SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมนฺติฯ
!
ณ บัดนี้ อาตมภาพจักไดแสดงพระธรรมเทศนาในปูชากถา วาดวยเรื่องการบูชาบุคคลท่ีควรบูชา เพื่อเปน
เครื่องประคับประคองฉลองศรัทธา เพ่ิมพูนกุศลบุญราศี ประดับปญญาบารมีของศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย และเพื่อ
เปนการเพิ่มกำลังแหงศรัทธาคือความเชื่อ ปสาทะคือความเลื่อมใส ในพระรัตนตรัยใหมีความมั่นคงยิ่งขึ้นไป ใน
โอกาสที่กิจกรรมเทศนเวียนในพรรษาไดเวียนมาบรรจบครบรอบปที่ 54 และในครั้งนี้เปนครั้งที่ 12 ตรงกับวันเสาร
ที่ 29 เดือน กันยายน พ.ศ. 2555 ซึ่งเปนหนาที่ของสำนักวัดปาโยธาประสิทธิ์ หรือที่เราเรียกกันติดปากวา “วัดปา
เกษตร” จะไดนอมนำเอาหลักธรรมที่ไดรับมอบหมายแลวนั้น มาบรรยายขยายความใหทานสาธุชนทั้งหลายไดสดับ
รับฟง ในการณนี้ประธานสงฆ คือพระครูโสภณธรรมรังสี เจาอาวาสวัดปาโยธาประสิทธิ์และเจาคณะอำเภอ
เมืองสุรินทร ธรรมยุต ไดมอบหมายใหอาตมภาพ พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน เลขานุการเจาคณะ
อำเภอศีขรภูมิ ธรรมยุต เปนองคธรรมกถึก คือผูขึ้นมากลาวแจงแสดงความชัดเจนแหงพระธรรมขององคสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อเปนธรรมปฏิสันถารและเปนแนวทางแหงสัมมาปฏิบัติแดทานทั้งหลาย ที่ไดมาประชุม
พรอมกัน ณ ธรรมสภาแหงนี้ ตามสมควรแกเวลาสืบไป
!
กอนที่จะนำทานทั้งหลายเขาสูเนื้อหาแหงธรรมะที่ไดยกขึ้นเปนอุเทศในเบื้องตนนั้น อาตมภาพขอหยิบ
หยกประเด็นธรรมะที่วา “มงคล” นั้นเกิดขึ้นมาอยางไร ใครเปนผูนำเรื่องนี้ขึ้นมากลาวกอน ซึ่งประเด็นปญหานี้ได
สรางความโกลาหลวุนวายเปนอันมาก ในหมูชนผูคงแกเรียนในสังคมชุมพูทวีปเมื่อครั้งสมัยพุทธกาล ความปรากฎ
วา มนุษยชายหญิงในชุมพูทวีปมีการถกเถียงกันวา อะไรเปนมงคล บางกลุมก็กลาววาหูที่ตนไดยินเสียงตางๆ ที่นา
ฟง มีความไพเราะ นี่แหละเปนมงคล อีกกลุมหนึ่งก็กลาววาตาทั้งสองดวงที่สามารถมองเห็นอะไรไดทั้งที่สวยงาม
และไมสวยนี่แหละเปนมงคล ทุกคนไมสามารถหาขอสรุปได ปญหานี้ไดแผขยายวงกวางขึ้นเรื่อยๆ แมเทวดาชั้น
ภุมเทวดาก็ถูกกระแสแหงความสงสัยครอบงำเหมือนกัน ไดนำความในโลกมนุษยไปแจงใหเทพชั้นผูใหญทั้งหลาย
ไดทราบ เทพเหลานั้นก็ไมสามารถใหคำตอบไดวา อะไรเปนมงคลอันสูงสุด ปญหานี้ไดคุกรุนเสมือนมีเมฆหมอกมา
ปดบังดวงปญญาของมนุษยและเหลาเทพทั้งหลายเอาไว ปลอยใหเวลาลวงเลยมาถึง 12 ป ขณะนั้นพระพุทธเจา
ไดอุบัติเกิดขึ้นในโลกแลว ทาวสักกะผูจอมราชันยแหงเทพ (พระอินทร) ไดตรัสถามหมูเทพที่มาเฝาวา พวกทานได
ทูลถามพระผูมีพระภาคเจาแลวหรือยัง เมื่อทรงทราบวายัง จึงไดทรงตำหนิวาพวกทานไดลวงเลย พระผูมีพระภาค
เจาผูทรงแสดงมงคลแลว กลับมาถามเรา เปนเหมือนทิ้งไฟเสีย แลวมาถือเอาไฟที่กนหิ้งหอย ตรัสแลวชวนกันไป
เฝาพระพุทธเจาที่พระวิหารเชตวัน ใกลกรุงสาวัตถีในแควนโกศล ถวายบังคมแลวยืนอยู ณ ที่ควร ทาวสักกะ
ทรงมอบหมายใหเทวดาองคหนึ่งเปนผูทูลถามเรื่องนี้ ในเวลานั้นเทพเจาในหมื่นจักรวาล เนรมิตกายใหละเอียดมา
แออัดประชุมกัน เพื่อมงคลปญหาในที่นั้นดวย จนพระเชตวันสวางไสวไปทั่วดวยรัศมีกายของเทวดาเหลานั้น ถึง
กระนั้นก็มิอาจบดบังพระรัศมี ซึ่งเปลงออกจากพระกายของพระพุทธเจาได เทวดาองคที่ไดรับมอบหมายใหทูลถาม
มงคลปญหากะพระพุทธเจา ไดทูลถามปญหากะพระพุทธเจาวา "เทวดาและมนุษยทั้งหลายเปนอันมากหวังอยูซึ่ง
ความสวัสดี ไดพากันคิดสิ่งที่เปนมงคล (แตไมอาจคิดได) ขอพระองคโปรดตรัสบอกอุดมมงคล" พระผูมีพระภาค
เจาจึงตรัสใหทราบวา มงคลมีอยู 38 มงคล ดวยพระคาถา 10 คาถาใน มงคลสูตร ตามลำดับ คำวา มงคล หมาย
ถึง อุดม รุงเรือง ดีเลิศ และการบูชาบุคคลที่ควรบูชาก็จัดเปนมงคลอันสูงสุดเหมือนกัน ซึ่งปรากฏในมงคลสูตร
คาถาที่ 1 ขอที่ 3 ซึ่งจะไดกลาวในลำดับตอไป
2

ความหมาย@
!

บูชา คือการแสดงความเคารพ การยกยองเชิดชู ดวยความเลื่อมใส ที่แสดงออกทางกาย วาจา และใจ

อยางบริสุทธิ@์ ไมมีอารมณอยางอื่นมาเจือปนใหจิตหวั่นไหวได
@
!
!
!
!

การบูชา มี 3 ลักษณะ คือ :!
ปคคัณหะปูชา หมายถึง การบูชาดวยการยกยอง
!
สักการะปูชา หมายถึง การบูชาดวยเครื่องสักการะตางๆ
!
สัมมานะปูชา หมายถึง การบูชาดวยการยอมรับนับถือ
การบูชา มี 2 ประเภท คือ :@
อามิสสะปูชา หมายถึง การบูชาดวยอามิสสิ่งของและ
@
ปฏิบัติปูชา หมายถึง การบูชาดวยการปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม

!
การบูชา ถือเปนกิริยาที่แสดงออกถึงความเคารพตอบุคคล สถานที่ และสัญลักษณตางๆ ที่เกี่ยวของกับ
บุคคล เชน หลักคำสอน รูปเหมือน ขาวของเครื่องใชตางๆ หรือแมแตพระบรมธาตุฯ และการบูชาที่ไดกระทำนั้น
ตองเปนบุคคลที่มีคุณธรรมจริงๆ การบูชานั้นจึงจะมีผลอันอุดม สมดังพระบาลีที่ปรากฎในมงคลสูตรซึ่งอาตมภาพ
ไดยกขึ้นเปนอุเทศเบื้องตนวา ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ความวา การบูชาบุคคลทีี่ควรบูชาถือเปน
มงคลอันสูงสุด! ที่กลาววาเปนมงคลอยางสูงสุดนั้น สูงสุดดวยลักษณะแหงการกระทำอยู ๓ อยาง ที่กลาวในเบื้อง
ตน คือ
!
1. ปคคัณหะปูชา คือ การบูชาดวยการกลาวยกยอง สรรเสริญ ในคุณธรรมของผูนั้นใหเปนที่ปรากฏ ไป
ที่ไหนก็มีการกลาวถึงอยูตลอดเวลา เหมือนที่ญาติโยมไดระลึกนึกถึงบทพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ยิ่งถาเราทราบ
ความหมายวาทานหมายถึงอะไร ก็ยิ่งเพิ่มความศรัทธาในองคพระรัตนตรัยมากเทานั้น เหมือนคำกลาวของครูบา
อาจารยผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทานมักกลาววา “คุณของพระพุทธเจา พระธรรมเจา พระสังฆเจา จะสวดกี่ครั้งกี่
ชั่วโมงก็ไมรูจักเบื่อ เพราะเชื่ออยางสนิทใจแลววาพระรัตนตรัยมีจริง มีคุณตอหมูสัตวผูเรารอนดวยเพลิงกิเลสจริง”
!
2. สักการะปูชา คือ การบูชาดวยเครื่องสักการะ มีดอกไม ธูป เทียน หรือของหอมที่โลกนิยมในปจจุบัน
เพื่อนำมาบูชา แมแตเปลวเพลิงซึ่งถูกจุดที่เทียนก็เปนการบูชาชนิดหนึ่งที่มีความเชื่อวา ถาใครไดบูชาแลวจะกอให
เกิดปญญา ดังพระบาลีวา นตฺถิ ปฺญาสมา อาภา ความวา แสงสวางเสมอดวยปญญาไมมี การแสดงความเคารพ
ดวยเครื่องสักการะเปนการบูชาที่สามารถทำไดงายที่สุด เพราะไมตองอาศัยความพากเพียรอะไรมาก วัตถุดิบที่
เปนเครื่องบูชาในปจจุบันก็มีพรอม ในเมืองมีหางรานที่ในบริการเกี่ยวกับเครื่องสังฆภัณฑเยอะ ทั้งนี้อุบาสกอุบาสิกาตองมีปญญาในการบูชาเชนเดียวกัน มิเชนนั้นก็จะเปนการบูชาแบบหลงงมงาย ที่กลาวเชนนี้ เพราะวา
ญาติโยมทั่วไปไมคอยจะเขาวัดสักเทาไหร หรือไมคอยไดทำบุญกับพอแมเทาที่ควร วันดีคืนดีตัวเองนอนหลับฝนไม
ดี ฝนวาแมตาย หรือตัวเองถูกคนฆาตาย ตื่นเชามารูสึกไมคอยดี จิตใจหดหู ยิ้มก็ไมคอยออก คิดไดวาการไปถวาย
สังฆทานที่วัดมันจะชวยได สิ่งที่ไดคือโยมไดให ไดเสียสละทรัพยของตนกับผูอื่นที่เราเชื่อวาทานปฏิบัติดี ผลตรงนี้
ไดแผขยายมาถึงจิตใจของเรา เกิดความสุขความราเริง ที่จริงพระทานไมไดใหอะไรเราหรอก ทานก็รับเฉยๆ พรที่
ทานใหก็พูดแบบนี้กันกับทุกคนที่ไปถวายสังฆทาน อำนาจแหงการบูชาดวยเครื่องสักการะมีผลมาก ดังนิทานใน
ธรรมบทเรื่องเทพธิดาผูทำบุญดวยดอกบวบสีเหลืองตอนหนึ่งวา มีหญิงสาวผูหนึ่ง อาศัยอยูในหมูบานชนบทหาง
ไกล มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย กลับจากการทำงาน ระหวางทางเห็นดอกบวบกำลังบานใหม มีสีเหลือง
3

