SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน รหัสวิชา 22101-2404
ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา พณิชยการ
จุดประสงค์รายวิชา
เพื่อให้
1. รู้ความหมายและความสําคัญของโปรแกรมตารางงาน
2. มีทักษะในการป้อนข้อมูล จัดรูปแบบการแสดงผลข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล
3. รู้หลักเกณฑ์ในการนําข้อมูลมาทําการแก้ไข ปรับปรุงได้
4. มีทักษะในการสร้างสูตรและฟังค์ชั่นในการคํานวณ
5. เข้าใจกระบวนการนําข้อมูลมาทําการคํานวณ ตลอดจนทํารายงานในรูปของแผนภูมิ
ชนิดต่าง ๆ
6. รู้หลักการนําข้อมูลในแฟ้มข้อมูลจากออกทางเครื่องพิมพ์
7. มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์
มาตรฐานรายวิชา
1. อธิบายความหมาย หน้าที่ และส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน
2. ปฏิบัติการป้อนและจัดการรูปแบบข้อมูลแต่ละชนิด
3. ทําการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพละเครื่องพิมพ์ (Printer)
4. จัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมาใช้งาน
5. สร้างสูตร และฟังก์ชั่นสําเร็จรูปทางสถิติอย่างง่ายเพื่อใช้ในการคํานวณ
6. จัดทํารายการในรูปแบบของตารางและแผนภูมิ
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ
1. การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน
2. ส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน
3. การป้อนและจัดการรูปแบบข้อมูล
4. การสร้างสูตรและการใช้ฟังค์ชั่นในการคํานวณ
5. การปรับแก้ข้อมูล
6. การจัดการฐานข้อมูลในตารางงาน
7. การออกรายงานในรูปแบบข้อความ และแผนภูมิ
8. การวิเคราะห์ข้อมูล
9. สร้างตารางสรุปสาระสําคัญ (Pivot Table)
10.การสร้างแมโครเบื้องต้น
หน่วยที่ 1 การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน
สาระการเรียนรู้
1.1 ความหมายของโปรแกรมตารางงาน
1.2 โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
1.2.1 Ribbon
1.2.2 การเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
1.2.3 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office
Excel 2007
1.2.4 การทํางานของชุดแท็บเครื่องมือริบบอนของโปรแกรม Microsoft Office
Excel 2007
1.2.5 การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม
1.2.6 การปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือ
1.2.7 การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)
1.2.8 การสร้างเอกสารใหม่
1.2.9 การบันทึกสมุดงาน
1.2.10 การเปิดสมุดงานเก่า
1.2.11 การปิดสมุดงาน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของโปรแกรมตารางงาน
2. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของโปรแกรมตารางงานได้ถูกต้อง
2. สามารถอธิบายถึงลักษณะของ Ribbon ได้ถูกต้อง
3. สามารถเข้าใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007ได้ถูกต้อง
4. อธิบายส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office
Excel 2007ได้ถูกต้อง
5. เลือกใช้แท็บต่าง ๆ บนแถบ Ribbon ได้ถูกต้อง
6. กําหนดภาษาเมนูของโปรแกรมได้ถูกต้อง
7. ปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือได้ถูกต้อง
8. เปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)ได้ถูกต้อง
9. สร้างเอกสารใหม่ได้ถูกต้อง
10.บันทึกสมุดงาน ได้ถูกต้อง
11.เปิดสมุดงานเก่าได้ถูกต้อง
12.ปิดสมุดงานได้ถูกต้อง
หน่วยที่ 1 การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน
สาระสําคัญประจําบท
โปรแกรมตารางงาน หรือ โปรแกรมประเภทสเปรตชีต เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการคํานวณ
โดยเฉพาะตัวเลข จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยํา ทํางานในลักษณะตาราง การแสดง
ผลลัพธ์สามารถกําหนดในรูปแบบต่าง ๆ ได้ อีกทั้งมีระบบการจัดการข้อมูลด้วย โปรแกรมตารางงาน
ที่ใช้กันแพร่หลาย คือ โปรแกรม Calc ในชุดโปรแกรม Open Office และ Microsoft Office Excel
2007 ในชุดโปรแกรม Microsoft Office
1.1 ความหมายของโปรแกรมตารางงาน
โปรแกรมตารางงาน หรือโปรแกรมประเภทสเปรดชีต (Spreadsheet) เป็นโปรแกรมที่
ใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบนแผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียนข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตารางทั้ง
แนวตั้งและแนวนอน ซึ่งช่องตารางแต่ละช่องจะมีชื่อประจําแต่ละช่อง โปรแกรมตารางงานที่ใช้กันใน
ปัจจุบันมีทั้งโปรแกรมที่เป็นฟรีแวร์ และโปรแกรมลิขสิทธิ์ โปรแกรมที่เป็นฟรีแวร์ที่ใช้กันอย่าง
แพร่หลาย คือ ชุดโปรแกรม OpenOffice ซึ่งเป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดย Sun Microsystems, Inc.
ชุดโปรแกรม OpenOffice ประกอบด้วย โปรแกรม Writer (ทํางานในลักษณะการประมวลข้อความ
แก้ไขหน้าเว็บ) โปรแกรม Calc (ทํางานในลักษณะการตารางคํานวณ)โปรแกรม Draw (ทํางานใน
ลักษณะการวาดภาพลายเส้น แผนผัง) โปรแกรม Impress (ทํางานในลักษณะการนําเสนอข้อมูล)
และโปรแกรม Base (ทํางานในลักษณะฐานข้อมูล) ส่วนโปรแกรมลิขสิทธิ์ที่ได้รับความนิยมที่สุดคือ
Microsoft Office ที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ชุดโปรแกรม Microsoft Office ชุดล่าสุดของ
บริษัทไมโครซอฟท์ คือ ชุดโปรแกรม Microsoft Office 2007 ประกอบด้วยโปรแกรมสํานักงานต่าง
ๆที่รู้จักกันดี คือ Microsoft Office Word 2007 Microsoft Office Excel 2007 Microsoft Office
PowerPoint 2007 และ Microsoft Office Outlook 2007 และอีกหลาย ๆ ตัว โปรแกรมตาราง
งาน ในชุดโปรแกรม OpenOffice คือ โปรแกรม Calc และ ในชุดโปรแกรม Microsoft Office
2007 คือ Microsoft Office Excel 2007
1.2 โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
Microsoft Office Excel 2007 เป็นโปรแกรมที่ใช้สําหรับสร้างและทํางานกับข้อมูลใน
รูปของตารางงาน และที่ใช้ในการคํานวณที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน อันเนื่องจาก
ความสามารถที่หลากหลายซึ่งได้แก่ การจัดการข้อมูลในเซลล์ เวิร์กชีต เวิร์กบุ๊ค ตกแต่งข้อมูลและ
ตารางงานด้วยสีพื้น สีเส้น รูปภาพ การบริหารและทํางานกับข้อมูลจํานวนมาก สร้างความปลอดภัย
ให้กับข้อมูล การแสดงและเปรียบเทียบข้อมูลให้เห็นชัดเจนในรูปของกราฟชนิดต่างๆ สร้างและ
วิเคราะห์รายงานด้วย Pivot Table
นอกจากนี้ Microsoft Office Excel 2007 ก็ยังสามารถทางด้านการคํานวณข้อมูลด้วย
สูตรอย่างง่ายทั้งการบวก ลบ คูณ หารตลอดจนสูตรการคํานวณขั้นสูงที่มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
ซึ่งได้แก่ฟังก์ชั่นประเภทต่างๆ ที่สามารถไปใช้ในชีวิตประจําวัน และงานทางธุรกิจ เช่น บัญชีสต๊อคสิน
ค้า บัญชีรายรับรายจ่าย สรุปยอดขายสินค้า คํานวณยอดภาษีที่ต้องจ่าย บัญชีค่าใช้จ่ายประจําเดือน
และอื่นๆ
Microsoft Office Excel 2007 ประกอบด้วยส่วนการติดต่อผู้ใช้แบบใหม่ที่มุ่งเน้น
ผลลัพธ์ การแสดงข้อมูลที่หลากหลาย เครื่องมือและคุณลักษณะเพื่อการใช้งานร่วมกัน การใช้งาน
ร่วมกับ Excel Services ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ของ Microsoft Office SharePoint technology
ทําให้ง่ายในการใช้งานร่วมกัน รักษาความปลอดภัย และจัดการสมุดงาน (.xslx, xslb) Microsoft
Office Excel 2007 ให้เป็นรายงานแบบโต้ตอบในวิธีที่สอดคล้องกันตลอดทั้งองค์กร ทําให้สามารถใช้
ข้อมูลร่วมกับผู้อื่นและจัดการการวิเคราะห์และความเข้าใจ กับเพื่อนร่วมงาน ลูกค้า และคู่ค้าทาง
ธุรกิจด้วยความมั่นใจ รวมทั้งสามารถจัดการข้อมูลได้อย่างสะดวกและง่ายดาย
ได้มีการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่ ที่มีเฉพาะ Office 2007 เท่านั้น โดยการรวม
เอาเมนูกับทูลบาร์เข้าด้วยกัน ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่นี้เรียกว่า Ribbon
รูปที่ 1.1 แถบ Ribbon ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.1 Ribbon
Ribbon เป็นส่วนการนําเสนอคําสั่งที่จัดเรียงเป็นชุดของแท็บ โดยชุดแท็บแต่ละแท็บ
จะมุ่งเน้นงาน คําสั่งและคุณลักษณะที่มีลักษณะเป็นตรรกะ คือมีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกันมาก
ที่สุด กล่องโต้ตอบทั้งหลายถูกแทนที่ด้วยแกลเลอรีแบบหล่นลงที่แสดงตัวเลือกที่พร้อมใช้งาน และมี
คําแนะนําเครื่องมือแบบอธิบายหรือการแสดงตัวอย่าง ใน Microsoft Office Excel 2007
มีชุดของแท็บที่คล้ายกันสําหรับการใช้งานกระดาษคํานวณ รวมถึงแท็บสําหรับการทํางานกับสูตร การ
จัดการข้อมูล และการตรวจทาน แท็บเหล่านี้ทําให้สามารถเข้าถึงคุณลักษณะชองโปรแกรมได้อย่าง
ง่ายดาย เนื่องจากมีการจัดระเบียบคําสั่งในวิธีที่สอดคล้องโดยตรงกับงานที่จะทําในโปรแกรม
