SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
การน้ อมนาหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                   สู่
               สถานศึกษา
องค์ ประกอบของหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
  หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  มี ๕ องค์ประกอบดังนี้
๑. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนวทางการดารงอยู่
  และปฏิบติตนในทางที่ ควรจะเป็ นโดยมีพ้ืนฐานมา
            ั
  จากวิถีชีวตดั้งเดิมของ สังคมไทย สามารถนามา
              ิ
  ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิง
  ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุ่งเน้นการ
                             ่
  รอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมันคง และ
                                    ่
  ความยังยืน ของการพัฒนา
         ่
                                                4
๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ
                 ั
 นามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ใน
                           ั
 ทุกระดับโดยเน้นการปฏิบติบน ทางสาย
                       ั
 กลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน


                                     5
๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย
 ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้
  – ความพอประมาณ
  – ความมีเหตุผล
  – การสร้างภูมิคุมกันในตัวเองที่ดี
                  ้

                                         6
ความพอประมาณ
• หมายถึง การจะทาอะไรมีความพอดี พอเหมาะ
 พอควรต่อความจาเป็ น เหมาะสมกับฐานะตนเอง
 สภาวะสังคม สิ่ งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่
 ละท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรในการดาเนินการต้อง
 ให้พอประมาณ ไม่มากเกินศักยภาพ จาเป็ นต้อง
 อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ ในการวางแผน
                        ่
 และตัดสิ นใจ และต้องอยูบนพื้นฐานของคุณธรรม
                                                7
ความมีเหตุผล
• หมายถึง การตัดสิ นใจดาเนินการต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล
  ครบวงจร บนพื้นบานของความถูกต้อง ความเป็ นจริ ง
  ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมายหลักศีลธรรม จริ ยธรรม
  และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่
  เกี่ยวข้อง ผลที่คาดว่าจะเกิดจากการกระทานั้น ๆ ทั้งต่อ
  ตนเอง ผูอื่นและส่ วนรวม อย่างรอบคอบการคิดพิจารณา
            ้
  แยกแยะ จะช่วยให้บรรลุเป้ าหมายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
  มีขอผิดพลาดน้อย
       ้
                                                          8
การสร้างภูมิคุมกันในตัวเองที่ดี
              ้
• หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบ และการ
                              ่
  เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นด้านเศรษฐกิจ
  สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถ
  ปรับตัวและรับมือได้อย่างทันท่วงที ไม่เสี่ ยงเกินไป ไม่
  ประมาททางาน เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  โดยไม่ขลุกขลักต้องหยุดชะงักกลางคัน และนามาซึ่ ง
  ผลประโยชน์ในระยะยาว และสุ ขที่ยงยืน่ั
                                                       9
๔. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิน
                     ่
 กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น
 ต้องอาศัยทั้งคุณธรรม และความรู ้เป็ นพื้นฐาน
 กล่าวคือ


                                                10
• เงือนไขความรู้ ประกอบด้วยการฝึ กตนให้มี
     ่
  ความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง
  รอบด้าน มีความรอบคอบและระมัดระวังที่จะ
  นาความรู ้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้
  เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและใน
  ขั้นปฏิบติั
                                                      11
• เงือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างให้เป็ น
     ่
  พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้าน
  จิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผดชอบชัวดี
                                         ิ      ่
  ซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้สติปัญญาให้ถูกต้องและเหมาะสม
  ในการดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คือมีความ
  ขยันหมันเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี่รู้จก
           ่                                  ั
  แบ่งปัน และรับผิดชอบในการอยูร่วมกับผูอื่นใน
                                    ่       ้
  สังคม
                                                12
13
• ๕. แนวทางปฏิบัติ                  ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการนาปรัชญาของ
      เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อการ
                                                                 ่
      เปลี่ยนแปลงทุกมิติ ทั้งวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม
• สรุ ป เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่เป็ นทั้งแนวคิด หลักการและแนวทางปฏิบติตน     ั
  ของแต่ละบุคคล และองค์กร โดยคานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และ
  สภาวะแวดล้อมเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ โดยอาศัยความมีเหตุผล และการมีภมิคุมกัน      ู ้
  ที่ดีในตัวเองโดยใช้ความรู ้อย่างถูกหลักวิชาด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไป
  กับการมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์สุจริ ต ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปั น ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน และ
  ร่ วมมือปรองดองในสังคม ซึ่ งจะช่วยเสริ มสร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่ วนต่างๆของ
  สังคมเข้าด้วยกัน สร้างพลังทางบวกนาไปสู่ ความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลยังยืน พร้อม
                                                                                 ่
  รับต่อการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวตน์ได้    ั