สด นางไดเก็บดอกบวบดวยความเพลิดเพลินใจ พรอมกับคิดในใจวาเราจะนำดอกบวบนี้ไปบูชาพระ ระหวางทาง
ที่นางเดินไปจิตก็คิดถึงแตเรื่องการถวายดอกไมพระ ทันใดนั้นเองวัวตัวผูเดินสวนทางมาพอดี ดวยวิบากกรรมที่
เคยกระทำระหวางกัน ทำใหนางถูกวัดขวิดที่ระหวางอกดวยเขาอันแหลมคม นางสิ้นใจทันทีในมือยังถือดอกไมที่จะ
ไปถวายพระไวเนน ดวยอำนาจแหงจิตที่เลื่อมใสในพระรัตนตรัย และขณะจิตที่คิดจะนำดอกบวบสีเหลืองไปถวาย
พระนี้ สงผลใหนางไปจุติในเทวสถานวิมานทอง ที่ประดับประดาเหมือนดังสีแหงดอกบวบเหลืองทันที
!
3. สัมมานะปูชา คือ การบูชาดวยการยอมรับ หรือถาจะพูดภาษางายๆ ก็คือการมีใจใหกัน ขอนี้จะตรงกับ
คำวาการบูชาตองมีศรัทธามากอน ถาไมมีศรัทธาจะไมสามารถทำการบูชาไดเลย ดังความปรากฏเปนพุทธภาษิต
ใน สังยุตตนิกาย สัคคาถวรรค 15/50 วา สทฺธา สาธุ ปติฺฐิตา แปลไดความวา ศรัทธาตั้งมั่นแลว ยังประโยชนให
สำเร็จ สมัยโบราณเวลาจะสอนหรือถายทอดวิชาความรูใดๆ ใหกับลูกศิษย จะตองมีการตั้งครูเสียกอน เพื่อใหผูที่จะ
เรียนนั้นไดแสดงเจตจำนงคที่แทจริงวา ตนเองมีศรัทธา ยอมปฏิบัติตามคำสั่งสอนครูทุกอยาง ไมโตเเยงหรือ
คัดคานในหลักคำสอน และถาใครสามารถปฏิบัติไดจริงก็จะประสบผลสำเร็จ ลักษณะเชนนี้เปนการบูชาดวยการ
ยอมรับ ในปจจุบันนี้เราขาดการบูชาในลักษณะนี้มาก เราอางตนวาเปนผูมีความรู คงแกเรียน มีประสบการณชีวิต
มามาก เคยเปนใหญมีตำแหนงหนาที่การงาน มีคนนับหนาถือตาในสังคมมาก ไปไหนมาไหนมีคนใหการตอนรับ
กำแพงความคิดเหลานี้เองที่คอยขวางกั้นจิตใจของเรา ไมใหยอมรับอะไรงายๆ บางก็อางวาพุทธเจาใหใชหลักกา
ลามสูตร คืออยาเชื่ออะไรงายๆ ซึ่งในหลักความเปนจริงที่เรากำลังประสบอยูนี้นั้นมันใชหลักการนัั้นไมได เพราะ
เรากำลังจะตกเหวคือความมืดบอดอยูแลวนะ ดังนั้นเราตองเปดใจใหกวางยอมรับกับสิ่งบางอยางที่เราเชื่ออยูในใจ
ลึกๆ วาจะชวยเราได คือเปนที่พึ่งเราได ฉะนั้นการที่เราจะบูชาอะไรสักอยาง ไมวาจะเปนบูชาพระรัตนตรัย
พระบรมธาตุ หรือพระเครื่องตางๆ เราตองมีใจที่ศรัทธาเลื่อมใสมากอนแลว หรือยังไมมีศรัทธามากอนแตเคยได
ประสบกับเหตุการณบางอยางที่ทำใหตนเชื่ออยางสนิทใจวา เหตุการณเหลานี้มีอยูจริง จึงจะเกิดผล ยกตัวอยาง
เชน พระปญจวัคคียกอนที่จะไดฟงพระธรรมเทศนาของพุทธเจานั้น ในใจของทุกคนไดนึกวาเราจะไมปฏิบัติรับใช
สมณะโคตม จะพูดอะไรพวกเราก็จะไมฟงไมยอมรับ แตเมื่อพระพุทธองคเสด็จมาถึง เพราะความที่ตนเคยปฏิบัติ
หนาที่รับใชมาตลอดก็ทำใหลืมขอตกลงที่ไดตกลงกันไวสนิท
และเมื่อฟงธรรมจักรกัปปวัตนสูตรที่พุทธองคทรง
ตรัสก็ยิ่งเลื่อมใส เพราะพระดำรัสเชนนี้พวกตนไมเคยไดยินที่ไหนมากอน เมื่อฟงธรรมจบลงโกณฑัญญะดาบสก็ได
ดวงตาเห็นธรรมทันที
!
จากลักษณะการบูชาที่กลาวมา ถากลาวโดยประเภทแลวมี 2 ประเภท คือ อามิสบูชา เปนการบูชาที่ตอง
อาศัยวัตถุ เชนการใหสิ่งของ ดอกไม ของหอม หรืออาหาร นับเปนการบูชาที่ทุกคนสามารถทำได สะดวกเวลาไหน
ก็สามารถทำได แมการเขาวัดทำบุญตักบาตร และถวายสังฆทานก็จัดเปนอามิสบูชา ซึ่งพุทธองคตรัสวา เพียงแค
การบูชาแบบนี้ก็มีผลมากสำหรับอุบาสก-อุบาสิกา เพราะถือวาเปนการขวนขวายที่ตองอาศัยความพากเพียรมาก
และปฏิบัติบูชา ซึ่งถือเปนการบูชาที่ยิ่งใหญ และพุทธองคกลาววาเปนยอดแหงการบูชา เพราะการบูชาเเบบนี้
สามารถชวยธำรงคหลักคำสอนของพระพุทธองคใหคงอยูไดตลอด เปนการบูชาที่เหมาะสำหรับฝายบรรพชิต ฝาย
อุบาสก-อุบาสิกาจะบูชาดวยการปฏิบัติบูชาก็ได ในปจจุบันนี้การบูชาแบบที่สองนี้มีความหยอนยานมาก สาเหตุ
เพราะเราลืมหนาทีี่ของตนเอง เมื่อลืมหนาที่ของตนเองนานเขา ก็นำไปสูการไมใสใจหลักธรรมหลักวินัย จึงปรากฏ
เปนขาวเกี่ยวกับพระสงฆตามสื่อตางๆ อยูเปนประจำ

บุคคลที่ควรบูชา

!
การบูชานั้น เราบูชาที่ตัวบุคคล กับ บูชาคุณงามความดีของบุคคล ในการบูชาบุคคลนั้นนักปราชญ
ราชบัณฑิตไดแบงบุคคลไว 3 พวก ดวยกัน คือ
4

!
บุคคลที่สูงดวยชาติ (ชาติวุฒิ) เปนผูมีที่มีชาติกำเนิดสูง เชน พระเจาจักรพรรดิ์ พระราชา พระราชินี และ
พระบรมวงศานุวงศทุกๆ พระองค
!!!!!!!! !!บุคคลที่สูงดวยวัย (วัยวุฒิ) เปนผูที่เกิดกอนเรา ทานเหลานี้เปนผูอาบน้ำรอนมากอนยอมไดรับการเรียน
รูมากอน มี ปู-ยา, ตา-ยาย, พอ-แม, พี่ ปา นา อา หรือแมแตรุนพี่ เปนตน
!
บุคคลที่สูงดวยคุณ (คุณวุฒิ) เปนผูท่ีประพฤติปฏิบัติธรรม หรือมีการศึกษาที่สูงพรอมทั้งมีความประพฤติ
ที่ดีควบคูกัน เชน ครูอุปชฌายอาจารย พระอริยสงฆ พระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา
!
ซึ่งบุคคลทั้ง 3 กลุมนี้ เราสามารถกระทำการบูชาไดทั้งสองอยาง คือแบบอามิสบูชาและแบบปฏิบัติบูชาไป
พรอมๆ กันได ในพระสุตตันตะปฎก ขุททะกะนิกาย ธรรมบท เลมที่ 18 ขอที่ 303 ยอหนา 326 พระพุทธเจาทรง
ตรัสเกี่ยวกับบุคคลที่ควรบูชาไว คือ ผูมีศรัทธาเชื่อมั่นในคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา และผูมีศีล
บริสุทธิ์

บุคคลที่สมควรสรางสถูปไวบูชา (ถูปารหบุคคล)

!
บุคคลที่ควรบูชา คือ บุคคลที่มีคุณงามความดี ควรคาแกการระลึกถึง และยึดถือเปนแบบอยางในการ
ประพฤติปฏิบัติตาม มีอยูดวยกันจำนวนมาก เชน พระพุทธเจา พระสงฆ พอ แม ฯลฯ อยางไรก็ดีพระพุทธเจาได
ตรัสถึงบุคคลที่สมควรแกการสรางสถูปบูชาไวเพียง 4 จำพวก ไดแก
@
1. พระพุทธเจา เหตุที่พระพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายวา เมื่อมหาชน
ยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถุปของพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสใน
สถุป)นั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค
!
2. พระปจเจกพุทธเจา เหตุที่พระปจเจกพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบาย
วา เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระปจเจกพุทธเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสในสถูป
นั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค
!
3. พระอรหันต เหตุที่พระสาวกของพระพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบาย
วา เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระสาวกของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตให
เลื่อมใสในสถูปนั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค
!
4. พระเจาจักรพรรดิ์ เหตุที่พระเจาจักรพรรดิ์ทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายวา
เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระธรรมราชาผูทรงธรรมนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสในสถูปนั้น
แลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค

เจดียที่ควรกระทำการบูชาในพุทธศาสนา
@
1. พระธาตุเจดีย คือ เจดียที่สรางขึ้นเพื่อใชบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระธาตุอรหันต เชนพระ
ธาตุพนม พระดอยสุเทพ ภูเขาทอง พระปฐมเจดีย เปนตน @
@
2. พระธรรมเจดีย คือ เจดียที่สรางขึ้นเพื่อบรรจุพระธรรมวินัย เชน พระไตรปฎก หนังสือธรรม เปนตน
!
3. บริโภคเจดีย คือ สถานที่หรือสิ่งของทั้งหมดที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา เชน สังเวชนียสถานทั้ง 4
ตำบล ตนพระศรีมหาโพธิ์ พุทธบริขาร รอยพระพุทธบาท เปนตน
!
4. อุเทสิกเจดีย์ คือ วัตถุที่สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัย โดยไมมีการกำหนดรูปแบบที่ชัดเจน เชน
พุทธรูป พระเครื่อง เปนตน
5