1.2.2 การเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
1. คลิก ปุ่ม start เลือก All Programs เลือก Microsoft Office เลือก
Microsoft Office Excel 2007
รูปที่ 1.2 ขั้นตอนการเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะปรากฏหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
รูปที่ 1.3 หน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
รูปที่ 1.4 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.3 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม
1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) แสดงรายชื่อของเอกสารและชื่อโปรแกรมที่กําลัง
เปิดใช้งานอยู่ เอกสารที่ยังไม่ได้บันทึก โปรแกรมจะตั้งชื่อให้อัตโนมัติว่า
“สมุดงาน1 - Microsoft Excel”
2. ปุ่มออฟฟิศ (Office Button) เป็นปุ่มรวบรวมคําสั่งพื้นฐานที่เกี่ยวกับ
เอกสาร ทํางานในลักษณะเดียวกับเมนู แฟ้ม (File) ในเวอร์ชั่น 2003 ปุ่ม
Microsoft Office มีข้อดี 2 ข้อ คือ
1.1 ช่วยผู้ใช้ในการค้นหาแฟ้มข้อมูล
1.2 ช่วยในการจัดการแฟ้มข้อมูล
3. กล่องควบคุม (Control Box) เป็นกล่องควบคุมหน้าต่างโปรแกรม และ
หน้าต่างงาน ประกอบด้วย ปุ่มย่อ(Minimize) ปุ่มขยาย (Maximize or
Restore down) และปุ่มปิด (Close)
4. แท็บเครื่องมือริบบอน (Ribbon) เป็นแหล่งรวบรวมแท็บชุดคําสั่งและปุ่ม
เครื่องมือต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทําหน้าที่คล้ายกับเมนูคําสั่งในเวอร์ชั่น 2003
ประกอบด้วยทั้งหมด 7 แท็บ คือหน้าแรก (Home) แทรก (Insert) เค้าโครง
หน้ากระดาษ (Page Layout) สูตร (Formulas) ข้อมูล (Data) ตรวจทาน
(Review) และมุมมอง (View)
5. แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้เก็บชุดคําสั่ง
และปุ่มเครื่องมือสําคัญ ๆ และนิยมใช้ประจํา เป็นชุดคําสั่งที่เป็นอิสระจาก
แท็บที่กําลังแสดงอยู่ จะแสดงคําสั่งในลักษณะไอคอน สามารถเพิ่มลดคําสั่งที่
จะให้แสดงโดยกําหนดเองได้
6. กล่องชื่อ (Name Box) ใช้บอกตําแหน่งเซลล์ หรือชื่อเซลล์ที่กําลังใช้งานอยู่
7. แถบสูตร (Formula Bar) เป็นแถบที่แสดงข้อมูลที่กําลังพิมพ์ ทั้งข้อความ
ตัวเลข และสูตร
8. เซลล์ (Cell) เป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เกิดจากการตัดกันระหว่างแถว กับ
สดมภ์เป็นพื้นที่การทํางานคล้ายกับหน้าเอกสารใช้สําหรับป้อนข้อมูลต่าง ๆ
9. แถว (Row) คือช่องของเซลล์ในแนวนอนของแผ่นงาน โดยมีชื่อแถวเป็น
ตัวเลข เริ่มตั้งแต่ 1 ถึง 1048576
10.คอลัมน์ (Column) คือ ช่องของเซลล์ในแนวตั้งของแผ่นงาน โดยมีชื่อแถว
เป็นอักษร เริ่มตั้งแต่ A ถึง XFD
11.ป้ายชื่อแผ่นงาน (Sheet Tab) เป็นแท็บชื่อแผ่นงานที่เลือกใช้งานอยู่ใน
ขณะนั้นปกติโปรแกรมจะสร้างมาให้ใช้จํานวน 3 แผ่นงานผู้ใช้สามารถเพิ่ม
และลดจํานวนได้
12. แถบสถานะ (Status Bar) เป็นแถบที่ใช้ควบคุมการแสดงผลของโปรแกรม
เป็นแถบแสดงสถานะการทํางานต่าง ๆ ของแป้นพิมพ์
13. แถบเลื่อนแนวตั้งและแนวนอน (Vertical and Horizontal Scroll Bar)
เป็นแถบสําหรับเลื่อนแผ่นงานที่กําลังใช้งานอยู่
14.แถบย่อ/ขยาย เป็นแถบสําหรับควบคุมระดับการย่อขยายของเอกสาร
1.2.4 การทํางานของชุดแท็บเครื่องมือริบบอนของโปรแกรม Microsoft Office
Excel 2007
ริบบอน (Ribbon) เป็นแท็บที่เก็บไอคอนคําสั่งแบ่งแยกเป็นหมวดหมู่ทั้งหมด 7 กลุ่ม
คําสั่ง และจะสามารถมีเพิ่มขึ้นได้อีก ริบบอนทําให้สามารถค้นหาเครื่องมือได้สะดวกขึ้น
1. แท็บหน้าแรก (Home) เป็นแท็บที่รวบรวมชุดเครื่องมือพื้นฐานที่ต้องใช้งาน
บ่อยเป็นประจํา ประกอบด้วย
รูปที่ 1.5 แท็บหน้าแรก
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. คลิบบอร์ด ใช้สําหรับการตัด คัดลอก และวางรูปแบบจาก
ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
2. แบบอักษร ใช้จัดรูปแบบอักษร
3. การจัดแนว ใช้จัดตําแหน่งข้อความ และการจัดย่อหน้า
4. ตัวเลข ใช้จัดรูปแบบการแสดงตัวเลขในเซลล์
5. ลักษณะ ใช้จัดรูปแบบตารางสําเร็จรูป
6. เซลล์ ใช้สําหรับแทรก/ลบเซลล์ และจัดการรูปแบบ
เซลล์
7. การแก้ไข ใช้ในการหาผลรวมอัตโนมัติ การล้างเซลล์
การเรียงลําดับ การค้นหาและแทนที่ การ
เลือก การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข
2. แท็บแทรก (insert) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับแทรกออบเจ็กต์ หรือองค์ประกอบ
ต่าง ๆ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบข้อมูลยิ่งขึ้น ประกอบด้วย
รูปที่ 1.6 แท็บแทรก
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. ตาราง ใช้สร้างเส้นขอบตาราง การจัดการข้อมูลมาก
ๆ ด้วย Pivot Table และ Pivot Chart
2. ภาพประกอบ ใช้ใส่รูปภาพ รูปร่างต่าง ๆ และไดอะแกรม
ต่าง ๆ
3. แผนภูมิ ใช้สร้างแผนภูมิ และกราฟแบบต่าง ๆ
4. การเชื่อมโยง ใช้สร้างจุดเชื่อมโยงหลายมิติ
5. ข้อความ ใช้สร้างกล่องข้อความ ข้อความศิลป์ และ
สร้างหัวกระดาษท้ายกระดาษ
3. แท็บเค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) เป็นแท็บที่ใช้ปรับแต่ง กําหนด
ขนาด หรือมุมมองต่าง ๆ บนแผ่นงาน
รูปที่ 1.7 แท็บเค้าโครงหน้ากระดาษ
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. ชุดรูปแบบ ใช้สําหรับออกแบบตาราง ทั้งการกําหนดสี
แบบอักษร และ ลักษณะพิเศษต่าง ๆ
2. ตั้งค่าหน้ากระดาษ กําหนดค่ากระดาษของแผ่นงาน
3. ปรับพอดี ใช้กําหนดความกว้าง ความสูง กําหนดมาตรา
ส่วนของแผ่นงาน
4. ตัวเลือกของแผ่นงาน ใช้ตั้งค่ามุมมอง และการพิมพ์
5. จัดเรียง ใช้จัดเรียงหน้าต่างงาน และวัตถุ
4. แท็บสูตร (Formulas) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับใส่สูตรคํานวณและฟังค์ชั่น
ต่าง ๆ ประกอบด้วย
รูปที่ 1.8 แท็บสูตร
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. ไลบรารีฟังค์ชั่น ใช้สําหรับใส่สูตร และฟังค์ชั่นต่าง ๆ
2. ชื่อที่กําหนด ใช้กําหนดชื่อกลุ่มเซลล์เพื่อใช้อ้างอิงสูตร
3. ตรวจสอบสูตร ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของการอ้างอิงใน
สูตร
4. การคํานวณ ใช้ในการกําหนดให้โปรแกรมมีการคํานวณ
แบบอัตโนมัติ
5. แท็บข้อมูล (Data) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับติดต่อข้อมูลกับภายนอกโปรแกรม
และทํางานกับข้อมูลจํานวนมาก ประกอบด้วย
รูปที่ 1.9 แท็บข้อมูล
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. รับข้อมูลภายนอก ใช้รับข้อมูลจากภายนอกโปรแกรม
2. เรียงลําดับและกรอง ใช้เรียงลําดับข้อมูลทั้งจากน้อยไปมาก และ
จากมากไปน้อย และใช้ในการกําหนดการ
ตรวจสอบการกรองข้อมูล
3. เครื่องมือข้อมูล ใช้ในการจัดการข้อมูล
4. เค้าร่าง ใช้จัดกลุ่มข้อมูลที่มีจํานวนมาก ๆ การใช้
ผลรวมย่อย
6. แท็บตรวจทาน (Review) เป็นแท็บที่รวบรวมอรรถประโยชน์ทั้งหลาย เข้า
ไว้ด้วยกัน ประกอบด้วย
รูปที่ 1.10 แท็บตรวจทาน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. การพิสูจน์อักษร ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของตัวสะกด
ค้นคว้าอ้างอิง การใช้พจนานุกรม
2. ข้อคิดเห็น ใช้สร้างและจัดการข้อคิดเห็น
3. การเปลี่ยนแปลง ใช้ในการสร้างการป้องกันทั้งแผ่นงาน และ
สมุดงาน การใช้งานสมุดงานร่วมกัน และการ
ติดตามการเปลี่ยนแปลง
7. แท็บมุมมอง (View) ใช้เปลี่ยนมุมมองของแผ่นงานให้เหมาะสมกับลักษณะ
การทํางาน ประกอบด้วย
รูปที่ 1.11 แท็บมุมมอง
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1. มุมมองสมุดงาน ใช้ปรับเปลี่ยนมุมมองของแผ่นงาน
2. แสดง/ซ่อน ใช้ในการซ่อนแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น
เส้นตาราง ไม้บรรทัด หัวเรื่องเป็นต้น
3. ย่อ/ขยาย ใช้สําหรับย่อ/ขยาย หน้าต่างแผ่นงาน
4. หน้าต่าง ใช้สําหรับจัดการแผ่นงาน
5. มาโคร ใช้สร้างมาโคร
1.2.6 การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม
การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิก ปุ่ม start เลือก All Programs เลือก Microsoft Office เลือก
เครื่องมือ Microsoft Office เลือก Microsoft Excel 2007 การตั้งค่าภาษา
รูปที่ 1.12 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (เรียกใช้โปรแกรม)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
2 คลิก Display Language ในช่อง Display Help in เลือก “ไทย”
รูปที่ 1.13 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (แสดงภาษาของวิธีใช้)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
3 คลิกแท็บ Editing Languages ช่อง Primary editing language เลือก
Thai (Thailand)
4 คลิก OK
รูปที่ 1.14 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (เลือกภาษาที่ใช้งาน)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.7 การปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือ
1.2.6.1 การเพิ่มและลดปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน (Quick Access)
แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้เก็บ
ชุดคําสั่งและปุ่มเครื่องมือสําคัญ ๆ และนิยมใช้ประจํา เป็นชุดคําสั่งที่เป็นอิสระจากแท็บที่กําลังแสดง
อยู่ ผู้ใช้สามารถกําหนดเองได้
1. การเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน
2. คลิกชื่อเครื่องมือที่ต้องการเพิ่ม เช่นต้องการปุ่มคําสั่ง สร้าง
รูปที่ 1.15 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่ง บนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะได้ปุ่มคําสั่งสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วน ตามรูปที่ 1.16
รูปที่ 1.16 รูปปุ่มเครื่องมือสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
2. การเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วนโดยกําหนดเอง มีขั้นตอน
ต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน
2. คลิกเลือก “คําสั่งเพิ่มเติม”
รูปที่ 1.17 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
3. จะปรากฏหน้าต่าง “ตัวเลือกของ Excel” คลิกคําสั่ง “กําหนด
เอง”
4. คลิกเลือก “เลือกคําสั่งจาก” ในที่นี้เลือก “คําสั่งที่เป็นที่นิยม”
5. คลิกเลือกคําสั่งที่ต้องการเพิ่มปุ่มบนแถบเครื่องมือด่วน ในที่นี้
เลือก “วางแบบพิเศษ”
6. คลิกปุ่ม “เพิ่ม”
7. คลิกปุ่ม “ตกลง”
รูปที่ 1.18 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะได้ปุ่มคําสั่งวางแบบพิเศษ บนแถบเครื่องมือด่วน ตามรูปที่ 1.19
รูปที่ 1.19 ปุ่มคําสั่งวางแบบพิเศษ บนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
3. การลบปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่ปุ่มคําสั่งที่ต้องการลบ ในที่นี้ คือ ปุ่ม
คําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์
2. คลิก คําสั่งเอาออกจากแถบเครื่องมือด่วน
รูปที่ 1.20 ขั้นตอนการลบปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
บนแถบเครื่องมือด่วนจะไม่ปรากฏปุ่มคําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์
ตามรูปที่ 1.21
.
รูปที่ 1.21 แถบเครื่องมือด่วนที่ไม่มีปุ่มคําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.6.2 การย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน (Quick Access)
ค่าเริ่มต้นของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 แถบ
เครื่องมือด่วนจะถูกแสดงไว้ด้านบนข้างปุ่มออฟฟิศ ตามรูปที่ 1.22 ผู้ใช้โปรแกรมสามารถย้ายตําแหน่ง
แถบเครื่องมือด่วนได้
รูปที่ 1.21 ตําแหน่งของแถบเครื่องมือด่วนที่ค่าเริ่มต้นของโปรแกรม
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
การย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน
2. คลิกเลือก “แสดงใต้ Ribbon”
รูปที่ 1.22 ขั้นตอนการย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะได้แถบเครื่องมือด่วนที่แสดงใต้ Ribbon ตามรูปที่ 1.23
รูปที่ 1.23 ตําแหน่งของแถบเครื่องมือด่วนที่ย้ายไปใต้ Ribbon
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.6.3 การย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด และการยกเลิกการย่อ
1. การย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด มีขั้นตอนต่อไปนี้
2. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน
3. คลิกเลือก “ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด”
รูปที่ 1.24 รูปขั้นตอนการย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะได้แถบ Ribbon ให้ถูกย่อเล็กสุด ตามรูปที่ 1.25
รูปที่ 1.25 Ribbon ให้ถูกย่อเล็กสุด
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
2. การยกเลิกการย่อแถบ Ribbon มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน
2. คลิกคําสั่ง “ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด” ที่มีเครื่องหมาย
หน้าคําสั่ง เพื่อยกเลิกคําสั่ง“ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด”
รูปที่ 1.26 ขั้นตอนยกเลิกการย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
จะได้แถบ Ribbon ขนาดปกติของโปรแกรมตามรูปที่ 1.27
รูปที่ 1.27 Ribbon ขนาดปกติของโปรแกรม
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.7 การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)
ในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ถ้าผู้ใช้มีปัญหาติดขัดในการใช้
งาน สามารถศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งานโปรแกรมได้จาก วิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)
การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) มีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม “วิธีใช้ Microsoft Office Excel 2007” หรือกดปุ่ม F1 ที่คีย์บอร์ด
รูปที่ 1.28 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
2. คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการ ในที่นี้เลือก “การจัดการสมุดงาน”
รูปที่ 1.29 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกหัวข้อ)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
3. คลิกเลือกประเภทย่อย ในที่นี้เลือก “การจัดการแฟ้ม”
รูปที่ 1.30 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกประเภทย่อย)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
4. คลิกเลือกหัวข้อย่อยที่ต้องการศึกษาวิธีใช้ ในที่นี้คือ “การบันทึกแฟ้มใน
รูปแบบ PDF”
รูปที่ 1.30 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกหัวข้อย่อยที่ต้องการศึกษา)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
รายละเอียดวิธีใช้ที่ต้องการศึกษาจะปรากฏขึ้นมา
รูปที่ 1.30 รายละเอียดวิธีใช้ที่ต้องการศึกษา
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.8 การสร้างเอกสารใหม่
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 เรียบร้อย จะปรากฏสมุดงานที่
พร้อมการใช้งาน 1 สมุดงาน โดยที่แถบชื่อ (Title Bar) จะแสดงชื่อว่า “สมุดงาน1” ถ้าต้องการสมุด
งานเพิ่ม สามารถเปิดสมุดงานใหม่ได้ โดย
วิธีที่ 1 สร้างจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม ออฟฟิศ
2. เลือกคําสั่ง “สร้าง”
3. เลือกคําสั่ง “ว่างและล่าสุด”
4. คลิก “สมุดงานเปล่า”
5. คลิกปุ่ม “สร้าง”
รูปที่ 1.31 ขั้นตอนการสร้างสมุดงานใหม่
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
6. ไฟล์ใหม่ที่ได้ คือ”สมุดงาน2” หรือต่อไปเรื่อย ๆ
รูปที่ 1.32 สมุดงานใหม่
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
วิธีที่ 2 สร้างจากเครื่องมือ “สร้าง ” บนแถบเครื่องมือด่วน
โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• คลิก เครื่องมือสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วนจะได้สมุดงานใหม่ตามที่
ต้องการ
วิธีที่ 3 สร้างโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• กดปุ่ม Ctrl+N สมุดงานใหม่ตามที่ต้องการ
1.2.9 การบันทึกสมุดงาน
1. การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่
เมื่อป้อนข้อมูลลงในสมุดงานแล้ว และต้องการนําข้อมูลไปใช้งานในครั้งต่อ ๆ
ไป จะต้องทําการบันทึกจัดเก็บข้อมูลไว้ เพื่อไม่ให้ข้อมูลนั้นสูญหาย และสามารถนํามาใช้งานได้
วิธีการบันทึกข้อมูลมีหลายวิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่มออฟฟิศ
2. เลือกคําสั่ง “บันทึก” หรือ “บันทึกเป็น”
3. เลือกคําสั่งสําเนาเอกสาร “สมุดงาน Excel”
รูปที่ 1.33 การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ (การใช้คําสั่ง)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
4. ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล ในช่องชื่อแฟ้ม
5. เลือกชนิดแฟ้มที่ต้องการจัดเก็บ ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel
2007 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xlsx (รูปแบบแฟ้มแบบ XML) แต่ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel
97-2003 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xls (รูปแบบแฟ้มไบนารี)
รูปที่ 1.34 การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ (การตั้งชื่อและการเลือกชนิดไฟล์ที่เก็บ)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
วิธีที่ 2 บันทึกจากเครื่องมือ “บันทึก ” บนแถบเครื่องมือด่วน
โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• คลิกเครื่องมือบันทึก บนแถบเครื่องมือด่วน จะได้หน้าต่างให้ตั้ง