    8/1/2012                            Free template from                            14
                                       www.brainybetty.com
แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• หลักพอเพียงเป็ นหลักการดาเนินชีวิตตามแนวทางสายกลาง
  ที่ไม่สุดโต่งไปข้างใดข้างหนึ่งเป็ นวิธีที่เน้นการรักษาความสมดุล
  ในการปฏิบติภารกิจต่าง ๆ บนพื้นฐานของความเป็ นจริ ง และ
               ั
  ความถูกต้องอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล และไม่ประมาทไม่เสี่ ยง เป็ น
                                                         ่
  หลักการที่สอดคล้องกับวิถีด้ งเดิมของสังคมไทยซึ่ งอยูบนหลัก
                                ั
  คาสอนของพระพุทธศาสนา อันเป็ นคาสอนที่สากล ทันสมัย
  ตลอดเวลา เพราะเป็ นคาสอนที่ทุกคนสามารถนาเอาไปปฏิบติ         ั
  ได้ เพื่อให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และสามารถนามาประยุกต์ใช้
  ได้ในปั จจุบนกับการปฏิบติตนของประชาชนทุกระดับ
                 ั            ั
                                                                15
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
• การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร ตัวอย่าง
  ภาคปฏิบติที่รู้จกกันแพร่ หลายของเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่
          ั       ั
  เกษตรทฤษฎีใหม่ ที่เน้นการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอนโดยเริ่ มจาก
  การสร้างความมันคงพื้นฐานในระดับครัวเรื อนให้สามารถพึ่งพา
                    ่
  ตนเองได้ในระดับหนึ่งก่อน เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว
  พระราชดาริ เป็ นตัวอย่างที่ชดเจนของการบริ หารจัดการ
                              ั
  ทรัพยากร ดิน น้ า อย่างคุมค่าโดยอาศัยหลักการรักษาสมดุล
                            ้
                                              ่
  ทางธรรมชาติ เพื่อให้ครอบครัวเกษตรกรพออยูพอกินได้อย่าง
  มันคง
    ่
                                                           16
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคล/ครอบครัว
• เริ่ มต้นจากการเรี ยนรู ้วิชาการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ น เพื่อให้สามารถ
  รู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ พร้อมทั้งเสริ มสร้างคุณธรรม จนมี
  ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยูร่วมกันของคนในสังคม
                                               ่
  และอยูร่วมกับระบบนิเวศวิทยาที่สมดุล เพื่อจะได้มีความเกรงกลัวและ
              ่
  ละอายต่อการประพฤติผดมิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็ นผูให้เกื้อกูลแบ่งปัน
                              ิ                        ้
  มีสติย้งคิดรอบคอบ ก่อนที่จะตัดสิ นใจทาการต่าง ๆ จนกระทังเกิด
            ั                                                      ่
  ภูมิคุมกันที่ดีในการดารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทาบนพื้นฐาน
          ้
  ของความมีเหตุผล พอเหมาะพอประมาณกับสถานภาพ บทบาทหน้าที่
  ของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์