อานิสงสการบูชาบุคคลที่ควรบูชา
!
๑. ยังสัมมาทิฏฐิที่ยังไมเกิด ใหเกิดขึ้น 

!
๒. ยังสัมมาทิฏฐิที่เกิดขึ้นแลว ใหเจริญงอกงามยิ่งขึ้น 
!
๓. ทำใหมีกิริยามารยาท สุภาพออนโยน นารักนานับถือ 
!
๔. ทำใหจิตใจผองใส เพราะตรึกอยูในกุศลธรรมเสมอ 
!
๕. ทำใหสติสัมปชัญญะบริบูรณขึ้น เพราะมีความสำรวมระวังเปนการปองกันความประมาท 
!
๖. ปองกันความลืมตัวความหลงผิดได เพราะตระหนักอยูเสอมวาผูที่มีคุณธรรมสูง กวาตนยังมีอยู 
!
๗. ทำใหเกิดกำลังใจและอานุภาพอยางมหาศาล สามารถคุมครองปองกันตนใหพนจากอุปสรรคและภัย
พาลตางๆ ได 
!
๘. เปนการกำจัดคนพาลใหพินาศไปโดยทางออม เพราะมีแตคนบูชาบัณฑิตผูมีคุณธรรม 
!
๙. เปนการเชิดชูบัณฑิตใหสูงเดน ทำใหทานสามารถบำเพ็ญกรณียกิจไดสะดวกกวางขวางยิ่งขึ้น @
@
เมื่อทานทั้งหลายทราบแลววา บุคคลท่ีเราควรบูชาและแสดงความนับถือนั้นมีใครบาง และอาการกิริยาที่
เราตองแสดงออกเกี่ยวกับการบูชาเราก็ไดทราบแลว แมกระทั่งการบูชาแบบไหนที่มีผลมากพระพุทธองคก็ไดกลาว
ไวหมด แลวถาเราไมแสดงการบูชาหละจะมีโทษอะไรไหม ใน มังคลัตถทีปนี เลม 4 หนา 3 ความตอนหนึ่งวา
ระหวางที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงธรรมแกสุภมาณพอยูนั้น ไดตรัสวา
“...มาณพ สตรีหรือบุรุษบางคนในโลกนี้ เปนผูกระดาง (เยอหยิ่ง) ถือตัวจัด ไมกราบไหว
บุคคลผูควรกราบไหว ไมลุกรับบุคคลผูควรลุกรับ ไมใหอาสนะแกบุคคลผูควรแกอาสนะ ไมให
ทางแกบุคคลผูควรแกทาง ไมสักการะบุคคลผูควรสักการะ ไมทำความเคารพผูที่ตนควร
ทำความเคารพ ไมนับถือบุคคลผูที่ตนควรนับถือ ไมบูชาบุคคลผูที่ตนควรบูชา บุคคลนั้นเบื้อง
หนาแตตายเพราะกายแตกยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เพราะกรรมนั้น อันตนให
บริบูรณแลวอยางนั้น สมาทานแลวอยางนั้น หากบุคคลนั้นไมเขาถึงอบายทุคติ วินิบาต นรก
เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตกไซร ถาเขามาสูความเปนมนุษย เกิดในที่ใด ๆ ในภายหลัง
ก็จะเปนผูมีตระกูลต่ำในที่นั้นๆ มาณพขอที่บุคคลเปนผูกระดาง ถือตัว ฯลฯ ไมบูชาบุคคลที่
ควรบูชาเปนปฏิปทาเปนไปเพื่อมีสกุลต่ำ…”
!
เมื่อเราทราบอยางนี้แลวก็ควรที่จะกระทำการบูชาบุคคลที่ควรบูชา ทั้งนี้โดยผานสื่อกลางคือคุณงามความดี
ของบุคคลที่เราทำการบูชา เปรียบเสมือนการอาบน้ำที่ทุกคนตองอาบ เราไมอาบน้ำก็ไดจะเปนวันหรือเปนอาทิตย
ก็ได แตเราสามารถทนอยูไดหรือไม และเวลาพบปะผูคนเขาจะทนกลิ่นเราไดไหม การเปนคนที่ไมมีการบูชาอะไร
เลยก็เหมือนกัน แตทั้งนี้ใชวาเราจะบูชาทุกอยาง เราก็ตองมีสิ่งทีี่ควรเวนเหมือนกัน ซึ่งสิ่งที่เราไมควรบูชาก็มี ดังนี้

ส่ิงที่ไมควรบูชา
@
!
!
!

1. คนพาล คือไมยกยอง ไมเชิดชู ไมสรรเสริญ ไมสนับสนุน ในฐานะตางๆ
2. สิ่งที่เนื่องดวยคนพาล เชนรูปภาพ รูปปน ผลงาน ขาวของเครื่องใชตางๆ
3. สิ่งที่บูชาแลวไมเกิดสิริมงคล เชนรูปภาพดารา นักรอง และสื่อที่มุงไปทางอบายมุขทั้งหลาย
4. สิ่งที่บูชาแลวโง เชนตนไมใหญ ภูเขาสูง อาราม เพราะบูชาแลวไมกอใหเกิดปญญา
6

!
การบูชาบุคคลที่ควรบูชานั้น เปรียบเสมือนกลาไมที่ยังเล็กอยู  เมื่อเรานำไปปลูกจำเปนตองมีหลักค้ำไม
ใหลม เพราะรากจะขาด หรือตายกอนฉันใด ผูที่หวังความเจริญกาวหนา ก็จำเปนตองบูชาบุคคลที่ควรบูชาไวเปน
แบบอยางในการดำเนินชีวิต เปนหลักใจ เปนเครื่องปองกันความเห็นผิดและมิใหอกุศลกรรมตางๆ กลับมากำเริบ
ขึ้นอีกฉันนั้น บุคคลที่จะกระทำการบูชาไดนั้น ในเบื้องตนตองมีธรรมะเกิดขึ้นในใจกอนเสมอ คือทุกคนไดเห็นความ
ทุกข ที่มากอกวนใจอยูตลอดเวลา จากการมีทุกขมากก็ทำใหเกิดปญญา แตถาแกไมไดก็จะเกิดปญหาทันที มี
ความรูวาความทุกขที่มีอยูตนจะตองแกไขอยางไร นั่นหมายความวาเราตองดูบุคคลตนแบบ เรียกวาผูควรแกการ
บูชา ก็จะทำใหเราเกิดความศรัทธา เลื่อมใสในแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งในที่สุดก็นำเราไปสูความสุข สภาวะเหลานี้
เปนธรรมะที่มาปรากฏใหเราไดเห็นอยูตลอดเวลา แตพวกเราไมสามารถแยกออกไดวามันคืออะไรบาง เพื่อเปน
ปุคลาธิษฐานอาตมภาพขอยกนิทานที่ปรากฏในคัมภีรมงคลทีปนี ซึ่งรจนาโดยพระสิริมังคลาจารยมาสาธกให
สาธุชนทั้งหลายไดสดับ ดำเนินความวา
!
เมืองราชคฤห มีชางรอยดอกไมชื่อนายสุมนะ ไดนำดอกมะลิถวายพระเจาพิมพิสารกษัตริยเมืองราชคฤห
ทุกวันๆ ละ ๘ ทะนาน ทาวเธอก็พระราชทานทรัพยใหวันละ ๘ กหาปณะตอบแทนมิไดขาด อยูมาวันหนึ่งนาย
สุมนะไปเก็บดอกมะลิแลวกลับมา ระหวางทางไดพบพระพุทธเจากับหมูสงฆเขาไปในเมืองเพื่อจะบิณฑบาตโปรด
สัตว นายสุมนะมีจิตศรัทธาเลื่อมใส คิดจะถวายดอกไมบูชาพระพุทธเจา ขณะนั้นไดคิดวา เมื่อเราไมไดถวายดอกไม
แกพระราชาพระองคจะทรงกริ้ว แลวลงโทษมีอาญาเปนประการใดก็ตามเถิด อานิสงสที่เราบูชาแกพระพุทธเจานี้มี
ผลอันประเสริฐทั้งในชาตินี้และชาติหนา ถาเราพึงถวายแกพระราชาก็จะมีผลเพียงแตในชาตินี้ คิดเชนนั้นแลวก็เกิด
มีจิตยินดีศรัทธาในการทำพุทธบูชา นายสุมนะจึงกำเอาดอกมะลิสองกำมือโยนขึ้นไปในอากาศ ในการโยนแตละ
ครั้งนั้นปรากฏวา ครั้งแรกดอกมะลิก็แผเปนตาขายอยูเบื้องบนของพระพุทธเจา ครั้งที่สองนั้นก็แผเปนตาขายอยู
เบื้องขวาของพระพุทธองค ดอกไมสองกำมือที่โยนไปครั้งที่ ๓ นั้นก็แผเปนตาขายอยูเบื้องซาย ดอกไมสองกำมือที่
โยนไปครั้งที่ ๔ นั้นก็แผเปนตาขายอยูเบื้องหลัง ดังนั้นตาขายดอกมะลิจึงลอมองคของพระพุทธเจาอยู ๔ ดานเปด
เฉพาะดานหนา พระองคเสด็จไปถึงไหนตาขายดอกไมทั้ง ๔ ดาน ก็ลอยตามพระองคไปถึงที่นั่น ผันกานเขาขางใน
ผันดอกออกขางนอกทั้งสิ้นเปนอัศจรรยดังนี้ ชาวเมืองทั้งหลายไดเห็นแลวก็พากันเลื่อมใสกราบไหวบูชาศรัทธาใน
พุทธคุณกันทั่วหนา
!
ฝายนายสุมนะก็เกิดความปติยินดีในเครื่องสักการบูชาของตนแลวก็กลับบาน เลาเรื่องที่ไดทำพุทธบูชาให
ภรรยาฟง ฝายภรรยาเปนผูไรปญญาจึงไมมีความยินดีอนุโมทนา กลับโกรธดาวาใหแกสามี แลวพาบุตรไปเฝา
พระเจาพิมพิสารกราบทูลถึงเหตุการณที่สามีไดนำดอกไมที่ควรจะนำมาถวายแกพระราชาไปบูชาแดพระพุทธเจา
หญิงนั้นก็ออกตัวกลัวความผิด กราบทูลแกพระราชาวา อันการกระทำของนายสุมนะนั้นจะบังเกิดในทางดีก็ตาม ใน
ทางรายก็ตาม ขาพเจาจะไมขอรับดวย ขาพเจาขอหยาขาดจากนายสุมนะตั้งแตบัดนี้เปนตนไป พระราชาเปนผู
เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เมื่อไดฟงดังนั้น ก็ดำริวาหญิงผูนี้เปนพาล หาความศรัทธาปสาทะในพระรัตนตรัยมิได แตก็
แสรงทำเปนพิโรธ แลวตรัสกับหญิงนั้นวา ดีละที่เจาหยาขาดจากสามี ตัวเราจะรูกิจอันควรทำอยางสาสมตอนาย
สุมนะเอง จึงสงหญิงนั้นกลับไป สวนพระราชาก็เสด็จออกไปตอนรับพระพุทธเจา พระพุทธองคทรงรูวาพระเจา
พิมพิสารมีพระทัยเลื่อมใสในการบูชา พระศาสดาทรงมีพระกรุณาจะสงเคราะหแกนายสุมนะ ทรงสงบาตรใหพระ
เจาพิมพิสารแลวเสด็จทรงประทับนั่งที่หนาพระลาน พระเจาพิมพิสารก็ถวายทานแกพระพุทธเจา พระพุทธองคทรง
กระทำภัตตกิจแลวก็ตรัสอนุโมทนาทานแสดงธรรมโปรดพระเจาพิมพิสารแลวก็ถวายพระพรลากลับสูวัดเวฬุวัน
ดอกไมทั้งหลายเหลานั้นก็ลอมพระองคมาตราบเทาถึงพระวิหาร ดอกไมจึงไดตกเรี่ยรายอยูที่ซุมพระทวารนั่นแล
!
ครั้งนั้นพระเจาพิมพิสารมีพระทัยเลื่อมใสในการทำพุทธบูชาจึงรับสั่งหานายสุมนะ เขามารับพระราชทาน
ทรัพยทั้งหลาย ๗ สิ่ง สิ่งละ ๘ คือ ชาง ๘ มา ๘ ขาหญิง ๘ ขาชาย ๘ นารีรูปงาม ๘ บานสวย ๘ เงิน ๘ พัน
7