ชื่อแฟ้มข้อมูล ให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลและเลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บ ตามข้อ 5 และ 6
ในวิธีที่ 1
วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• กดปุ่ม Ctrl+S จะได้หน้าต่างให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล ให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล
และเลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บ ตามข้อ 5 และ 6 ในวิธีที่ 1
2. การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม
วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่มออฟฟิศ
2. เลือกคําสั่ง “บันทึก”
โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม
รูปที่ 1.35 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อเดิม
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
วิธีที่ 2 บันทึกจากเครื่องมือ “บันทึก ” บนแถบเครื่องมือด่วน
1) คลิกเครื่องมือบันทึก บนแถบเครื่องมือด่วนโปรแกรมจะ
บันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม
วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key
• กดปุ่ม Ctrl+S โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม
3. การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อใหม่
วิธีการบันทึกแฟ้มข้อมูลจะเหมือนการบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ จะต่างกันที่ขั้นที่
3 จะใช้คําสั่ง “บันทึกเป็น” แทน และ
วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่มออฟฟิศ
2. เลือกคําสั่ง “บันทึกเป็น”
3. เลือกคําสั่งสําเนาเอกสาร “สมุดงาน Excel”
รูปที่ 1.36 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อใหม่ (การใช้คําสั่ง)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
4. เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล ในช่องชื่อแฟ้ม
5. เลือกชนิดแฟ้มที่ต้องการจัดเก็บ ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel
2007 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xlsx (รูปแบบแฟ้มแบบ XML) แต่ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel
97-2003 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xls (รูปแบบแฟ้มไบนารี)
รูปที่ 1.37 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อใหม่ (การตั้งชื่อและการเลือกชนิดไฟล์ที่เก็บ)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
1.2.10 การเปิดสมุดงานเก่า
หลังจากที่บันทึกแฟ้มข้อมูลเก็บไว้แล้ว เมื่อต้องการเปิดสมุดงานเก่า ทําได้ดังนี้
วิธีที่ 1 บันทึกบันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่มออฟฟิศ
2. เลือกชื่อเอกสาร จากเอกสารล่าสุด ถ้ามีเอกสารที่ต้องการ
3. หรือเลือกคําสั่ง “เปิด”
รูปที่ 1.38 การเปิดสมุดงานเก่า (การใช้คําสั่ง)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
4. ในช่องชื่อแฟ้มเลือกชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ
5. คลิก “เปิด”
รูปที่ 1.39 การเปิดสมุดงานเก่า (การเลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด)
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
วิธีที่ 2 เปิดจากเครื่องมือ“เปิด ” บนแถบเครื่องมือด่วน
โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• คลิกเครื่องมือเปิด บนแถบเครื่องมือด่วน จะได้หน้าต่างให้เลือกชื่อ
แฟ้มข้อมูลที่ต้องการ คลิกเลือกแฟ้มข้อมูล
วิธีที่ 3 เปิดโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• กดปุ่ม Ctrl+O จะได้หน้าต่างให้เลือกชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ คลิกเลือก
แฟ้มข้อมูล
1.2.11 การปิดสมุดงาน
หลังจากที่ใช้งานโปรแกรมเสร็จ เมื่อต้องการปิดสมุดงาน ทําได้ดังนี้
วิธีที่ 1 บันทึกบันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกปุ่ม ออฟฟิศ
2. คลิก “ออกจาก Excel”
รูปที่ 1.40 ปิดสมุดงาน
ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป
วิธีที่ 2 ปิดจากเครื่องมือ “ปิด ” จากแถบควบคุม
โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• คลิกเครื่องมือปิด โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป
วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้
• กดปุ่ม Ctrl+F4 โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป
บทสรุป
โปรแกรมตารางงานเป็นโปรแกรมเพื่อการคํานวณที่มีประสิทธิภาพ สามารถประมวลผล
ข้อมูลและนําเสนอผลลัพธ์ได้หลากหลาย ผู้ใช้สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี โปรแกรม
Microsoft Office Excel 2007 ที่พัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟท์เป็นโปรแกรมตารางงานที่ได้ถูก
สร้างส่วนการใช้งานต่าง ๆ ที่ทําให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่าย และสะดวกมากขึ้น
เอกสารอ้างอิง
กชกร เฉลิมกาญจนา. (2547). การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา ศรีพงษ์. (2540). การบัญชีบริหาร . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ดวงมณี โกมารฑัต. (2546). การบัญชีต้นทุน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Dominiak and Louderback. (1997). Managerial Accounting. (7th
ed.). South-Western :
South-Western College Publishing
Horngren, Sundem and Stratton. (1996). Introduction to Management Account. (10th
ed.). New Jersey : Prentice-Hall
Matz, Adolph, and Usry, milton F. (1980). Cost Accounting. (7th
ed.). South-Western
: South-Western Publishing.
Shillinglaw, Gordon. (1982). Managerial Cost Accounting. (5th
ed.). Illinois : Richard
D. Irwin.
คําถามท้ายบท
คําชี้แจง ให้นักศึกษาตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
ใบงานบทที่ 1
กิจกรรมเสนอแนะโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (Child Center)
หัวข้อกิจกรรม
1.
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. เครื่องฉายข้ามศีรษะและจอภาพ
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรเจ็คเตอร์
3. สื่อในการนําเสนอ เช่น Power Point แผ่นใส
ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม
1. แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม พร้อมเลือกหัวหน้ากลุ่ม
2. ให้หัวหน้ากลุ่มจับสลากหัวข้อเรื่องที่จัดทํา
3. นักศึกษาแต่ละกลุ่มจัดทํา Power Point เพื่อนําเสนอในเรื่องที่รับผิดชอบ
4. หัวหน้ากลุ่มหรือตัวแทนกลุ่มนําเสนอผลงานกลุ่มละ 15 นาที
5. กลุ่มอื่นๆ ที่เหลืออีก 3 กลุ่มประเมินกลุ่มเพื่อนที่นําเสนอผลงาน
6. กลุ่มที่นําเสนอผลงาน ประเมินตนเอง
7. ครูผู้สอนรวบรวมแบบประเมินจาก 4 กลุ่ม พร้อมแสดงข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
แหล่งข้อมูล
1. หนังสือวิชาการบัญชีบริหาร
2. หนังสือวิชาการบัญชีเพื่อการจัดการ
3. หนังสือวิชาการบัญชีต้นทุน
4. ค้นคว้าข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
แบบทดสอบหลังเรียน
บทที่ 1
คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียวในแต่ละคําถาม
แบบประเมินการนําเสนอผลงานรายบุคคล
พฤติกรรม
ชื่อ - สกุล
บุคลิก
การแต่งกาย
มารยาท
ในการพูด
การใช้ภาษา
วิธีการ
นําเสนอ
เนื้อหาที่
นําเสนอ
รวม
10 10 10 10 10 50
1
2
3
4
5
6
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
เกณฑ์ผ่าน 25 คะแนน
เกณฑ์การสังเกต
บุคลิกการแต่งกาย : มีความเชื่อมั่นในตนเอง แต่งกายสะอาด ถูกระเบียบ
เสื้อไม่หลุดลุ่ย ลอยชาย
มารยาทในการพูด : มองหน้าและสบตาผู้ฟัง ไม่เหน็บแนม เสียดสีผู้อื่น
การใช้ภาษา : ชัดเจน ตามหลักภาษา ตัว ร ล คําควบกล้ํา ถ้อยคํา
ข้อความสุภาพ
วิธีการนําเสนอ : น่าสนใจหลากหลาย ความคิดสร้างสรรค์
เนื้อหาที่นําเสนอ : มีสาระสําคัญ ตรงกับหัวข้อเรื่อง ใช้เวลาที่กําหนดให้
ลงชื่อ ผู้สังเกต
( )
............................../.............................../............................

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Hikaru Sai
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...Prachoom Rangkasikorn
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานsomdetpittayakom school
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nitiwat First
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นโรงเรียนโยธินบำรุง
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 

Tendances (20)

ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...
ใบความรู้+Lesson plan unit ใบงาน อังกฤษ ป.1-3+ป.1+103+dltvengp1+18 p01 p03-te...