                                                                         17
สรุ ปดังแผนภาพต่อไปนี้




8/1/2012           Free template from   18
                  www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                  ่
                       สู่ สถานศึกษาพอเพียง
• ๑.ด้านการบริ หารจัดการศึกษาภายในสถานศึกษา
 ๑)ทบทวน ปรับปรุ งพัฒนาโครงสร้าง กระบวนการบริ หารจัดการ
 ๒)กาหนดวิสยทัศน์ นโยบายแผนงาน โครงการ
             ั
 ๓)พัฒนาความรู ้บุคลากร
 ๔)จัดระบบการนิเทศภายในสถานศึกษา
 ๕)จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม
 ๖)การมีส่วนร่ วมของผูปกครองและชุมชน
                      ้

  8/1/2012                   Free template from           19
                            www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                 ่
                      สู่ สถานศึกษาพอเพียง
• ๒.ด้ านพัฒนาหลักสู ตร

 ๑)ปรับวิสัยทัศน์เป้ าหมายของหลักสูตร
 ๒)ทบทวนสาระการเรี ยนรู้ท้ ง ๘ สาระการเรี ยนรู้และกิจกรรม
                            ั
   พัฒนาผูเ้ รี ยนทุกชั้นปี
 ๓)จัดทาสาระการเรี ยนรู้หน่วยการเรี ยนรู ้ แผนการจัดการเรี ยนรู้


 8/1/2012                    Free template from                    20
                            www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                               ่
                    สู่ สถานศึกษาพอเพียง
 • ๓.การจัดการเรี ยนการสอน
 ๑)จัดกิจกรรมเน้นทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์
 ๒)จัดกระบวนการเรี ยนรู ้เน้นปฏิบติจริ ง ทดลองศึกษาแหล่งเรี ยนรู้
                                 ั
 ๓)วัด ประเมินผลอย่างครอบคลุมตามสภาพจริ ง
 ๔)จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม
 ๕)ชุมชนมีส่วนร่ วม
 ๖)ติดตามประเมินผล
 8/1/2012                    Free template from                     21
                            www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                 ่
                      สู่ สถานศึกษาพอเพียง
    ๔.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
     เศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ๓ ลักษณะ ดังนี้
 ๑)กิจกรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
 ๒)กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญ
                                                 ้
     ประโยชน์ ชุมนุม ชมรม
 ๓)กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์
 8/1/2012                Free template from                22
                        www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                               ่
                    สู่ สถานศึกษาพอเพียง
 ๕. การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
 ๑)ติดตามประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
    การปฏิบัติตนในชีวตประจาวันของผู้เรียน ผลการประเมินโดย สมศ.
                       ิ
 ๒)ประเมินความเหมาะสมการดาเนินการกระบวนการขั้นตอน การ
 บูรณาการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านการพัฒนาหลักสู ตร
    ด้ านการจัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม บริหารจัดการ การมีส่วน
    ร่ วมของชุ มชน และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียน

