึ้นไป (พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต.) ขึ้นไป 2. ชั้นธุรกิจ สําหรับระดับ 9 (พ.อ., น.อ.) พิเศษ 3. ชั้นประหยัด สําหรับระดับ 8 ลงมา (พ.อ., น.อ.) ลงมา ในกรณีที่เครื่องบินที่ใช้ในการเดินทางไม่มีชั้นระหว่างชั้นหนึ่งกับชั้นประหยัดหรือชั้นต่ําสุดให้ผู้ดํารงตําแหน่ง ระดับ 9 (พ.อ., น.อ.) พิเศษ เดินทางโดยชั้นหนึ่ง ในการเดินทางไปราชการเพื่อรับเสด็จ ตามเสด็จ หรือส่งเสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หากที่นงโดยสารในชั้นที่ ั่ กําหนดสําหรับผู้ดํารงตําแหน่งระดับ 8,9 (น.อ., พ.อ.) พิเศษ ลงมาเต็มและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินได้ ให้ผู้ดํารง ตําแหน่งที่เดินทางดังกล่าวสามารถเดินทางและเบิกค่าโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้ โดยต้องได้รับอนุมัติจาก ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัด สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มีปลัดกระทรวงให้ผ้บังคับบัญชาที่มีอํานาจเช่นเดียวกับปลัดกระทรวง ู เป็นผู้อนุมติ ั
  • 22. 22 ในกรณีทผู้เดินทางไปราชการมีความจําเป็นต้องโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิจะเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน ี่ นั้นในชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง กรณีทําหน้าที่เลขานุการ ผู้เดินทางไปราชการต่างประเทศในหน้าที่เลขานุการกับผู้บังคับบัญชาซึ่งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล หรือซึ่ง ดํารงตําแห่งประธานศาลฎีกา ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานศาลอุทธรณ์ รอง ประธานศาลฎีกา รองประธานรัฐสภา รองประธานวุฒิสภา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือรัฐมนตรี ให้เบิกค่า พาหนะได้เท่ากับที่ผู้บังคับบัญชามีสิทธิเบิกและให้พักแรมในที่เดียวกับผู้บังคับบัญชา โดยเบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง ตามสิทธิที่ตนเองได้รบหรือเบิกในอัตราต่ําสุดของที่พักนั้น แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า ั ค่ารับรองในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ให้ผเู้ ดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวเบิกค่ารับรองในการเดินทางไปราชการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ผู้เดินทางซึ่งดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ให้เบิกเงินค่ารับรองได้เท่าที่จ่ายจริง (ก) ประธานองคมนตรี หรือองคมนตรี (ข) นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี (ค) ประธาน หรือรองประธานของสภาซึ่งเป็นองค์กรนิติบัญญัติ (ง) ประธาน ศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา หรือประธานศาลอุทธรณ์ (๒) ผู้เดินทางนอกจาที่กล่าวใน (๑) ให้เบิกค่ารับรองได้เท่าที่จ่ายจริง ทั้งในกรณีเดินทางไปราชการเป็นคณะ หรือเดินทางไปราชการคนเดียว ไม่เกินอัตรา ดังต่อไปนื้ (ก) กรณีเดินทางไม่เกิน ๑๕ วัน จ่ายรวมกันทั้งคณะ ไม่เกิน ๖๗,๐๐๐ บาท (ข) กรณีเดินทางเกิน ๑๕ วัน แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน จ่ายรวมกันทั้งคณะ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (๓) การเดินทางไปราชการที่จะเบิกค่ารับรองตาม (๒) ได้ ต้องเป็นการเดินทางกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) เป็นผู้เดินทางไปเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศในฐานะผู้แทนรัฐบาล ผู้แทนรัฐสภาหรือผู้แทน ส่วนราชการ แต่ไม่รวมถึงการประชุมหรือการสัมมนาทางวิชาการ (ข) เป็นผู้เดินทางไปเจรจาธุรกิจ เจรจากู้เงินหรือขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในฐานะผู้แทน รัฐบาลไทย (ค) เป็นผู้เดินทางไปปรึกษาหารือหรือเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของ รัฐบาลไทยกับหน่วยงานต่างประเทศ (ง) เป็นผู้เดินทางไปเยือนต่างประเทศในฐานะทูตสันถวไมตรีหรือในฐานะแขกของรัฐบาลต่างประเทศ (จ) เป็นผู้เดินทางไปร่วมในงานรัฐพิธีตามคําเชิญของรัฐบาลต่างประเทศ (ฉ) เป็นผู้เดินทางไปจัดงานแสดงสินค้าไทย หรือส่งเสริมสินค้าไทยในต่างประเทศหรือส่งเสริมการ ลงทุนของต่างประเทศในประเทศไทย หรือส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ (ช) เป็นผู้เดินทางไปเผยแพร่ศิลปะหรือวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