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้นความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานโปรแกรมตารางการทำงานเบื้องต้น
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 

En vedette

การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นMeaw Sukee
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์dakdumm
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 

En vedette (9)

การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel ความหมายของโปรแกรม  Microsoft  excel
ความหมายของโปรแกรม Microsoft excel
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 

Similaire à การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007

กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการkanidta vatanyoo
 
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ณัฐพล บัวพันธ์
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นshe-vit-guu
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1Ssab Sky
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำSsab Sky
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 

Similaire à การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007 (20)

กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
Intro microsoft excel
Intro microsoft excelIntro microsoft excel
Intro microsoft excel
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 5 โปรแกรมเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
P2 r
P2 rP2 r
P2 r
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
new excel2007
new excel2007new excel2007
new excel2007
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
Excel2010
Excel2010Excel2010
Excel2010
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา การใช้โปรแกรมตารางงาน รหัสวิชา 22101-2404 ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชา พณิชยการ จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. รู้ความหมายและความสําคัญของโปรแกรมตารางงาน 2. มีทักษะในการป้อนข้อมูล จัดรูปแบบการแสดงผลข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล 3. รู้หลักเกณฑ์ในการนําข้อมูลมาทําการแก้ไข ปรับปรุงได้ 4. มีทักษะในการสร้างสูตรและฟังค์ชั่นในการคํานวณ 5. เข้าใจกระบวนการนําข้อมูลมาทําการคํานวณ ตลอดจนทํารายงานในรูปของแผนภูมิ ชนิดต่าง ๆ 6. รู้หลักการนําข้อมูลในแฟ้มข้อมูลจากออกทางเครื่องพิมพ์ 7. มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์ มาตรฐานรายวิชา 1. อธิบายความหมาย หน้าที่ และส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน 2. ปฏิบัติการป้อนและจัดการรูปแบบข้อมูลแต่ละชนิด 3. ทําการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพละเครื่องพิมพ์ (Printer) 4. จัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมาใช้งาน 5. สร้างสูตร และฟังก์ชั่นสําเร็จรูปทางสถิติอย่างง่ายเพื่อใช้ในการคํานวณ 6. จัดทํารายการในรูปแบบของตารางและแผนภูมิ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ 1. การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน 2. ส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน 3. การป้อนและจัดการรูปแบบข้อมูล 4. การสร้างสูตรและการใช้ฟังค์ชั่นในการคํานวณ 5. การปรับแก้ข้อมูล 6. การจัดการฐานข้อมูลในตารางงาน 7. การออกรายงานในรูปแบบข้อความ และแผนภูมิ
  • 3. หน่วยที่ 1 การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน สาระการเรียนรู้ 1.1 ความหมายของโปรแกรมตารางงาน 1.2 โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 1.2.1 Ribbon 1.2.2 การเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 1.2.3 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 1.2.4 การทํางานของชุดแท็บเครื่องมือริบบอนของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 1.2.5 การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม 1.2.6 การปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือ 1.2.7 การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) 1.2.8 การสร้างเอกสารใหม่ 1.2.9 การบันทึกสมุดงาน 1.2.10 การเปิดสมุดงานเก่า 1.2.11 การปิดสมุดงาน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของโปรแกรมตารางงาน 2. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของโปรแกรมตารางงานได้ถูกต้อง 2. สามารถอธิบายถึงลักษณะของ Ribbon ได้ถูกต้อง 3. สามารถเข้าใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007ได้ถูกต้อง 4. อธิบายส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007ได้ถูกต้อง 5. เลือกใช้แท็บต่าง ๆ บนแถบ Ribbon ได้ถูกต้อง 6. กําหนดภาษาเมนูของโปรแกรมได้ถูกต้อง
  • 4. 7. ปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือได้ถูกต้อง 8. เปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help)ได้ถูกต้อง 9. สร้างเอกสารใหม่ได้ถูกต้อง 10.บันทึกสมุดงาน ได้ถูกต้อง 11.เปิดสมุดงานเก่าได้ถูกต้อง 12.ปิดสมุดงานได้ถูกต้อง
  • 5. หน่วยที่ 1 การเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน สาระสําคัญประจําบท โปรแกรมตารางงาน หรือ โปรแกรมประเภทสเปรตชีต เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการคํานวณ โดยเฉพาะตัวเลข จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยํา ทํางานในลักษณะตาราง การแสดง ผลลัพธ์สามารถกําหนดในรูปแบบต่าง ๆ ได้ อีกทั้งมีระบบการจัดการข้อมูลด้วย โปรแกรมตารางงาน ที่ใช้กันแพร่หลาย คือ โปรแกรม Calc ในชุดโปรแกรม Open Office และ Microsoft Office Excel 2007 ในชุดโปรแกรม Microsoft Office 1.1 ความหมายของโปรแกรมตารางงาน โปรแกรมตารางงาน หรือโปรแกรมประเภทสเปรดชีต (Spreadsheet) เป็นโปรแกรมที่ ใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบนแผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียนข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตารางทั้ง แนวตั้งและแนวนอน ซึ่งช่องตารางแต่ละช่องจะมีชื่อประจําแต่ละช่อง โปรแกรมตารางงานที่ใช้กันใน ปัจจุบันมีทั้งโปรแกรมที่เป็นฟรีแวร์ และโปรแกรมลิขสิทธิ์ โปรแกรมที่เป็นฟรีแวร์ที่ใช้กันอย่าง แพร่หลาย คือ ชุดโปรแกรม OpenOffice ซึ่งเป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดย Sun Microsystems, Inc. ชุดโปรแกรม OpenOffice ประกอบด้วย โปรแกรม Writer (ทํางานในลักษณะการประมวลข้อความ แก้ไขหน้าเว็บ) โปรแกรม Calc (ทํางานในลักษณะการตารางคํานวณ)โปรแกรม Draw (ทํางานใน ลักษณะการวาดภาพลายเส้น แผนผัง) โปรแกรม Impress (ทํางานในลักษณะการนําเสนอข้อมูล) และโปรแกรม Base (ทํางานในลักษณะฐานข้อมูล) ส่วนโปรแกรมลิขสิทธิ์ที่ได้รับความนิยมที่สุดคือ Microsoft Office ที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ชุดโปรแกรม Microsoft Office ชุดล่าสุดของ บริษัทไมโครซอฟท์ คือ ชุดโปรแกรม Microsoft Office 2007 ประกอบด้วยโปรแกรมสํานักงานต่าง ๆที่รู้จักกันดี คือ Microsoft Office Word 2007 Microsoft Office Excel 2007 Microsoft Office PowerPoint 2007 และ Microsoft Office Outlook 2007 และอีกหลาย ๆ ตัว โปรแกรมตาราง งาน ในชุดโปรแกรม OpenOffice คือ โปรแกรม Calc และ ในชุดโปรแกรม Microsoft Office 2007 คือ Microsoft Office Excel 2007 1.2 โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 Microsoft Office Excel 2007 เป็นโปรแกรมที่ใช้สําหรับสร้างและทํางานกับข้อมูลใน รูปของตารางงาน และที่ใช้ในการคํานวณที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบัน อันเนื่องจาก ความสามารถที่หลากหลายซึ่งได้แก่ การจัดการข้อมูลในเซลล์ เวิร์กชีต เวิร์กบุ๊ค ตกแต่งข้อมูลและ ตารางงานด้วยสีพื้น สีเส้น รูปภาพ การบริหารและทํางานกับข้อมูลจํานวนมาก สร้างความปลอดภัย ให้กับข้อมูล การแสดงและเปรียบเทียบข้อมูลให้เห็นชัดเจนในรูปของกราฟชนิดต่างๆ สร้างและ วิเคราะห์รายงานด้วย Pivot Table