กหาปณะ นายสุมนะไดรับพระราชทานทรัพยเปนอันมากดวยผลที่ทำพุทธบูชา พระอานนทเถระจึงทูลถาม
พระพุทธเจาวา นายสุมนะกระทำพุทธบูชานี้จะมีผลอานิสงสไปในภายภาคหนาเปนประการใด พระพุทธองคจึงตรัส
วา ดูกรอานนท นายสุมนะกระทำพุทธบูชาครั้งนี้เทากับเปนการสละชีวิตบูชาตถาคต เพราะวาขณะนำดอกไมมา
บูชามิรูวาพระราชาจะลงโทษหรือไมประการใด ดวยกุศลนี้ตอไปในภายหนานายสุมนะจะไมไปเกิดในอบายภูมิ
ตลอดถึงแสนกัป จะรื่นเริงบันเทิงเสวยสุขอยูแตในมนุษยโลกและเทวโลกเทานั้น ครั้นในชาติสุดทายจะไดตรัสรูเปน
พระปจเจกพุทธเจา มีนามวาพระสุมนะ เขาสูพระนิพพานเปนที่สุด ดังนี้
@
ดังนั้น การบูชา คือ การยกยอง เลื่อมใส ดวยความบริสุทธิ์ใจ ไมเสแสรงแกลงทำ นั่นหมายถึง กิริยา
อาการสุภาพที่แสดงตอผูที่ควรบูชาทั้งตอหนาและลับหลัง เปนอุบายในการฝกตนเองใหมีความออนนอมถอมตน
ไมเปนคนกระดาง ถือตัว เยอหยิ่งจองหอง ซึ่งมีอยู 3 ลักษณะ คือ การยกยอง การสักการะ และการนอบนอม ใน
ทางปฏิบัตินั้นมี 2 วิธี คือ การบูชาดวยสิ่งของ เรียกวา อามิสบูชา และ การบูชาดวยการปฏิบัติตามคำสอน หรือ
ตามแบบอยางที่ทานไดวางไว เรียกวา ปฏิบัติบูชา ซึ่งอยางหลังนี้พระพุทธเจาทรงยกยองวาเปนการบูชาที่มีผล
มาก สงผลใหพระพุทธศาสนามีความมั่นคงและยั่งยืน ถาทานใดประสงคและปรารถนาที่จะอบรมตนเองใหเปนคนดี
โดยมีบุคคลตนแบบ เหมือนเด็กนักเรียนถาอยากจะเกงมีคุณภาพในอนาคต ตองมีคุณครูที่เกงและมีคุณธรรมคอย
เปนพี่เลี้ยง อุบาสก-อุบาสิกาก็เชนเดียวกัน ถามุงหวังความเจริญในชีวิตของตนก็ตองบูชาบุคคลที่ควรบูชา มีนัยดัง
ไดอรรถาธิบายมา
!
เทศนาปริโยสาเน ในกาลสิ้นสุดลงแหงพระธรรมเทศนานี้ ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเต
ชะสา ขออำนาจแหงคุณพระศรีรัตนตรัย และกุศลผลบุญที่ทานทั้งหลายไดบำเพ็ญมาแลวตั้งแตในอดีตจนถึง
ปจจุบันสมัย จงมารวมกันเปนมหัตเดชานุภาพ สนับสนุนสงเสริมใหทานทั้งหลาย ถึงพรอมดวยอายุ วรรณะ สุขะ
พละ ปฏิภาณ ธนะสารสมบัติ ธรรมะสารสมบัติ คิดนึกปรารถนาสิ่งใดที่ชอบประกอบไปดวยธรรมแลวไซร ขอให
ความปรารถนานั้นๆ จงพลันสำเร็จ จงพลันสำเร็จ จงพลันสำเร็จ ทุกประการ
!

แสดงพระธรรมเทศนาในปูชากถา พอสมควรแกเวลา ขอสมมติยุติลงคงไวแตเพียงเทานี้
เอวัง ก็มีดวยประการฉะนี้
8

พระไตรปฎก เลมที่ ๒๓
พระสุตตันตะปฎก เลมที่ ๑๕
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
อัคคิสูตร
วาดวยเรื่องไฟ (บูชายัญ)
!
สังคมอินเดียสมัยกอนมีความเชื่อวา การบูชายัญเปนการบูชาที่มีผลมาก เพื่อเปนเกร็ดความรูเสริมใหกับ
ญาติธรรมทั้งหลาย จึงนำนิทานชาดกมาประกอบไวทายเนื้อหา คือ
!
สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันอารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลพระนคร
สาวัตถี ก็สมัยนั้นแล อุคคะตะสะรีระพราหมณตระเตรียมมหายัญ โคผู ๕๐๐ ลูกโคผู ๕๐๐ ลูกโคเมีย ๕๐๐ แพะ๕๐๐
แกะ ๕๐๐ ถูกนำเขาไปผูกไวที่หลักเพื่อบูชายัญ ลำดับนั้น อุคคะตะสะรีระพราหมณไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาค
ถึงที่ประทับ ไดปราศรัยกับพระผูมีพระภาค ครั้นผานการปราศรัยพอใหระลึกถึงกันไปแลว จึงนั่ง ณ ที่ควรสวนขาง
หนึ่ง ครั้นแลว
!
ไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอไฟ การปกหลัก
บูชายัญ ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกรพราหมณ แมเราก็ไดฟงมาวา การกอไฟ การ
ปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก แมครั้งที่ ๒ ฯลฯ แมครั้งที่ ๓ อุคคะตะสะรีระพราหมณก็ไดกราบทูลวา
ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอไฟ การปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก ฯ
!
พ. ดูกรพราหมณ แมเราก็ไดฟงมาวา การกอไฟ การปกหลักบูชายัญมีผลมาก มีอานิสงสมาก ฯ
!
อุ. ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขอความทั้งหมดของขาพระองค สมกันกับขอความของทานพระโคดม ฯ
!
เมื่ออุคคะตะสะรีระพราหมณกราบทูลอยางนี้แลว ทานพระอานนท ไดกลาวกะอุคคะตะสะรีระพราหมณวา
ดูกรพราหมณ ทานไมควรถามพระตถาคตอยางนี้วา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอ
ไฟ การปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก แตทานควรถามพระตถาคตอยางนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ ก็ขา
พระองคประสงคจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ขอพระผูมีพระภาคโปรดตักเตือนสั่งสอนขอที่จะพึงเปนไป เพื่อ
ประโยชนเกื้อกูล เพื่อความสุขตลอดกาลนาน แกขาพระองคเถิด ลำดับนั้น อุคคะตะสะรีระพราหมณไดกราบทูล
พระผูมีพระภาควา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคประสงคจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญขอทานพระโคดมโปรดตัก
เตือนสั่งสอนขอที่จะพึงเปนไป เพื่อประโยชนเกื้อกูลเพื่อความสุขตลอดกาลนาน แกขาพระองคเถิด ฯ
!
พ. ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนยอมเงื้อศาตรา ๓ ชนิด อัน
เปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบาก ศาตรา ๓ ชนิดเปนไฉน คือ ศาตราทางกาย ๑ ศาตราทางวาจา ๑
ศาตราทางใจ ๑ ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมเกิดความ
คิดอยางนี้วาตองฆาโคผูเทานี้ตัว ลูกโคผูเทานี้ตัวลูกโคเมียเทานี้ตัว แพะเทานี้ตัว แกะเทานี้ตัว เพื่อบูชายัญ เขาคิด
วาจะทำบุญแตกลับทำบาป คิดวาจะทำกุศล กลับทำอกุศล คิดวาจะแสวงหาทางสุคติ กลับแสวงหาทางทุคติ ดูกร
พราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตราทางใจขอที่ ๑ นี้ อัน
เปนอกุศล มีทุกขเปนกำไรมีทุกขเปนวิบาก ฯ
!
อีกประการหนึ่ง บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนที่เดียว ยอมกลาววาจา (สั่ง)
อยางนี้วา จงฆาโคผูเทานี้ตัว ลูกโคผูเทานี้ตัว ลูกโคเมียเทานี้ตัว แพะเทานี้ตัว แกะเทานี้ตัว เพื่อบูชายัญ เขาสั่งวา
จะทำบุญกลับทำบาป เขาสั่งวาจะทำกุศล กลับทำอกุศล เขาสั่งวาจะแสวงหาทางสุคติกลับแสวงหาทางทุคติ ดูกร
9