 8/1/2012                   Free template from                23
                           www.brainybetty.com
ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                 ่
                     สู่ สถานศึกษาพอเพียง
      ๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
     ๑)ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนอยู่อย่ าง
     พอเพียงในการดาเนินชีวตด้ วยการ มีความรู้ ความเข้ าใจปรัชญา
                             ิ
     ของเศรษฐกิจพอเพียงตระหนักในความสาคัญของการดาเนิน
     ชีวต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ หลักปรัชญา
         ิ
     ของเศรษฐกิจพอเพียงเพือพัฒนาตนเอง พัฒนาองค์ กร พัฒนา
                               ่
     สั งคม
 8/1/2012                   Free template from                24
                           www.brainybetty.com
๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
๒)มีความรู ้และทักษะพื้นฐานในการดาเนินชีวตตามหลักปรัชญาของ
                                           ิ
เศรษฐกิจพอเพียง
   - มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวตและการพัฒนาอาชีพ
                                             ิ
   - ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมให้คุมค่า ได้ประโยชน์
                                               ้
      สูงสุ ดและมีความยังยืน
                        ่
   - มีทกษะ และเห็นคุณค่าของการอยูร่วมกับผูอื่นในสังคม
          ั                           ่          ้
      อย่างไม่เบียดเบียนกัน มีความสงบสุ ข และรู้รักสามัคคี
   - สื บสาน และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดี
      รักและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย
 8/1/2012                Free template from              25
                        www.brainybetty.com
๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
๓)ปฏิบติตนและดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
        ั
          ั               ั                      ่
  - รู ้จกประมาณตน รู ้จกศักยภาพของตนที่มีอยูตามความเป็ นจริ ง
  - ปฏิบติตนอย่างมีเหตุผล โดยใช้สติ ความรอบรู ้ รอบครอบ
              ั
  - มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
                ้
    ด้านต่าง ๆ ทาอะไรไม่เสี่ ยง ไม่ประมาท
  - มีความรอบรู ้ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง สามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่าง
    เป็ นระบบ และปฏิบติดวยความรอบครอบ ระมัดระวัง
                            ั ้
  - ปฏิบติตนและดาเนินชีวิต ด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ขยัน อดทน
            ั
    เพียรพยายาม แบ่งปัน มีสติปัญญา มีวินย พึ่งพาตนเอง เอื้อเฟื้ อ
                                              ั
    เผื่อแผ่ รับผิดชอบ และอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข
                                   ่      ้
 8/1/2012                     Free template from                     26
                             www.brainybetty.com
สิ่ งที่ต้องทาเมื่อกลับไปถึงโรงเรียน
• ๑. ดาเนินการขับเคลื่อนตามขั้นตอน
• ๒. รายงานการจัดกิจกรรมที่เด่นชัดที่สุด ๑ กิจกรรม
       วันที่ 1 สิ งหาคม 54
• ตามแบบฟอร์ม พร้อมแนบภาพบันทึกลงแผ่น
• ๓.ส่ งโครงงานร่ วมประกวดในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้
  จาแนกเป็ นช่วงชั้นในเดือน สิ งหาคม
• ๔.สร้างเครื อข่ายการขับเคลื่อนไปยังโรงเรี ยนอื่นๆ
8/1/2012                 Free template from           27
                        www.brainybetty.com
กิจกรรมพัฒนาทักษะการดารงชีวิตทีมีคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                   ่
           โรงเรียน...................กลุ่มโรงเรียน........อาเภอ......
                        จานวนนักเรียนทั้งหมด.......คน
          จานวนนักเรียนทีได้ รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตทีมีคุณภาพ
                          ่                                   ่
               ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ........ คน

       กิจกรรมสาคัญทีโรงเรียนดาเนินการเรียงตามลาดับความสาคัญ
                                  ่
...1.............................................................................................................
....2............................................................................................................
...3.............................................................................................................
.................................................................................................................
                                                                ผู้ให้ ข้อมูล .............................
                                                                 (............................................)
8/1/2012                                         Free template from                                                 28
                                                www.brainybetty.com

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 

Tendances (19)

เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
002
002002
002
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 

En vedette

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงthekop2528
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 

En vedette (7)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

Similaire à เศรษฐกิจพอเพียง (20)