  • 6. นอกจากนี้ Microsoft Office Excel 2007 ก็ยังสามารถทางด้านการคํานวณข้อมูลด้วย สูตรอย่างง่ายทั้งการบวก ลบ คูณ หารตลอดจนสูตรการคํานวณขั้นสูงที่มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ซึ่งได้แก่ฟังก์ชั่นประเภทต่างๆ ที่สามารถไปใช้ในชีวิตประจําวัน และงานทางธุรกิจ เช่น บัญชีสต๊อคสิน ค้า บัญชีรายรับรายจ่าย สรุปยอดขายสินค้า คํานวณยอดภาษีที่ต้องจ่าย บัญชีค่าใช้จ่ายประจําเดือน และอื่นๆ Microsoft Office Excel 2007 ประกอบด้วยส่วนการติดต่อผู้ใช้แบบใหม่ที่มุ่งเน้น ผลลัพธ์ การแสดงข้อมูลที่หลากหลาย เครื่องมือและคุณลักษณะเพื่อการใช้งานร่วมกัน การใช้งาน ร่วมกับ Excel Services ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ของ Microsoft Office SharePoint technology ทําให้ง่ายในการใช้งานร่วมกัน รักษาความปลอดภัย และจัดการสมุดงาน (.xslx, xslb) Microsoft Office Excel 2007 ให้เป็นรายงานแบบโต้ตอบในวิธีที่สอดคล้องกันตลอดทั้งองค์กร ทําให้สามารถใช้ ข้อมูลร่วมกับผู้อื่นและจัดการการวิเคราะห์และความเข้าใจ กับเพื่อนร่วมงาน ลูกค้า และคู่ค้าทาง ธุรกิจด้วยความมั่นใจ รวมทั้งสามารถจัดการข้อมูลได้อย่างสะดวกและง่ายดาย ได้มีการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่ ที่มีเฉพาะ Office 2007 เท่านั้น โดยการรวม เอาเมนูกับทูลบาร์เข้าด้วยกัน ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่นี้เรียกว่า Ribbon รูปที่ 1.1 แถบ Ribbon ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบใหม่ ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.1 Ribbon Ribbon เป็นส่วนการนําเสนอคําสั่งที่จัดเรียงเป็นชุดของแท็บ โดยชุดแท็บแต่ละแท็บ จะมุ่งเน้นงาน คําสั่งและคุณลักษณะที่มีลักษณะเป็นตรรกะ คือมีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกันมาก ที่สุด กล่องโต้ตอบทั้งหลายถูกแทนที่ด้วยแกลเลอรีแบบหล่นลงที่แสดงตัวเลือกที่พร้อมใช้งาน และมี คําแนะนําเครื่องมือแบบอธิบายหรือการแสดงตัวอย่าง ใน Microsoft Office Excel 2007 มีชุดของแท็บที่คล้ายกันสําหรับการใช้งานกระดาษคํานวณ รวมถึงแท็บสําหรับการทํางานกับสูตร การ
  • 7. จัดการข้อมูล และการตรวจทาน แท็บเหล่านี้ทําให้สามารถเข้าถึงคุณลักษณะชองโปรแกรมได้อย่าง ง่ายดาย เนื่องจากมีการจัดระเบียบคําสั่งในวิธีที่สอดคล้องโดยตรงกับงานที่จะทําในโปรแกรม 1.2.2 การเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 1. คลิก ปุ่ม start เลือก All Programs เลือก Microsoft Office เลือก Microsoft Office Excel 2007 รูปที่ 1.2 ขั้นตอนการเข้าสู่การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะปรากฏหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 รูปที่ 1.3 หน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
  • 8. ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 รูปที่ 1.4 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.3 ส่วนประกอบของหน้าต่างการทํางานของโปรแกรม 1. แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) แสดงรายชื่อของเอกสารและชื่อโปรแกรมที่กําลัง เปิดใช้งานอยู่ เอกสารที่ยังไม่ได้บันทึก โปรแกรมจะตั้งชื่อให้อัตโนมัติว่า “สมุดงาน1 - Microsoft Excel” 2. ปุ่มออฟฟิศ (Office Button) เป็นปุ่มรวบรวมคําสั่งพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เอกสาร ทํางานในลักษณะเดียวกับเมนู แฟ้ม (File) ในเวอร์ชั่น 2003 ปุ่ม Microsoft Office มีข้อดี 2 ข้อ คือ 1.1 ช่วยผู้ใช้ในการค้นหาแฟ้มข้อมูล 1.2 ช่วยในการจัดการแฟ้มข้อมูล
  • 9. 3. กล่องควบคุม (Control Box) เป็นกล่องควบคุมหน้าต่างโปรแกรม และ หน้าต่างงาน ประกอบด้วย ปุ่มย่อ(Minimize) ปุ่มขยาย (Maximize or Restore down) และปุ่มปิด (Close) 4. แท็บเครื่องมือริบบอน (Ribbon) เป็นแหล่งรวบรวมแท็บชุดคําสั่งและปุ่ม เครื่องมือต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทําหน้าที่คล้ายกับเมนูคําสั่งในเวอร์ชั่น 2003 ประกอบด้วยทั้งหมด 7 แท็บ คือหน้าแรก (Home) แทรก (Insert) เค้าโครง หน้ากระดาษ (Page Layout) สูตร (Formulas) ข้อมูล (Data) ตรวจทาน (Review) และมุมมอง (View) 5. แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้เก็บชุดคําสั่ง และปุ่มเครื่องมือสําคัญ ๆ และนิยมใช้ประจํา เป็นชุดคําสั่งที่เป็นอิสระจาก แท็บที่กําลังแสดงอยู่ จะแสดงคําสั่งในลักษณะไอคอน สามารถเพิ่มลดคําสั่งที่ จะให้แสดงโดยกําหนดเองได้ 6. กล่องชื่อ (Name Box) ใช้บอกตําแหน่งเซลล์ หรือชื่อเซลล์ที่กําลังใช้งานอยู่ 7. แถบสูตร (Formula Bar) เป็นแถบที่แสดงข้อมูลที่กําลังพิมพ์ ทั้งข้อความ ตัวเลข และสูตร 8. เซลล์ (Cell) เป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เกิดจากการตัดกันระหว่างแถว กับ สดมภ์เป็นพื้นที่การทํางานคล้ายกับหน้าเอกสารใช้สําหรับป้อนข้อมูลต่าง ๆ 9. แถว (Row) คือช่องของเซลล์ในแนวนอนของแผ่นงาน โดยมีชื่อแถวเป็น ตัวเลข เริ่มตั้งแต่ 1 ถึง 1048576 10.คอลัมน์ (Column) คือ ช่องของเซลล์ในแนวตั้งของแผ่นงาน โดยมีชื่อแถว เป็นอักษร เริ่มตั้งแต่ A ถึง XFD 11.ป้ายชื่อแผ่นงาน (Sheet Tab) เป็นแท็บชื่อแผ่นงานที่เลือกใช้งานอยู่ใน ขณะนั้นปกติโปรแกรมจะสร้างมาให้ใช้จํานวน 3 แผ่นงานผู้ใช้สามารถเพิ่ม และลดจํานวนได้ 12. แถบสถานะ (Status Bar) เป็นแถบที่ใช้ควบคุมการแสดงผลของโปรแกรม เป็นแถบแสดงสถานะการทํางานต่าง ๆ ของแป้นพิมพ์ 13. แถบเลื่อนแนวตั้งและแนวนอน (Vertical and Horizontal Scroll Bar) เป็นแถบสําหรับเลื่อนแผ่นงานที่กําลังใช้งานอยู่ 14.แถบย่อ/ขยาย เป็นแถบสําหรับควบคุมระดับการย่อขยายของเอกสาร 1.2.4 การทํางานของชุดแท็บเครื่องมือริบบอนของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007
  • 10. ริบบอน (Ribbon) เป็นแท็บที่เก็บไอคอนคําสั่งแบ่งแยกเป็นหมวดหมู่ทั้งหมด 7 กลุ่ม คําสั่ง และจะสามารถมีเพิ่มขึ้นได้อีก ริบบอนทําให้สามารถค้นหาเครื่องมือได้สะดวกขึ้น 1. แท็บหน้าแรก (Home) เป็นแท็บที่รวบรวมชุดเครื่องมือพื้นฐานที่ต้องใช้งาน บ่อยเป็นประจํา ประกอบด้วย รูปที่ 1.5 แท็บหน้าแรก ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. คลิบบอร์ด ใช้สําหรับการตัด คัดลอก และวางรูปแบบจาก ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง 2. แบบอักษร ใช้จัดรูปแบบอักษร 3. การจัดแนว ใช้จัดตําแหน่งข้อความ และการจัดย่อหน้า 4. ตัวเลข ใช้จัดรูปแบบการแสดงตัวเลขในเซลล์ 5. ลักษณะ ใช้จัดรูปแบบตารางสําเร็จรูป 6. เซลล์ ใช้สําหรับแทรก/ลบเซลล์ และจัดการรูปแบบ เซลล์ 7. การแก้ไข ใช้ในการหาผลรวมอัตโนมัติ การล้างเซลล์ การเรียงลําดับ การค้นหาและแทนที่ การ เลือก การจัดรูปแบบตามเงื่อนไข 2. แท็บแทรก (insert) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับแทรกออบเจ็กต์ หรือองค์ประกอบ ต่าง ๆ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบข้อมูลยิ่งขึ้น ประกอบด้วย
  • 11. รูปที่ 1.6 แท็บแทรก ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. ตาราง ใช้สร้างเส้นขอบตาราง การจัดการข้อมูลมาก ๆ ด้วย Pivot Table และ Pivot Chart 2. ภาพประกอบ ใช้ใส่รูปภาพ รูปร่างต่าง ๆ และไดอะแกรม ต่าง ๆ 3. แผนภูมิ ใช้สร้างแผนภูมิ และกราฟแบบต่าง ๆ 4. การเชื่อมโยง ใช้สร้างจุดเชื่อมโยงหลายมิติ 5. ข้อความ ใช้สร้างกล่องข้อความ ข้อความศิลป์ และ สร้างหัวกระดาษท้ายกระดาษ 3. แท็บเค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) เป็นแท็บที่ใช้ปรับแต่ง กําหนด ขนาด หรือมุมมองต่าง ๆ บนแผ่นงาน รูปที่ 1.7 แท็บเค้าโครงหน้ากระดาษ ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. ชุดรูปแบบ ใช้สําหรับออกแบบตาราง ทั้งการกําหนดสี แบบอักษร และ ลักษณะพิเศษต่าง ๆ 2. ตั้งค่าหน้ากระดาษ กําหนดค่ากระดาษของแผ่นงาน
  • 12. 3. ปรับพอดี ใช้กําหนดความกว้าง ความสูง กําหนดมาตรา ส่วนของแผ่นงาน 4. ตัวเลือกของแผ่นงาน ใช้ตั้งค่ามุมมอง และการพิมพ์ 5. จัดเรียง ใช้จัดเรียงหน้าต่างงาน และวัตถุ 4. แท็บสูตร (Formulas) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับใส่สูตรคํานวณและฟังค์ชั่น ต่าง ๆ ประกอบด้วย รูปที่ 1.8 แท็บสูตร ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. ไลบรารีฟังค์ชั่น ใช้สําหรับใส่สูตร และฟังค์ชั่นต่าง ๆ 2. ชื่อที่กําหนด ใช้กําหนดชื่อกลุ่มเซลล์เพื่อใช้อ้างอิงสูตร 3. ตรวจสอบสูตร ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของการอ้างอิงใน สูตร 4. การคํานวณ ใช้ในการกําหนดให้โปรแกรมมีการคํานวณ แบบอัตโนมัติ 5. แท็บข้อมูล (Data) เป็นแท็บที่ใช้สําหรับติดต่อข้อมูลกับภายนอกโปรแกรม และทํางานกับข้อมูลจํานวนมาก ประกอบด้วย รูปที่ 1.9 แท็บข้อมูล ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
  • 13. 1. รับข้อมูลภายนอก ใช้รับข้อมูลจากภายนอกโปรแกรม 2. เรียงลําดับและกรอง ใช้เรียงลําดับข้อมูลทั้งจากน้อยไปมาก และ จากมากไปน้อย และใช้ในการกําหนดการ ตรวจสอบการกรองข้อมูล 3. เครื่องมือข้อมูล ใช้ในการจัดการข้อมูล 4. เค้าร่าง ใช้จัดกลุ่มข้อมูลที่มีจํานวนมาก ๆ การใช้ ผลรวมย่อย 6. แท็บตรวจทาน (Review) เป็นแท็บที่รวบรวมอรรถประโยชน์ทั้งหลาย เข้า ไว้ด้วยกัน ประกอบด้วย รูปที่ 1.10 แท็บตรวจทาน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. การพิสูจน์อักษร ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของตัวสะกด ค้นคว้าอ้างอิง การใช้พจนานุกรม 2. ข้อคิดเห็น ใช้สร้างและจัดการข้อคิดเห็น 3. การเปลี่ยนแปลง ใช้ในการสร้างการป้องกันทั้งแผ่นงาน และ สมุดงาน การใช้งานสมุดงานร่วมกัน และการ ติดตามการเปลี่ยนแปลง 7. แท็บมุมมอง (View) ใช้เปลี่ยนมุมมองของแผ่นงานให้เหมาะสมกับลักษณะ การทํางาน ประกอบด้วย