พราหมณ เมื่อบุคคลจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตราทางวาจาขอที่ ๒ นี้
อันเปนอกุศลมีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบาก ฯ
!
อีกประการหนึ่ง บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมลงมือดวยตนเอง
กอน คือตองฆาโคผู ลูกโคผู ลูกโคเมียแพะ แกะ เพื่อบูชายัญ เขาลงมือวาจะทำบุญ กลับทำบาป ลงมือวาจะทำกุศล
กลับทำอกุศล ลงมือวาจะแสวงหาทางสุคติ กลับแสวงหาทางทุคติ ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลัก
บูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียวยอมเงื้อศาตราทางกายขอที่ ๓ นี้ อันเปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปน
วิบากดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตรา ๓ อยางนี้
อันเปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบากดูกรพราหมณ ทานพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟ ๓ กองนี้ ๓ กองเปน
ไฉน ไฟคือราคะ ๑ ไฟคือโทสะ ๑ ไฟคือโมหะ ๑ ดูกรพราหมณ ก็เพราะเหตุไรจึงพึงละพึงเวน ไมพึงเสพไฟคือ
ราคะนี้ เพราะบุคคลผูกำหนัดอันราคะครอบงำย่ำยีจิตยอมประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจได ครั้น
ประพฤติทุจริตทางกายทางวาจาทางใจแลว เมื่อตายไปยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉะนั้น จึงพึงละพึงเวน
ไมพึงเสพไฟคือราคะนี้ ก็เพราะเหตุไร จึงพึงละพึงเวน ไมพึงเสพไฟคือผูโกรธ อันโทสะครอบงำย่ำยีจิต ยอม
ประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจไดโทสะนี้ เพราะบุคคลครั้นประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจแลว
เมื่อตายไปยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉะนั้น จึงพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโทสะนี้ ก็เพราะเหตุไร จึง
พึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโมหะนี้ เพราะบุคคลผูหลง อันโมหะครอบงำย่ำยีจิต ยอมประพฤติทุจริตทางกาย
ทางวาจา ทางใจได ครั้นประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจแลว เมื่อตายไป ยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต
นรก ฉะนั้น จึงพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโมหะนี้ ดูกรพราหมณ ทานพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟ ๓ กองนี้แล
ดูกรพราหมณ ไฟ ๓ กองนี้ ควรสักการะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ๓ กองเปนไฉน คือ ไฟคือ
อาหุไนยบุคคล ๑ ไฟคือคหบดี ๑ ไฟคือทักขิไณยบุคคล ๑ ดูกรพราหมณ ก็ไฟคืออาหุไนยบุคคลเปนไฉน ดูกร
พราหมณ คนในโลกนี้ คือ มารดาหรือบิดา เรียกวาไฟคืออาหุไนยบุคคล ขอนั้นเพราะอะไร เพราะบุคคลเกิดมาแต
มารดาบิดานี้ ฉะนั้น ไฟคืออาหุไนยบุคคล จึงควรสักการะ เคารพนับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ก็ไฟคือ
คหบดีเปนไฉน คนในโลกนี้ คือ บุตร ภรรยา ทาส หรือคนใช นี้เรียกวาไฟคือคหบดี ฉะนั้น ไฟคือคหบดีจึงควรสัก
การะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ก็ไฟคือทักขิไณยบุคคลเปนไฉน สมณพราหมณในโลกนี้ งด
เวนจากความมัวเมาประมาท ตั้งอยูในขันติและโสรัจจะ ฝกฝนจิตใจใหสงบ ดับรอนไดเปนเอก นี้เรียกวาไฟคือ
ทักขิไณยบุคคล ฉะนั้น ไฟคือทักขิไณยบุคคลนี้ จึงควรสักการะ เคารพนับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ดูกร
พราหมณ ไฟ ๓ กองนี้แลควรสักการะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ สวนไฟที่เกิดแตไม พึงกอให
โพลงขึ้น พึงเพงดู พึงดับ พึงเก็บไวตามกาลที่สมควร ฯ
!
เมื่อพระผูมีพระภาคตรัสอยางนี้แลว อุคคะตะสะรีระพราหมณไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา ขาแตพระโค
ดมผูเจริญ ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก ฯลฯขอทานพระโคดมผูเจริญ โปรดทรงจำขาพระองควา เปนอุบาสกผู
ถึงสรณะตลอดชีวิตตั้งแตวันนี้เปนตนไป ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคนี้จะปลอยโคผู ๕๐๐ ลูกโคผู ๕๐๐ ลูก
โคเมีย ๕๐๐ แพะ ๕๐๐ แกะ ๕๐๐ ใหชีวิตมัน พวกมันจะไดพากันไปกินหญาอันเขียวสด ดื่มน้ำเย็นสะอาด และรับ
ลมอันเย็นสดชื่น ฯ
10

ประวัติผูบรรยาย
@
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!

!
!
!
!
!
!
!

ชื่อ@
!
การศึกษา@
!
!
!
!
บรรพชา@
!
!
!
อุปสมบท@
!
!
!
!
!
!
!
ที่อยูปจจุบัน @
หนาที่ปจจุบัน @
!
!
หนาที่ในอดีต @
หนาที่พิเศษ@
!!
!
!

พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน นามสกุล แกวหอม ปจจุบันอายุ ๓๒ ป
พรรษา ๑๒ (ปจจุบันเปน พระปลัด ฐานานุกรมของพระพิศาลศาสนกิจ)
๒๕๓๘ ! น.ธ.เอก,ป.ธ.๓ (สำนักเรียนวัดอริยวงศาราม จังหวัดราชบุรี)
๒๕๔๘ ! พธ.บ. (การเมืองการปกครอง) มหาจุฬาฯ วิทยาเขตสุรินทร
๒๕๕๒! ศศ.ม. (ยุทธศาสตรการพัฒนา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร
ปจจุบันกำลังศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผูนำและ
การบริหาร (Ph.D.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร
๒๕๓๗ ณ วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ตำบลจรัส อำเภอบัวเชด
จังหวัดสุรินทร พระอุดมญาณโมลี ปจจุบันเปนพระราชาคณะชั้นสมเด็จที่
สมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (มานิต ถาวโร ป.ธ.๙) ที่ปรึกษาเจาคณะ
ภาค ๑๑ ธรรมยุต วัดสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ เปนพระอุปชฌาย
๒๕๔๔ ณ อุโบสถวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร มีพระครูภาวนาวิทยาคม
ปจจุบันเปนพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระพิศาลศาสนกิจ (เยื้อน ขนฺติพโล) จอ.ศีขรภูมิ (ธ) และรก.จจ.สุรินทร (ธ) เปนพระอุปชฌาย
พระอาจารยวุฒิศักดิ์ วฑฺฒโน ปจจุบันเปนพระครูเจาคณะตำบลชั้นโทที่
พระครูไพโรจนวุฒิคุณ เจาอาวาสวัดเทพประทาน และ จต.บัวเชด (ธ)
เปนพระกรรมวาจาจารย พระอาจารยวุฒิศักดิ์ สุทฺธิปฺโญ ปจจุบันเปน
พระครูเจาอาวาสวัดราษฎรชั้นเอกที่ พระครูสุทธิปญญาภรณ จต.สนม(ธ) และ รก.จอ.ศีขรภูมิ (ธ) เปนพระอนุสาวนาจารย
วัดปาโยธาประสิทธิ์ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร
พระธรรมวิทยากรประจำสำนักปฏิบัติธรรมวัดปาโยธาประสิทธิ์
เลขานุการเจาคณะอำเภอศีขรภูมิ ธรรมยุต
ผูชวยเจาอาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ฝายศาสนศึกษา
๒๕๕๒ เปนรองผูอำนวยการ รร.เทพประทานจุฬามณีวิทยา (รร.การกุศลในวัด)
พระปาฏิโมกข, พระนักเทศน, พระวิทยากร, พระนวกรรม
!
!

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
Tongsamut vorasan
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
Wataustin Austin
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1ธรรมบทเทศนาเล่ม1
ธรรมบทเทศนาเล่ม1
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 

Similar to การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด

รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
Carzanova
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
wilasinee k
 

Similar to การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด (20)

Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdfแบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
แบบอุปัชฌาย์สอนนาค.pdf
 

More from Kiat Chaloemkiat

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
Kiat Chaloemkiat
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
Kiat Chaloemkiat
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
Kiat Chaloemkiat
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
Kiat Chaloemkiat
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
Kiat Chaloemkiat
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
Kiat Chaloemkiat
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
Kiat Chaloemkiat
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
Kiat Chaloemkiat
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
Kiat Chaloemkiat
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
Kiat Chaloemkiat
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
Kiat Chaloemkiat
 

More from Kiat Chaloemkiat (16)