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 2.
  • 3. องค์ ประกอบของหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี ๕ องค์ประกอบดังนี้
  • 4. ๑. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบติตนในทางที่ ควรจะเป็ นโดยมีพ้ืนฐานมา ั จากวิถีชีวตดั้งเดิมของ สังคมไทย สามารถนามา ิ ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุ่งเน้นการ ่ รอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมันคง และ ่ ความยังยืน ของการพัฒนา ่ 4
  • 5. ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ ั นามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ใน ั ทุกระดับโดยเน้นการปฏิบติบน ทางสาย ั กลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน 5
  • 6. ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ – ความพอประมาณ – ความมีเหตุผล – การสร้างภูมิคุมกันในตัวเองที่ดี ้ 6
  • 7. ความพอประมาณ • หมายถึง การจะทาอะไรมีความพอดี พอเหมาะ พอควรต่อความจาเป็ น เหมาะสมกับฐานะตนเอง สภาวะสังคม สิ่ งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ ละท้องถิ่น การใช้ทรัพยากรในการดาเนินการต้อง ให้พอประมาณ ไม่มากเกินศักยภาพ จาเป็ นต้อง อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ ในการวางแผน ่ และตัดสิ นใจ และต้องอยูบนพื้นฐานของคุณธรรม 7
  • 8. ความมีเหตุผล • หมายถึง การตัดสิ นใจดาเนินการต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล ครบวงจร บนพื้นบานของความถูกต้อง ความเป็ นจริ ง ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมายหลักศีลธรรม จริ ยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง ผลที่คาดว่าจะเกิดจากการกระทานั้น ๆ ทั้งต่อ ตนเอง ผูอื่นและส่ วนรวม อย่างรอบคอบการคิดพิจารณา ้ แยกแยะ จะช่วยให้บรรลุเป้ าหมายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีขอผิดพลาดน้อย ้ 8
  • 9. การสร้างภูมิคุมกันในตัวเองที่ดี ้ • หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบ และการ ่ เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถ ปรับตัวและรับมือได้อย่างทันท่วงที ไม่เสี่ ยงเกินไป ไม่ ประมาททางาน เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยไม่ขลุกขลักต้องหยุดชะงักกลางคัน และนามาซึ่ ง ผลประโยชน์ในระยะยาว และสุ ขที่ยงยืน่ั 9
  • 10. ๔. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิน ่ กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งคุณธรรม และความรู ้เป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ 10
  • 11. • เงือนไขความรู้ ประกอบด้วยการฝึ กตนให้มี ่ ความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน มีความรอบคอบและระมัดระวังที่จะ นาความรู ้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและใน ขั้นปฏิบติั 11
  • 12. • เงือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างให้เป็ น ่ พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้าน จิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รู้ผดชอบชัวดี ิ ่ ซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้สติปัญญาให้ถูกต้องและเหมาะสม ในการดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คือมีความ ขยันหมันเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี่รู้จก ่ ั แบ่งปัน และรับผิดชอบในการอยูร่วมกับผูอื่นใน ่ ้ สังคม 12
  • 13. 13
  • 14. • ๕. แนวทางปฏิบัติ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการนาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยังยืน พร้อมรับต่อการ ่ เปลี่ยนแปลงทุกมิติ ทั้งวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม • สรุ ป เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่เป็ นทั้งแนวคิด หลักการและแนวทางปฏิบติตน ั ของแต่ละบุคคล และองค์กร โดยคานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และ สภาวะแวดล้อมเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ โดยอาศัยความมีเหตุผล และการมีภมิคุมกัน ู ้ ที่ดีในตัวเองโดยใช้ความรู ้อย่างถูกหลักวิชาด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไป กับการมีคุณธรรม ซื่ อสัตย์สุจริ ต ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปั น ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน และ ร่ วมมือปรองดองในสังคม ซึ่ งจะช่วยเสริ มสร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่ วนต่างๆของ สังคมเข้าด้วยกัน สร้างพลังทางบวกนาไปสู่ ความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลยังยืน พร้อม ่ รับต่อการเปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวตน์ได้ ั 8/1/2012 Free template from 14 www.brainybetty.com