  • 14. รูปที่ 1.11 แท็บมุมมอง ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1. มุมมองสมุดงาน ใช้ปรับเปลี่ยนมุมมองของแผ่นงาน 2. แสดง/ซ่อน ใช้ในการซ่อนแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น เส้นตาราง ไม้บรรทัด หัวเรื่องเป็นต้น 3. ย่อ/ขยาย ใช้สําหรับย่อ/ขยาย หน้าต่างแผ่นงาน 4. หน้าต่าง ใช้สําหรับจัดการแผ่นงาน 5. มาโคร ใช้สร้างมาโคร 1.2.6 การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม การกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิก ปุ่ม start เลือก All Programs เลือก Microsoft Office เลือก เครื่องมือ Microsoft Office เลือก Microsoft Excel 2007 การตั้งค่าภาษา รูปที่ 1.12 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (เรียกใช้โปรแกรม) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
  • 15. 2 คลิก Display Language ในช่อง Display Help in เลือก “ไทย” รูปที่ 1.13 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (แสดงภาษาของวิธีใช้) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 3 คลิกแท็บ Editing Languages ช่อง Primary editing language เลือก Thai (Thailand) 4 คลิก OK รูปที่ 1.14 ขั้นตอนการกําหนดภาษาเมนูของโปรแกรม (เลือกภาษาที่ใช้งาน) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
  • 16. 1.2.7 การปรับแต่งเมนูคําสั่งและเครื่องมือ 1.2.6.1 การเพิ่มและลดปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) เป็นแถบเครื่องมือที่ใช้เก็บ ชุดคําสั่งและปุ่มเครื่องมือสําคัญ ๆ และนิยมใช้ประจํา เป็นชุดคําสั่งที่เป็นอิสระจากแท็บที่กําลังแสดง อยู่ ผู้ใช้สามารถกําหนดเองได้ 1. การเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน 2. คลิกชื่อเครื่องมือที่ต้องการเพิ่ม เช่นต้องการปุ่มคําสั่ง สร้าง รูปที่ 1.15 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่ง บนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะได้ปุ่มคําสั่งสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วน ตามรูปที่ 1.16 รูปที่ 1.16 รูปปุ่มเครื่องมือสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 2. การเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วนโดยกําหนดเอง มีขั้นตอน ต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน 2. คลิกเลือก “คําสั่งเพิ่มเติม”
  • 17. รูปที่ 1.17 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 3. จะปรากฏหน้าต่าง “ตัวเลือกของ Excel” คลิกคําสั่ง “กําหนด เอง” 4. คลิกเลือก “เลือกคําสั่งจาก” ในที่นี้เลือก “คําสั่งที่เป็นที่นิยม” 5. คลิกเลือกคําสั่งที่ต้องการเพิ่มปุ่มบนแถบเครื่องมือด่วน ในที่นี้ เลือก “วางแบบพิเศษ” 6. คลิกปุ่ม “เพิ่ม” 7. คลิกปุ่ม “ตกลง”
  • 18. รูปที่ 1.18 ขั้นตอนการเพิ่มปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะได้ปุ่มคําสั่งวางแบบพิเศษ บนแถบเครื่องมือด่วน ตามรูปที่ 1.19 รูปที่ 1.19 ปุ่มคําสั่งวางแบบพิเศษ บนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 3. การลบปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่ปุ่มคําสั่งที่ต้องการลบ ในที่นี้ คือ ปุ่ม คําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ 2. คลิก คําสั่งเอาออกจากแถบเครื่องมือด่วน
  • 19. รูปที่ 1.20 ขั้นตอนการลบปุ่มคําสั่งบนแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 บนแถบเครื่องมือด่วนจะไม่ปรากฏปุ่มคําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ ตามรูปที่ 1.21 . รูปที่ 1.21 แถบเครื่องมือด่วนที่ไม่มีปุ่มคําสั่งแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.6.2 การย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) ค่าเริ่มต้นของโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 แถบ เครื่องมือด่วนจะถูกแสดงไว้ด้านบนข้างปุ่มออฟฟิศ ตามรูปที่ 1.22 ผู้ใช้โปรแกรมสามารถย้ายตําแหน่ง แถบเครื่องมือด่วนได้ รูปที่ 1.21 ตําแหน่งของแถบเครื่องมือด่วนที่ค่าเริ่มต้นของโปรแกรม ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 การย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน 2. คลิกเลือก “แสดงใต้ Ribbon”
  • 20. รูปที่ 1.22 ขั้นตอนการย้ายตําแหน่งแถบเครื่องมือด่วน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะได้แถบเครื่องมือด่วนที่แสดงใต้ Ribbon ตามรูปที่ 1.23 รูปที่ 1.23 ตําแหน่งของแถบเครื่องมือด่วนที่ย้ายไปใต้ Ribbon ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.6.3 การย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด และการยกเลิกการย่อ 1. การย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด มีขั้นตอนต่อไปนี้ 2. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน 3. คลิกเลือก “ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด”
  • 21. รูปที่ 1.24 รูปขั้นตอนการย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะได้แถบ Ribbon ให้ถูกย่อเล็กสุด ตามรูปที่ 1.25 รูปที่ 1.25 Ribbon ให้ถูกย่อเล็กสุด ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 2. การยกเลิกการย่อแถบ Ribbon มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม หล่นลง บนแถบเครื่องมือด่วน 2. คลิกคําสั่ง “ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด” ที่มีเครื่องหมาย หน้าคําสั่ง เพื่อยกเลิกคําสั่ง“ย่อ Ribbon ให้เล็กสุด”
  • 22. รูปที่ 1.26 ขั้นตอนยกเลิกการย่อแถบ Ribbon ให้เล็กสุด ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 จะได้แถบ Ribbon ขนาดปกติของโปรแกรมตามรูปที่ 1.27 รูปที่ 1.27 Ribbon ขนาดปกติของโปรแกรม ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.7 การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) ในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ถ้าผู้ใช้มีปัญหาติดขัดในการใช้ งาน สามารถศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งานโปรแกรมได้จาก วิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) การเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) มีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม “วิธีใช้ Microsoft Office Excel 2007” หรือกดปุ่ม F1 ที่คีย์บอร์ด
  • 23. รูปที่ 1.28 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 2. คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการ ในที่นี้เลือก “การจัดการสมุดงาน” รูปที่ 1.29 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกหัวข้อ) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 3. คลิกเลือกประเภทย่อย ในที่นี้เลือก “การจัดการแฟ้ม” รูปที่ 1.30 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกประเภทย่อย) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52
  • 24. 4. คลิกเลือกหัวข้อย่อยที่ต้องการศึกษาวิธีใช้ ในที่นี้คือ “การบันทึกแฟ้มใน รูปแบบ PDF” รูปที่ 1.30 ขั้นตอนการเปิดวิธีใช้และวิธีการExcel (Excel Help) (การเลือกหัวข้อย่อยที่ต้องการศึกษา) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 รายละเอียดวิธีใช้ที่ต้องการศึกษาจะปรากฏขึ้นมา รูปที่ 1.30 รายละเอียดวิธีใช้ที่ต้องการศึกษา ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.8 การสร้างเอกสารใหม่
  • 25. เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 เรียบร้อย จะปรากฏสมุดงานที่ พร้อมการใช้งาน 1 สมุดงาน โดยที่แถบชื่อ (Title Bar) จะแสดงชื่อว่า “สมุดงาน1” ถ้าต้องการสมุด งานเพิ่ม สามารถเปิดสมุดงานใหม่ได้ โดย วิธีที่ 1 สร้างจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม ออฟฟิศ 2. เลือกคําสั่ง “สร้าง” 3. เลือกคําสั่ง “ว่างและล่าสุด” 4. คลิก “สมุดงานเปล่า” 5. คลิกปุ่ม “สร้าง” รูปที่ 1.31 ขั้นตอนการสร้างสมุดงานใหม่ ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 6. ไฟล์ใหม่ที่ได้ คือ”สมุดงาน2” หรือต่อไปเรื่อย ๆ
  • 26. รูปที่ 1.32 สมุดงานใหม่ ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 วิธีที่ 2 สร้างจากเครื่องมือ “สร้าง ” บนแถบเครื่องมือด่วน โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • คลิก เครื่องมือสร้าง บนแถบเครื่องมือด่วนจะได้สมุดงานใหม่ตามที่ ต้องการ วิธีที่ 3 สร้างโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • กดปุ่ม Ctrl+N สมุดงานใหม่ตามที่ต้องการ 1.2.9 การบันทึกสมุดงาน 1. การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ เมื่อป้อนข้อมูลลงในสมุดงานแล้ว และต้องการนําข้อมูลไปใช้งานในครั้งต่อ ๆ ไป จะต้องทําการบันทึกจัดเก็บข้อมูลไว้ เพื่อไม่ให้ข้อมูลนั้นสูญหาย และสามารถนํามาใช้งานได้ วิธีการบันทึกข้อมูลมีหลายวิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่มออฟฟิศ 2. เลือกคําสั่ง “บันทึก” หรือ “บันทึกเป็น”