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 

การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด

  • 1. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมนฺติฯ ! ณ บัดนี้ อาตมภาพจักไดแสดงพระธรรมเทศนาในปูชากถา วาดวยเรื่องการบูชาบุคคลท่ีควรบูชา เพื่อเปน เครื่องประคับประคองฉลองศรัทธา เพ่ิมพูนกุศลบุญราศี ประดับปญญาบารมีของศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย และเพื่อ เปนการเพิ่มกำลังแหงศรัทธาคือความเชื่อ ปสาทะคือความเลื่อมใส ในพระรัตนตรัยใหมีความมั่นคงยิ่งขึ้นไป ใน โอกาสที่กิจกรรมเทศนเวียนในพรรษาไดเวียนมาบรรจบครบรอบปที่ 54 และในครั้งนี้เปนครั้งที่ 12 ตรงกับวันเสาร ที่ 29 เดือน กันยายน พ.ศ. 2555 ซึ่งเปนหนาที่ของสำนักวัดปาโยธาประสิทธิ์ หรือที่เราเรียกกันติดปากวา “วัดปา เกษตร” จะไดนอมนำเอาหลักธรรมที่ไดรับมอบหมายแลวนั้น มาบรรยายขยายความใหทานสาธุชนทั้งหลายไดสดับ รับฟง ในการณนี้ประธานสงฆ คือพระครูโสภณธรรมรังสี เจาอาวาสวัดปาโยธาประสิทธิ์และเจาคณะอำเภอ เมืองสุรินทร ธรรมยุต ไดมอบหมายใหอาตมภาพ พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน เลขานุการเจาคณะ อำเภอศีขรภูมิ ธรรมยุต เปนองคธรรมกถึก คือผูขึ้นมากลาวแจงแสดงความชัดเจนแหงพระธรรมขององคสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อเปนธรรมปฏิสันถารและเปนแนวทางแหงสัมมาปฏิบัติแดทานทั้งหลาย ที่ไดมาประชุม พรอมกัน ณ ธรรมสภาแหงนี้ ตามสมควรแกเวลาสืบไป ! กอนที่จะนำทานทั้งหลายเขาสูเนื้อหาแหงธรรมะที่ไดยกขึ้นเปนอุเทศในเบื้องตนนั้น อาตมภาพขอหยิบ หยกประเด็นธรรมะที่วา “มงคล” นั้นเกิดขึ้นมาอยางไร ใครเปนผูนำเรื่องนี้ขึ้นมากลาวกอน ซึ่งประเด็นปญหานี้ได สรางความโกลาหลวุนวายเปนอันมาก ในหมูชนผูคงแกเรียนในสังคมชุมพูทวีปเมื่อครั้งสมัยพุทธกาล ความปรากฎ วา มนุษยชายหญิงในชุมพูทวีปมีการถกเถียงกันวา อะไรเปนมงคล บางกลุมก็กลาววาหูที่ตนไดยินเสียงตางๆ ที่นา ฟง มีความไพเราะ นี่แหละเปนมงคล อีกกลุมหนึ่งก็กลาววาตาทั้งสองดวงที่สามารถมองเห็นอะไรไดทั้งที่สวยงาม และไมสวยนี่แหละเปนมงคล ทุกคนไมสามารถหาขอสรุปได ปญหานี้ไดแผขยายวงกวางขึ้นเรื่อยๆ แมเทวดาชั้น ภุมเทวดาก็ถูกกระแสแหงความสงสัยครอบงำเหมือนกัน ไดนำความในโลกมนุษยไปแจงใหเทพชั้นผูใหญทั้งหลาย ไดทราบ เทพเหลานั้นก็ไมสามารถใหคำตอบไดวา อะไรเปนมงคลอันสูงสุด ปญหานี้ไดคุกรุนเสมือนมีเมฆหมอกมา ปดบังดวงปญญาของมนุษยและเหลาเทพทั้งหลายเอาไว ปลอยใหเวลาลวงเลยมาถึง 12 ป ขณะนั้นพระพุทธเจา ไดอุบัติเกิดขึ้นในโลกแลว ทาวสักกะผูจอมราชันยแหงเทพ (พระอินทร) ไดตรัสถามหมูเทพที่มาเฝาวา พวกทานได ทูลถามพระผูมีพระภาคเจาแลวหรือยัง เมื่อทรงทราบวายัง จึงไดทรงตำหนิวาพวกทานไดลวงเลย พระผูมีพระภาค เจาผูทรงแสดงมงคลแลว กลับมาถามเรา เปนเหมือนทิ้งไฟเสีย แลวมาถือเอาไฟที่กนหิ้งหอย ตรัสแลวชวนกันไป เฝาพระพุทธเจาที่พระวิหารเชตวัน ใกลกรุงสาวัตถีในแควนโกศล ถวายบังคมแลวยืนอยู ณ ที่ควร ทาวสักกะ ทรงมอบหมายใหเทวดาองคหนึ่งเปนผูทูลถามเรื่องนี้ ในเวลานั้นเทพเจาในหมื่นจักรวาล เนรมิตกายใหละเอียดมา แออัดประชุมกัน เพื่อมงคลปญหาในที่นั้นดวย จนพระเชตวันสวางไสวไปทั่วดวยรัศมีกายของเทวดาเหลานั้น ถึง กระนั้นก็มิอาจบดบังพระรัศมี ซึ่งเปลงออกจากพระกายของพระพุทธเจาได เทวดาองคที่ไดรับมอบหมายใหทูลถาม มงคลปญหากะพระพุทธเจา ไดทูลถามปญหากะพระพุทธเจาวา "เทวดาและมนุษยทั้งหลายเปนอันมากหวังอยูซึ่ง ความสวัสดี ไดพากันคิดสิ่งที่เปนมงคล (แตไมอาจคิดได) ขอพระองคโปรดตรัสบอกอุดมมงคล" พระผูมีพระภาค เจาจึงตรัสใหทราบวา มงคลมีอยู 38 มงคล ดวยพระคาถา 10 คาถาใน มงคลสูตร ตามลำดับ คำวา มงคล หมาย ถึง อุดม รุงเรือง ดีเลิศ และการบูชาบุคคลที่ควรบูชาก็จัดเปนมงคลอันสูงสุดเหมือนกัน ซึ่งปรากฏในมงคลสูตร คาถาที่ 1 ขอที่ 3 ซึ่งจะไดกลาวในลำดับตอไป
  • 2. 2 ความหมาย@ ! บูชา คือการแสดงความเคารพ การยกยองเชิดชู ดวยความเลื่อมใส ที่แสดงออกทางกาย วาจา และใจ อยางบริสุทธิ@์ ไมมีอารมณอยางอื่นมาเจือปนใหจิตหวั่นไหวได @ ! ! ! ! การบูชา มี 3 ลักษณะ คือ :! ปคคัณหะปูชา หมายถึง การบูชาดวยการยกยอง ! สักการะปูชา หมายถึง การบูชาดวยเครื่องสักการะตางๆ ! สัมมานะปูชา หมายถึง การบูชาดวยการยอมรับนับถือ การบูชา มี 2 ประเภท คือ :@ อามิสสะปูชา หมายถึง การบูชาดวยอามิสสิ่งของและ @ ปฏิบัติปูชา หมายถึง การบูชาดวยการปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม ! การบูชา ถือเปนกิริยาที่แสดงออกถึงความเคารพตอบุคคล สถานที่ และสัญลักษณตางๆ ที่เกี่ยวของกับ บุคคล เชน หลักคำสอน รูปเหมือน ขาวของเครื่องใชตางๆ หรือแมแตพระบรมธาตุฯ และการบูชาที่ไดกระทำนั้น ตองเปนบุคคลที่มีคุณธรรมจริงๆ การบูชานั้นจึงจะมีผลอันอุดม สมดังพระบาลีที่ปรากฎในมงคลสูตรซึ่งอาตมภาพ ไดยกขึ้นเปนอุเทศเบื้องตนวา ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ความวา การบูชาบุคคลทีี่ควรบูชาถือเปน มงคลอันสูงสุด! ที่กลาววาเปนมงคลอยางสูงสุดนั้น สูงสุดดวยลักษณะแหงการกระทำอยู ๓ อยาง ที่กลาวในเบื้อง ตน คือ ! 1. ปคคัณหะปูชา คือ การบูชาดวยการกลาวยกยอง สรรเสริญ ในคุณธรรมของผูนั้นใหเปนที่ปรากฏ ไป ที่ไหนก็มีการกลาวถึงอยูตลอดเวลา เหมือนที่ญาติโยมไดระลึกนึกถึงบทพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ยิ่งถาเราทราบ ความหมายวาทานหมายถึงอะไร ก็ยิ่งเพิ่มความศรัทธาในองคพระรัตนตรัยมากเทานั้น เหมือนคำกลาวของครูบา อาจารยผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทานมักกลาววา “คุณของพระพุทธเจา พระธรรมเจา พระสังฆเจา จะสวดกี่ครั้งกี่ ชั่วโมงก็ไมรูจักเบื่อ เพราะเชื่ออยางสนิทใจแลววาพระรัตนตรัยมีจริง มีคุณตอหมูสัตวผูเรารอนดวยเพลิงกิเลสจริง” ! 2. สักการะปูชา คือ การบูชาดวยเครื่องสักการะ มีดอกไม ธูป เทียน หรือของหอมที่โลกนิยมในปจจุบัน เพื่อนำมาบูชา แมแตเปลวเพลิงซึ่งถูกจุดที่เทียนก็เปนการบูชาชนิดหนึ่งที่มีความเชื่อวา ถาใครไดบูชาแลวจะกอให เกิดปญญา ดังพระบาลีวา นตฺถิ ปฺญาสมา อาภา ความวา แสงสวางเสมอดวยปญญาไมมี การแสดงความเคารพ ดวยเครื่องสักการะเปนการบูชาที่สามารถทำไดงายที่สุด เพราะไมตองอาศัยความพากเพียรอะไรมาก วัตถุดิบที่ เปนเครื่องบูชาในปจจุบันก็มีพรอม ในเมืองมีหางรานที่ในบริการเกี่ยวกับเครื่องสังฆภัณฑเยอะ ทั้งนี้อุบาสกอุบาสิกาตองมีปญญาในการบูชาเชนเดียวกัน มิเชนนั้นก็จะเปนการบูชาแบบหลงงมงาย ที่กลาวเชนนี้ เพราะวา ญาติโยมทั่วไปไมคอยจะเขาวัดสักเทาไหร หรือไมคอยไดทำบุญกับพอแมเทาที่ควร วันดีคืนดีตัวเองนอนหลับฝนไม ดี ฝนวาแมตาย หรือตัวเองถูกคนฆาตาย ตื่นเชามารูสึกไมคอยดี จิตใจหดหู ยิ้มก็ไมคอยออก คิดไดวาการไปถวาย สังฆทานที่วัดมันจะชวยได สิ่งที่ไดคือโยมไดให ไดเสียสละทรัพยของตนกับผูอื่นที่เราเชื่อวาทานปฏิบัติดี ผลตรงนี้ ไดแผขยายมาถึงจิตใจของเรา เกิดความสุขความราเริง ที่จริงพระทานไมไดใหอะไรเราหรอก ทานก็รับเฉยๆ พรที่ ทานใหก็พูดแบบนี้กันกับทุกคนที่ไปถวายสังฆทาน อำนาจแหงการบูชาดวยเครื่องสักการะมีผลมาก ดังนิทานใน ธรรมบทเรื่องเทพธิดาผูทำบุญดวยดอกบวบสีเหลืองตอนหนึ่งวา มีหญิงสาวผูหนึ่ง อาศัยอยูในหมูบานชนบทหาง ไกล มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย กลับจากการทำงาน ระหวางทางเห็นดอกบวบกำลังบานใหม มีสีเหลือง