  • 15. แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • หลักพอเพียงเป็ นหลักการดาเนินชีวิตตามแนวทางสายกลาง ที่ไม่สุดโต่งไปข้างใดข้างหนึ่งเป็ นวิธีที่เน้นการรักษาความสมดุล ในการปฏิบติภารกิจต่าง ๆ บนพื้นฐานของความเป็ นจริ ง และ ั ความถูกต้องอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล และไม่ประมาทไม่เสี่ ยง เป็ น ่ หลักการที่สอดคล้องกับวิถีด้ งเดิมของสังคมไทยซึ่ งอยูบนหลัก ั คาสอนของพระพุทธศาสนา อันเป็ นคาสอนที่สากล ทันสมัย ตลอดเวลา เพราะเป็ นคาสอนที่ทุกคนสามารถนาเอาไปปฏิบติ ั ได้ เพื่อให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ ได้ในปั จจุบนกับการปฏิบติตนของประชาชนทุกระดับ ั ั 15
  • 16. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง • การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร ตัวอย่าง ภาคปฏิบติที่รู้จกกันแพร่ หลายของเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ ั ั เกษตรทฤษฎีใหม่ ที่เน้นการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอนโดยเริ่ มจาก การสร้างความมันคงพื้นฐานในระดับครัวเรื อนให้สามารถพึ่งพา ่ ตนเองได้ในระดับหนึ่งก่อน เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดาริ เป็ นตัวอย่างที่ชดเจนของการบริ หารจัดการ ั ทรัพยากร ดิน น้ า อย่างคุมค่าโดยอาศัยหลักการรักษาสมดุล ้ ่ ทางธรรมชาติ เพื่อให้ครอบครัวเกษตรกรพออยูพอกินได้อย่าง มันคง ่ 16
  • 17. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคล/ครอบครัว • เริ่ มต้นจากการเรี ยนรู ้วิชาการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ น เพื่อให้สามารถ รู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ พร้อมทั้งเสริ มสร้างคุณธรรม จนมี ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยูร่วมกันของคนในสังคม ่ และอยูร่วมกับระบบนิเวศวิทยาที่สมดุล เพื่อจะได้มีความเกรงกลัวและ ่ ละอายต่อการประพฤติผดมิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็ นผูให้เกื้อกูลแบ่งปัน ิ ้ มีสติย้งคิดรอบคอบ ก่อนที่จะตัดสิ นใจทาการต่าง ๆ จนกระทังเกิด ั ่ ภูมิคุมกันที่ดีในการดารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทาบนพื้นฐาน ้ ของความมีเหตุผล พอเหมาะพอประมาณกับสถานภาพ บทบาทหน้าที่ ของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์ 17
  • 19. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง • ๑.ด้านการบริ หารจัดการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑)ทบทวน ปรับปรุ งพัฒนาโครงสร้าง กระบวนการบริ หารจัดการ ๒)กาหนดวิสยทัศน์ นโยบายแผนงาน โครงการ ั ๓)พัฒนาความรู ้บุคลากร ๔)จัดระบบการนิเทศภายในสถานศึกษา ๕)จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ๖)การมีส่วนร่ วมของผูปกครองและชุมชน ้ 8/1/2012 Free template from 19 www.brainybetty.com
  • 20. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง • ๒.ด้ านพัฒนาหลักสู ตร ๑)ปรับวิสัยทัศน์เป้ าหมายของหลักสูตร ๒)ทบทวนสาระการเรี ยนรู้ท้ ง ๘ สาระการเรี ยนรู้และกิจกรรม ั พัฒนาผูเ้ รี ยนทุกชั้นปี ๓)จัดทาสาระการเรี ยนรู้หน่วยการเรี ยนรู ้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ 8/1/2012 Free template from 20 www.brainybetty.com
  • 21. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง • ๓.การจัดการเรี ยนการสอน ๑)จัดกิจกรรมเน้นทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ ๒)จัดกระบวนการเรี ยนรู ้เน้นปฏิบติจริ ง ทดลองศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ ั ๓)วัด ประเมินผลอย่างครอบคลุมตามสภาพจริ ง ๔)จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ๕)ชุมชนมีส่วนร่ วม ๖)ติดตามประเมินผล 8/1/2012 Free template from 21 www.brainybetty.com
  • 22. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง ๔.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑)กิจกรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ๒)กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญ ้ ประโยชน์ ชุมนุม ชมรม ๓)กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณะประโยชน์ 8/1/2012 Free template from 22 www.brainybetty.com