  • 27. 3. เลือกคําสั่งสําเนาเอกสาร “สมุดงาน Excel” รูปที่ 1.33 การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ (การใช้คําสั่ง) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 4. ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล ในช่องชื่อแฟ้ม 5. เลือกชนิดแฟ้มที่ต้องการจัดเก็บ ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel 2007 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xlsx (รูปแบบแฟ้มแบบ XML) แต่ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel 97-2003 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xls (รูปแบบแฟ้มไบนารี)
  • 28. รูปที่ 1.34 การบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ (การตั้งชื่อและการเลือกชนิดไฟล์ที่เก็บ) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 วิธีที่ 2 บันทึกจากเครื่องมือ “บันทึก ” บนแถบเครื่องมือด่วน โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • คลิกเครื่องมือบันทึก บนแถบเครื่องมือด่วน จะได้หน้าต่างให้ตั้ง ชื่อแฟ้มข้อมูล ให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลและเลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บ ตามข้อ 5 และ 6 ในวิธีที่ 1 วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • กดปุ่ม Ctrl+S จะได้หน้าต่างให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล ให้ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล และเลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการจัดเก็บ ตามข้อ 5 และ 6 ในวิธีที่ 1 2. การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่มออฟฟิศ 2. เลือกคําสั่ง “บันทึก” โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม
  • 29. รูปที่ 1.35 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อเดิม ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 วิธีที่ 2 บันทึกจากเครื่องมือ “บันทึก ” บนแถบเครื่องมือด่วน 1) คลิกเครื่องมือบันทึก บนแถบเครื่องมือด่วนโปรแกรมจะ บันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key • กดปุ่ม Ctrl+S โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลทับแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อเดิม 3. การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าในชื่อใหม่ วิธีการบันทึกแฟ้มข้อมูลจะเหมือนการบันทึกแฟ้มข้อมูลใหม่ จะต่างกันที่ขั้นที่ 3 จะใช้คําสั่ง “บันทึกเป็น” แทน และ วิธีที่ 1 บันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่มออฟฟิศ 2. เลือกคําสั่ง “บันทึกเป็น” 3. เลือกคําสั่งสําเนาเอกสาร “สมุดงาน Excel”
  • 30. รูปที่ 1.36 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อใหม่ (การใช้คําสั่ง) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 4. เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล ในช่องชื่อแฟ้ม 5. เลือกชนิดแฟ้มที่ต้องการจัดเก็บ ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel 2007 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xlsx (รูปแบบแฟ้มแบบ XML) แต่ถ้าต้องการเก็บแฟ้ม เป็น Excel 97-2003 จะใช้ชนิดแฟ้มเป็นสกุล .xls (รูปแบบแฟ้มไบนารี) รูปที่ 1.37 การบันทึกแฟ้มข้อมูลเก่าชื่อใหม่ (การตั้งชื่อและการเลือกชนิดไฟล์ที่เก็บ) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 1.2.10 การเปิดสมุดงานเก่า
  • 31. หลังจากที่บันทึกแฟ้มข้อมูลเก็บไว้แล้ว เมื่อต้องการเปิดสมุดงานเก่า ทําได้ดังนี้ วิธีที่ 1 บันทึกบันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่มออฟฟิศ 2. เลือกชื่อเอกสาร จากเอกสารล่าสุด ถ้ามีเอกสารที่ต้องการ 3. หรือเลือกคําสั่ง “เปิด” รูปที่ 1.38 การเปิดสมุดงานเก่า (การใช้คําสั่ง) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 4. ในช่องชื่อแฟ้มเลือกชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ 5. คลิก “เปิด”
  • 32. รูปที่ 1.39 การเปิดสมุดงานเก่า (การเลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด) ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 วิธีที่ 2 เปิดจากเครื่องมือ“เปิด ” บนแถบเครื่องมือด่วน โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • คลิกเครื่องมือเปิด บนแถบเครื่องมือด่วน จะได้หน้าต่างให้เลือกชื่อ แฟ้มข้อมูลที่ต้องการ คลิกเลือกแฟ้มข้อมูล วิธีที่ 3 เปิดโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • กดปุ่ม Ctrl+O จะได้หน้าต่างให้เลือกชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ คลิกเลือก แฟ้มข้อมูล 1.2.11 การปิดสมุดงาน หลังจากที่ใช้งานโปรแกรมเสร็จ เมื่อต้องการปิดสมุดงาน ทําได้ดังนี้ วิธีที่ 1 บันทึกบันทึกจากปุ่มออฟฟิศ โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิกปุ่ม ออฟฟิศ 2. คลิก “ออกจาก Excel”
  • 33. รูปที่ 1.40 ปิดสมุดงาน ที่มา : บันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยนางสาวสุดาจิต มณีโชติ เมื่อ วันที่ 15 ม.ค. 52 โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป วิธีที่ 2 ปิดจากเครื่องมือ “ปิด ” จากแถบควบคุม โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • คลิกเครื่องมือปิด โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป วิธีที่ 3 บันทึกโดยใช้ปุ่ม shortcut key โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ • กดปุ่ม Ctrl+F4 โปรแกรมจะถูกปิดการทํางานออกไป บทสรุป โปรแกรมตารางงานเป็นโปรแกรมเพื่อการคํานวณที่มีประสิทธิภาพ สามารถประมวลผล ข้อมูลและนําเสนอผลลัพธ์ได้หลากหลาย ผู้ใช้สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007 ที่พัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟท์เป็นโปรแกรมตารางงานที่ได้ถูก สร้างส่วนการใช้งานต่าง ๆ ที่ทําให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ง่าย และสะดวกมากขึ้น
  • 34. เอกสารอ้างอิง กชกร เฉลิมกาญจนา. (2547). การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กาญจนา ศรีพงษ์. (2540). การบัญชีบริหาร . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ดวงมณี โกมารฑัต. (2546). การบัญชีต้นทุน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Dominiak and Louderback. (1997). Managerial Accounting. (7th ed.). South-Western : South-Western College Publishing Horngren, Sundem and Stratton. (1996). Introduction to Management Account. (10th ed.). New Jersey : Prentice-Hall Matz, Adolph, and Usry, milton F. (1980). Cost Accounting. (7th ed.). South-Western : South-Western Publishing. Shillinglaw, Gordon. (1982). Managerial Cost Accounting. (5th ed.). Illinois : Richard D. Irwin.
  • 36. กิจกรรมเสนอแนะโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (Child Center) หัวข้อกิจกรรม 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เครื่องฉายข้ามศีรษะและจอภาพ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรเจ็คเตอร์ 3. สื่อในการนําเสนอ เช่น Power Point แผ่นใส ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม 1. แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม พร้อมเลือกหัวหน้ากลุ่ม 2. ให้หัวหน้ากลุ่มจับสลากหัวข้อเรื่องที่จัดทํา 3. นักศึกษาแต่ละกลุ่มจัดทํา Power Point เพื่อนําเสนอในเรื่องที่รับผิดชอบ 4. หัวหน้ากลุ่มหรือตัวแทนกลุ่มนําเสนอผลงานกลุ่มละ 15 นาที 5. กลุ่มอื่นๆ ที่เหลืออีก 3 กลุ่มประเมินกลุ่มเพื่อนที่นําเสนอผลงาน 6. กลุ่มที่นําเสนอผลงาน ประเมินตนเอง 7. ครูผู้สอนรวบรวมแบบประเมินจาก 4 กลุ่ม พร้อมแสดงข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ แหล่งข้อมูล 1. หนังสือวิชาการบัญชีบริหาร 2. หนังสือวิชาการบัญชีเพื่อการจัดการ 3. หนังสือวิชาการบัญชีต้นทุน 4. ค้นคว้าข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 1
  • 37. คําชี้แจง จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียวในแต่ละคําถาม แบบประเมินการนําเสนอผลงานรายบุคคล พฤติกรรม ชื่อ - สกุล บุคลิก การแต่งกาย มารยาท ในการพูด การใช้ภาษา วิธีการ นําเสนอ เนื้อหาที่ นําเสนอ รวม 10 10 10 10 10 50 1 2
  • 38. 3 4 5 6 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เกณฑ์ผ่าน 25 คะแนน เกณฑ์การสังเกต บุคลิกการแต่งกาย : มีความเชื่อมั่นในตนเอง แต่งกายสะอาด ถูกระเบียบ เสื้อไม่หลุดลุ่ย ลอยชาย มารยาทในการพูด : มองหน้าและสบตาผู้ฟัง ไม่เหน็บแนม เสียดสีผู้อื่น การใช้ภาษา : ชัดเจน ตามหลักภาษา ตัว ร ล คําควบกล้ํา ถ้อยคํา ข้อความสุภาพ วิธีการนําเสนอ : น่าสนใจหลากหลาย ความคิดสร้างสรรค์ เนื้อหาที่นําเสนอ : มีสาระสําคัญ ตรงกับหัวข้อเรื่อง ใช้เวลาที่กําหนดให้ ลงชื่อ ผู้สังเกต ( ) ............................../.............................../............................