  • 3. 3 สด นางไดเก็บดอกบวบดวยความเพลิดเพลินใจ พรอมกับคิดในใจวาเราจะนำดอกบวบนี้ไปบูชาพระ ระหวางทาง ที่นางเดินไปจิตก็คิดถึงแตเรื่องการถวายดอกไมพระ ทันใดนั้นเองวัวตัวผูเดินสวนทางมาพอดี ดวยวิบากกรรมที่ เคยกระทำระหวางกัน ทำใหนางถูกวัดขวิดที่ระหวางอกดวยเขาอันแหลมคม นางสิ้นใจทันทีในมือยังถือดอกไมที่จะ ไปถวายพระไวเนน ดวยอำนาจแหงจิตที่เลื่อมใสในพระรัตนตรัย และขณะจิตที่คิดจะนำดอกบวบสีเหลืองไปถวาย พระนี้ สงผลใหนางไปจุติในเทวสถานวิมานทอง ที่ประดับประดาเหมือนดังสีแหงดอกบวบเหลืองทันที ! 3. สัมมานะปูชา คือ การบูชาดวยการยอมรับ หรือถาจะพูดภาษางายๆ ก็คือการมีใจใหกัน ขอนี้จะตรงกับ คำวาการบูชาตองมีศรัทธามากอน ถาไมมีศรัทธาจะไมสามารถทำการบูชาไดเลย ดังความปรากฏเปนพุทธภาษิต ใน สังยุตตนิกาย สัคคาถวรรค 15/50 วา สทฺธา สาธุ ปติฺฐิตา แปลไดความวา ศรัทธาตั้งมั่นแลว ยังประโยชนให สำเร็จ สมัยโบราณเวลาจะสอนหรือถายทอดวิชาความรูใดๆ ใหกับลูกศิษย จะตองมีการตั้งครูเสียกอน เพื่อใหผูที่จะ เรียนนั้นไดแสดงเจตจำนงคที่แทจริงวา ตนเองมีศรัทธา ยอมปฏิบัติตามคำสั่งสอนครูทุกอยาง ไมโตเเยงหรือ คัดคานในหลักคำสอน และถาใครสามารถปฏิบัติไดจริงก็จะประสบผลสำเร็จ ลักษณะเชนนี้เปนการบูชาดวยการ ยอมรับ ในปจจุบันนี้เราขาดการบูชาในลักษณะนี้มาก เราอางตนวาเปนผูมีความรู คงแกเรียน มีประสบการณชีวิต มามาก เคยเปนใหญมีตำแหนงหนาที่การงาน มีคนนับหนาถือตาในสังคมมาก ไปไหนมาไหนมีคนใหการตอนรับ กำแพงความคิดเหลานี้เองที่คอยขวางกั้นจิตใจของเรา ไมใหยอมรับอะไรงายๆ บางก็อางวาพุทธเจาใหใชหลักกา ลามสูตร คืออยาเชื่ออะไรงายๆ ซึ่งในหลักความเปนจริงที่เรากำลังประสบอยูนี้นั้นมันใชหลักการนัั้นไมได เพราะ เรากำลังจะตกเหวคือความมืดบอดอยูแลวนะ ดังนั้นเราตองเปดใจใหกวางยอมรับกับสิ่งบางอยางที่เราเชื่ออยูในใจ ลึกๆ วาจะชวยเราได คือเปนที่พึ่งเราได ฉะนั้นการที่เราจะบูชาอะไรสักอยาง ไมวาจะเปนบูชาพระรัตนตรัย พระบรมธาตุ หรือพระเครื่องตางๆ เราตองมีใจที่ศรัทธาเลื่อมใสมากอนแลว หรือยังไมมีศรัทธามากอนแตเคยได ประสบกับเหตุการณบางอยางที่ทำใหตนเชื่ออยางสนิทใจวา เหตุการณเหลานี้มีอยูจริง จึงจะเกิดผล ยกตัวอยาง เชน พระปญจวัคคียกอนที่จะไดฟงพระธรรมเทศนาของพุทธเจานั้น ในใจของทุกคนไดนึกวาเราจะไมปฏิบัติรับใช สมณะโคตม จะพูดอะไรพวกเราก็จะไมฟงไมยอมรับ แตเมื่อพระพุทธองคเสด็จมาถึง เพราะความที่ตนเคยปฏิบัติ หนาที่รับใชมาตลอดก็ทำใหลืมขอตกลงที่ไดตกลงกันไวสนิท และเมื่อฟงธรรมจักรกัปปวัตนสูตรที่พุทธองคทรง ตรัสก็ยิ่งเลื่อมใส เพราะพระดำรัสเชนนี้พวกตนไมเคยไดยินที่ไหนมากอน เมื่อฟงธรรมจบลงโกณฑัญญะดาบสก็ได ดวงตาเห็นธรรมทันที ! จากลักษณะการบูชาที่กลาวมา ถากลาวโดยประเภทแลวมี 2 ประเภท คือ อามิสบูชา เปนการบูชาที่ตอง อาศัยวัตถุ เชนการใหสิ่งของ ดอกไม ของหอม หรืออาหาร นับเปนการบูชาที่ทุกคนสามารถทำได สะดวกเวลาไหน ก็สามารถทำได แมการเขาวัดทำบุญตักบาตร และถวายสังฆทานก็จัดเปนอามิสบูชา ซึ่งพุทธองคตรัสวา เพียงแค การบูชาแบบนี้ก็มีผลมากสำหรับอุบาสก-อุบาสิกา เพราะถือวาเปนการขวนขวายที่ตองอาศัยความพากเพียรมาก และปฏิบัติบูชา ซึ่งถือเปนการบูชาที่ยิ่งใหญ และพุทธองคกลาววาเปนยอดแหงการบูชา เพราะการบูชาเเบบนี้ สามารถชวยธำรงคหลักคำสอนของพระพุทธองคใหคงอยูไดตลอด เปนการบูชาที่เหมาะสำหรับฝายบรรพชิต ฝาย อุบาสก-อุบาสิกาจะบูชาดวยการปฏิบัติบูชาก็ได ในปจจุบันนี้การบูชาแบบที่สองนี้มีความหยอนยานมาก สาเหตุ เพราะเราลืมหนาทีี่ของตนเอง เมื่อลืมหนาที่ของตนเองนานเขา ก็นำไปสูการไมใสใจหลักธรรมหลักวินัย จึงปรากฏ เปนขาวเกี่ยวกับพระสงฆตามสื่อตางๆ อยูเปนประจำ บุคคลที่ควรบูชา ! การบูชานั้น เราบูชาที่ตัวบุคคล กับ บูชาคุณงามความดีของบุคคล ในการบูชาบุคคลนั้นนักปราชญ ราชบัณฑิตไดแบงบุคคลไว 3 พวก ดวยกัน คือ
  • 4. 4 ! บุคคลที่สูงดวยชาติ (ชาติวุฒิ) เปนผูมีที่มีชาติกำเนิดสูง เชน พระเจาจักรพรรดิ์ พระราชา พระราชินี และ พระบรมวงศานุวงศทุกๆ พระองค !!!!!!!! !!บุคคลที่สูงดวยวัย (วัยวุฒิ) เปนผูที่เกิดกอนเรา ทานเหลานี้เปนผูอาบน้ำรอนมากอนยอมไดรับการเรียน รูมากอน มี ปู-ยา, ตา-ยาย, พอ-แม, พี่ ปา นา อา หรือแมแตรุนพี่ เปนตน ! บุคคลที่สูงดวยคุณ (คุณวุฒิ) เปนผูท่ีประพฤติปฏิบัติธรรม หรือมีการศึกษาที่สูงพรอมทั้งมีความประพฤติ ที่ดีควบคูกัน เชน ครูอุปชฌายอาจารย พระอริยสงฆ พระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา ! ซึ่งบุคคลทั้ง 3 กลุมนี้ เราสามารถกระทำการบูชาไดทั้งสองอยาง คือแบบอามิสบูชาและแบบปฏิบัติบูชาไป พรอมๆ กันได ในพระสุตตันตะปฎก ขุททะกะนิกาย ธรรมบท เลมที่ 18 ขอที่ 303 ยอหนา 326 พระพุทธเจาทรง ตรัสเกี่ยวกับบุคคลที่ควรบูชาไว คือ ผูมีศรัทธาเชื่อมั่นในคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจา และผูมีศีล บริสุทธิ์ บุคคลที่สมควรสรางสถูปไวบูชา (ถูปารหบุคคล) ! บุคคลที่ควรบูชา คือ บุคคลที่มีคุณงามความดี ควรคาแกการระลึกถึง และยึดถือเปนแบบอยางในการ ประพฤติปฏิบัติตาม มีอยูดวยกันจำนวนมาก เชน พระพุทธเจา พระสงฆ พอ แม ฯลฯ อยางไรก็ดีพระพุทธเจาได ตรัสถึงบุคคลที่สมควรแกการสรางสถูปบูชาไวเพียง 4 จำพวก ไดแก @ 1. พระพุทธเจา เหตุที่พระพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายวา เมื่อมหาชน ยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถุปของพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสใน สถุป)นั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ! 2. พระปจเจกพุทธเจา เหตุที่พระปจเจกพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบาย วา เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระปจเจกพุทธเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสในสถูป นั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ! 3. พระอรหันต เหตุที่พระสาวกของพระพุทธเจาทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบาย วา เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระสาวกของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น พวกเขายังจิตให เลื่อมใสในสถูปนั้นแลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค ! 4. พระเจาจักรพรรดิ์ เหตุที่พระเจาจักรพรรดิ์ทรงเปนถูปารหบุคคลจำพวกหนึ่งนั้น ทรงมีพุทธาธิบายวา เมื่อมหาชนยังจิตใหเลื่อมใสวา นี่เปนสถูปของพระธรรมราชาผูทรงธรรมนั้น พวกเขายังจิตใหเลื่อมใสในสถูปนั้น แลว เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตก ยอมเขาถึงสุคติโลกสวรรค เจดียที่ควรกระทำการบูชาในพุทธศาสนา @ 1. พระธาตุเจดีย คือ เจดียที่สรางขึ้นเพื่อใชบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระธาตุอรหันต เชนพระ ธาตุพนม พระดอยสุเทพ ภูเขาทอง พระปฐมเจดีย เปนตน @ @ 2. พระธรรมเจดีย คือ เจดียที่สรางขึ้นเพื่อบรรจุพระธรรมวินัย เชน พระไตรปฎก หนังสือธรรม เปนตน ! 3. บริโภคเจดีย คือ สถานที่หรือสิ่งของทั้งหมดที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา เชน สังเวชนียสถานทั้ง 4 ตำบล ตนพระศรีมหาโพธิ์ พุทธบริขาร รอยพระพุทธบาท เปนตน ! 4. อุเทสิกเจดีย์ คือ วัตถุที่สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัย โดยไมมีการกำหนดรูปแบบที่ชัดเจน เชน พุทธรูป พระเครื่อง เปนตน