  • 23. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง ๕. การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ๑)ติดตามประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน การปฏิบัติตนในชีวตประจาวันของผู้เรียน ผลการประเมินโดย สมศ. ิ ๒)ประเมินความเหมาะสมการดาเนินการกระบวนการขั้นตอน การ บูรณาการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้ านการพัฒนาหลักสู ตร ด้ านการจัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม บริหารจัดการ การมีส่วน ร่ วมของชุ มชน และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียน 8/1/2012 Free template from 23 www.brainybetty.com
  • 24. ขั้นตอนและวิธีดาเนินงานขับเคลือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ สู่ สถานศึกษาพอเพียง ๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ๑)ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนอยู่อย่ าง พอเพียงในการดาเนินชีวตด้ วยการ มีความรู้ ความเข้ าใจปรัชญา ิ ของเศรษฐกิจพอเพียงตระหนักในความสาคัญของการดาเนิน ชีวต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ หลักปรัชญา ิ ของเศรษฐกิจพอเพียงเพือพัฒนาตนเอง พัฒนาองค์ กร พัฒนา ่ สั งคม 8/1/2012 Free template from 24 www.brainybetty.com
  • 25. ๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ๒)มีความรู ้และทักษะพื้นฐานในการดาเนินชีวตตามหลักปรัชญาของ ิ เศรษฐกิจพอเพียง - มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวตและการพัฒนาอาชีพ ิ - ใช้และพัฒนาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมให้คุมค่า ได้ประโยชน์ ้ สูงสุ ดและมีความยังยืน ่ - มีทกษะ และเห็นคุณค่าของการอยูร่วมกับผูอื่นในสังคม ั ่ ้ อย่างไม่เบียดเบียนกัน มีความสงบสุ ข และรู้รักสามัคคี - สื บสาน และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดี รักและภาคภูมิใจในความเป็ นไทย 8/1/2012 Free template from 25 www.brainybetty.com
  • 26. ๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ๓)ปฏิบติตนและดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ั ั ั ่ - รู ้จกประมาณตน รู ้จกศักยภาพของตนที่มีอยูตามความเป็ นจริ ง - ปฏิบติตนอย่างมีเหตุผล โดยใช้สติ ความรอบรู ้ รอบครอบ ั - มีภูมิคุมกันที่ดีในตัว พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ้ ด้านต่าง ๆ ทาอะไรไม่เสี่ ยง ไม่ประมาท - มีความรอบรู ้ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง สามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่าง เป็ นระบบ และปฏิบติดวยความรอบครอบ ระมัดระวัง ั ้ - ปฏิบติตนและดาเนินชีวิต ด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ขยัน อดทน ั เพียรพยายาม แบ่งปัน มีสติปัญญา มีวินย พึ่งพาตนเอง เอื้อเฟื้ อ ั เผื่อแผ่ รับผิดชอบ และอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข ่ ้ 8/1/2012 Free template from 26 www.brainybetty.com
  • 27. สิ่ งที่ต้องทาเมื่อกลับไปถึงโรงเรียน • ๑. ดาเนินการขับเคลื่อนตามขั้นตอน • ๒. รายงานการจัดกิจกรรมที่เด่นชัดที่สุด ๑ กิจกรรม วันที่ 1 สิ งหาคม 54 • ตามแบบฟอร์ม พร้อมแนบภาพบันทึกลงแผ่น • ๓.ส่ งโครงงานร่ วมประกวดในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ จาแนกเป็ นช่วงชั้นในเดือน สิ งหาคม • ๔.สร้างเครื อข่ายการขับเคลื่อนไปยังโรงเรี ยนอื่นๆ 8/1/2012 Free template from 27 www.brainybetty.com
  • 28. กิจกรรมพัฒนาทักษะการดารงชีวิตทีมีคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ่ โรงเรียน...................กลุ่มโรงเรียน........อาเภอ...... จานวนนักเรียนทั้งหมด.......คน จานวนนักเรียนทีได้ รับการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตทีมีคุณภาพ ่ ่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ........ คน กิจกรรมสาคัญทีโรงเรียนดาเนินการเรียงตามลาดับความสาคัญ ่ ...1............................................................................................................. ....2............................................................................................................ ...3............................................................................................................. ................................................................................................................. ผู้ให้ ข้อมูล ............................. (............................................) 8/1/2012 Free template from 28 www.brainybetty.com