  • 5. 5 อานิสงสการบูชาบุคคลที่ควรบูชา ! ๑. ยังสัมมาทิฏฐิที่ยังไมเกิด ใหเกิดขึ้น  ! ๒. ยังสัมมาทิฏฐิที่เกิดขึ้นแลว ใหเจริญงอกงามยิ่งขึ้น  ! ๓. ทำใหมีกิริยามารยาท สุภาพออนโยน นารักนานับถือ  ! ๔. ทำใหจิตใจผองใส เพราะตรึกอยูในกุศลธรรมเสมอ  ! ๕. ทำใหสติสัมปชัญญะบริบูรณขึ้น เพราะมีความสำรวมระวังเปนการปองกันความประมาท  ! ๖. ปองกันความลืมตัวความหลงผิดได เพราะตระหนักอยูเสอมวาผูที่มีคุณธรรมสูง กวาตนยังมีอยู  ! ๗. ทำใหเกิดกำลังใจและอานุภาพอยางมหาศาล สามารถคุมครองปองกันตนใหพนจากอุปสรรคและภัย พาลตางๆ ได  ! ๘. เปนการกำจัดคนพาลใหพินาศไปโดยทางออม เพราะมีแตคนบูชาบัณฑิตผูมีคุณธรรม  ! ๙. เปนการเชิดชูบัณฑิตใหสูงเดน ทำใหทานสามารถบำเพ็ญกรณียกิจไดสะดวกกวางขวางยิ่งขึ้น @ @ เมื่อทานทั้งหลายทราบแลววา บุคคลท่ีเราควรบูชาและแสดงความนับถือนั้นมีใครบาง และอาการกิริยาที่ เราตองแสดงออกเกี่ยวกับการบูชาเราก็ไดทราบแลว แมกระทั่งการบูชาแบบไหนที่มีผลมากพระพุทธองคก็ไดกลาว ไวหมด แลวถาเราไมแสดงการบูชาหละจะมีโทษอะไรไหม ใน มังคลัตถทีปนี เลม 4 หนา 3 ความตอนหนึ่งวา ระหวางที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงธรรมแกสุภมาณพอยูนั้น ไดตรัสวา “...มาณพ สตรีหรือบุรุษบางคนในโลกนี้ เปนผูกระดาง (เยอหยิ่ง) ถือตัวจัด ไมกราบไหว บุคคลผูควรกราบไหว ไมลุกรับบุคคลผูควรลุกรับ ไมใหอาสนะแกบุคคลผูควรแกอาสนะ ไมให ทางแกบุคคลผูควรแกทาง ไมสักการะบุคคลผูควรสักการะ ไมทำความเคารพผูที่ตนควร ทำความเคารพ ไมนับถือบุคคลผูที่ตนควรนับถือ ไมบูชาบุคคลผูที่ตนควรบูชา บุคคลนั้นเบื้อง หนาแตตายเพราะกายแตกยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เพราะกรรมนั้น อันตนให บริบูรณแลวอยางนั้น สมาทานแลวอยางนั้น หากบุคคลนั้นไมเขาถึงอบายทุคติ วินิบาต นรก เบื้องหนาแตตายเพราะกายแตกไซร ถาเขามาสูความเปนมนุษย เกิดในที่ใด ๆ ในภายหลัง ก็จะเปนผูมีตระกูลต่ำในที่นั้นๆ มาณพขอที่บุคคลเปนผูกระดาง ถือตัว ฯลฯ ไมบูชาบุคคลที่ ควรบูชาเปนปฏิปทาเปนไปเพื่อมีสกุลต่ำ…” ! เมื่อเราทราบอยางนี้แลวก็ควรที่จะกระทำการบูชาบุคคลที่ควรบูชา ทั้งนี้โดยผานสื่อกลางคือคุณงามความดี ของบุคคลที่เราทำการบูชา เปรียบเสมือนการอาบน้ำที่ทุกคนตองอาบ เราไมอาบน้ำก็ไดจะเปนวันหรือเปนอาทิตย ก็ได แตเราสามารถทนอยูไดหรือไม และเวลาพบปะผูคนเขาจะทนกลิ่นเราไดไหม การเปนคนที่ไมมีการบูชาอะไร เลยก็เหมือนกัน แตทั้งนี้ใชวาเราจะบูชาทุกอยาง เราก็ตองมีสิ่งทีี่ควรเวนเหมือนกัน ซึ่งสิ่งที่เราไมควรบูชาก็มี ดังนี้ ส่ิงที่ไมควรบูชา @ ! ! ! 1. คนพาล คือไมยกยอง ไมเชิดชู ไมสรรเสริญ ไมสนับสนุน ในฐานะตางๆ 2. สิ่งที่เนื่องดวยคนพาล เชนรูปภาพ รูปปน ผลงาน ขาวของเครื่องใชตางๆ 3. สิ่งที่บูชาแลวไมเกิดสิริมงคล เชนรูปภาพดารา นักรอง และสื่อที่มุงไปทางอบายมุขทั้งหลาย 4. สิ่งที่บูชาแลวโง เชนตนไมใหญ ภูเขาสูง อาราม เพราะบูชาแลวไมกอใหเกิดปญญา
  • 6. 6 ! การบูชาบุคคลที่ควรบูชานั้น เปรียบเสมือนกลาไมที่ยังเล็กอยู  เมื่อเรานำไปปลูกจำเปนตองมีหลักค้ำไม ใหลม เพราะรากจะขาด หรือตายกอนฉันใด ผูที่หวังความเจริญกาวหนา ก็จำเปนตองบูชาบุคคลที่ควรบูชาไวเปน แบบอยางในการดำเนินชีวิต เปนหลักใจ เปนเครื่องปองกันความเห็นผิดและมิใหอกุศลกรรมตางๆ กลับมากำเริบ ขึ้นอีกฉันนั้น บุคคลที่จะกระทำการบูชาไดนั้น ในเบื้องตนตองมีธรรมะเกิดขึ้นในใจกอนเสมอ คือทุกคนไดเห็นความ ทุกข ที่มากอกวนใจอยูตลอดเวลา จากการมีทุกขมากก็ทำใหเกิดปญญา แตถาแกไมไดก็จะเกิดปญหาทันที มี ความรูวาความทุกขที่มีอยูตนจะตองแกไขอยางไร นั่นหมายความวาเราตองดูบุคคลตนแบบ เรียกวาผูควรแกการ บูชา ก็จะทำใหเราเกิดความศรัทธา เลื่อมใสในแนวทางการปฏิบัติ ซึ่งในที่สุดก็นำเราไปสูความสุข สภาวะเหลานี้ เปนธรรมะที่มาปรากฏใหเราไดเห็นอยูตลอดเวลา แตพวกเราไมสามารถแยกออกไดวามันคืออะไรบาง เพื่อเปน ปุคลาธิษฐานอาตมภาพขอยกนิทานที่ปรากฏในคัมภีรมงคลทีปนี ซึ่งรจนาโดยพระสิริมังคลาจารยมาสาธกให สาธุชนทั้งหลายไดสดับ ดำเนินความวา ! เมืองราชคฤห มีชางรอยดอกไมชื่อนายสุมนะ ไดนำดอกมะลิถวายพระเจาพิมพิสารกษัตริยเมืองราชคฤห ทุกวันๆ ละ ๘ ทะนาน ทาวเธอก็พระราชทานทรัพยใหวันละ ๘ กหาปณะตอบแทนมิไดขาด อยูมาวันหนึ่งนาย สุมนะไปเก็บดอกมะลิแลวกลับมา ระหวางทางไดพบพระพุทธเจากับหมูสงฆเขาไปในเมืองเพื่อจะบิณฑบาตโปรด สัตว นายสุมนะมีจิตศรัทธาเลื่อมใส คิดจะถวายดอกไมบูชาพระพุทธเจา ขณะนั้นไดคิดวา เมื่อเราไมไดถวายดอกไม แกพระราชาพระองคจะทรงกริ้ว แลวลงโทษมีอาญาเปนประการใดก็ตามเถิด อานิสงสที่เราบูชาแกพระพุทธเจานี้มี ผลอันประเสริฐทั้งในชาตินี้และชาติหนา ถาเราพึงถวายแกพระราชาก็จะมีผลเพียงแตในชาตินี้ คิดเชนนั้นแลวก็เกิด มีจิตยินดีศรัทธาในการทำพุทธบูชา นายสุมนะจึงกำเอาดอกมะลิสองกำมือโยนขึ้นไปในอากาศ ในการโยนแตละ ครั้งนั้นปรากฏวา ครั้งแรกดอกมะลิก็แผเปนตาขายอยูเบื้องบนของพระพุทธเจา ครั้งที่สองนั้นก็แผเปนตาขายอยู เบื้องขวาของพระพุทธองค ดอกไมสองกำมือที่โยนไปครั้งที่ ๓ นั้นก็แผเปนตาขายอยูเบื้องซาย ดอกไมสองกำมือที่ โยนไปครั้งที่ ๔ นั้นก็แผเปนตาขายอยูเบื้องหลัง ดังนั้นตาขายดอกมะลิจึงลอมองคของพระพุทธเจาอยู ๔ ดานเปด เฉพาะดานหนา พระองคเสด็จไปถึงไหนตาขายดอกไมทั้ง ๔ ดาน ก็ลอยตามพระองคไปถึงที่นั่น ผันกานเขาขางใน ผันดอกออกขางนอกทั้งสิ้นเปนอัศจรรยดังนี้ ชาวเมืองทั้งหลายไดเห็นแลวก็พากันเลื่อมใสกราบไหวบูชาศรัทธาใน พุทธคุณกันทั่วหนา ! ฝายนายสุมนะก็เกิดความปติยินดีในเครื่องสักการบูชาของตนแลวก็กลับบาน เลาเรื่องที่ไดทำพุทธบูชาให ภรรยาฟง ฝายภรรยาเปนผูไรปญญาจึงไมมีความยินดีอนุโมทนา กลับโกรธดาวาใหแกสามี แลวพาบุตรไปเฝา พระเจาพิมพิสารกราบทูลถึงเหตุการณที่สามีไดนำดอกไมที่ควรจะนำมาถวายแกพระราชาไปบูชาแดพระพุทธเจา หญิงนั้นก็ออกตัวกลัวความผิด กราบทูลแกพระราชาวา อันการกระทำของนายสุมนะนั้นจะบังเกิดในทางดีก็ตาม ใน ทางรายก็ตาม ขาพเจาจะไมขอรับดวย ขาพเจาขอหยาขาดจากนายสุมนะตั้งแตบัดนี้เปนตนไป พระราชาเปนผู เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เมื่อไดฟงดังนั้น ก็ดำริวาหญิงผูนี้เปนพาล หาความศรัทธาปสาทะในพระรัตนตรัยมิได แตก็ แสรงทำเปนพิโรธ แลวตรัสกับหญิงนั้นวา ดีละที่เจาหยาขาดจากสามี ตัวเราจะรูกิจอันควรทำอยางสาสมตอนาย สุมนะเอง จึงสงหญิงนั้นกลับไป สวนพระราชาก็เสด็จออกไปตอนรับพระพุทธเจา พระพุทธองคทรงรูวาพระเจา พิมพิสารมีพระทัยเลื่อมใสในการบูชา พระศาสดาทรงมีพระกรุณาจะสงเคราะหแกนายสุมนะ ทรงสงบาตรใหพระ เจาพิมพิสารแลวเสด็จทรงประทับนั่งที่หนาพระลาน พระเจาพิมพิสารก็ถวายทานแกพระพุทธเจา พระพุทธองคทรง กระทำภัตตกิจแลวก็ตรัสอนุโมทนาทานแสดงธรรมโปรดพระเจาพิมพิสารแลวก็ถวายพระพรลากลับสูวัดเวฬุวัน ดอกไมทั้งหลายเหลานั้นก็ลอมพระองคมาตราบเทาถึงพระวิหาร ดอกไมจึงไดตกเรี่ยรายอยูที่ซุมพระทวารนั่นแล ! ครั้งนั้นพระเจาพิมพิสารมีพระทัยเลื่อมใสในการทำพุทธบูชาจึงรับสั่งหานายสุมนะ เขามารับพระราชทาน ทรัพยทั้งหลาย ๗ สิ่ง สิ่งละ ๘ คือ ชาง ๘ มา ๘ ขาหญิง ๘ ขาชาย ๘ นารีรูปงาม ๘ บานสวย ๘ เงิน ๘ พัน
  • 7. 7 กหาปณะ นายสุมนะไดรับพระราชทานทรัพยเปนอันมากดวยผลที่ทำพุทธบูชา พระอานนทเถระจึงทูลถาม พระพุทธเจาวา นายสุมนะกระทำพุทธบูชานี้จะมีผลอานิสงสไปในภายภาคหนาเปนประการใด พระพุทธองคจึงตรัส วา ดูกรอานนท นายสุมนะกระทำพุทธบูชาครั้งนี้เทากับเปนการสละชีวิตบูชาตถาคต เพราะวาขณะนำดอกไมมา บูชามิรูวาพระราชาจะลงโทษหรือไมประการใด ดวยกุศลนี้ตอไปในภายหนานายสุมนะจะไมไปเกิดในอบายภูมิ ตลอดถึงแสนกัป จะรื่นเริงบันเทิงเสวยสุขอยูแตในมนุษยโลกและเทวโลกเทานั้น ครั้นในชาติสุดทายจะไดตรัสรูเปน พระปจเจกพุทธเจา มีนามวาพระสุมนะ เขาสูพระนิพพานเปนที่สุด ดังนี้ @ ดังนั้น การบูชา คือ การยกยอง เลื่อมใส ดวยความบริสุทธิ์ใจ ไมเสแสรงแกลงทำ นั่นหมายถึง กิริยา อาการสุภาพที่แสดงตอผูที่ควรบูชาทั้งตอหนาและลับหลัง เปนอุบายในการฝกตนเองใหมีความออนนอมถอมตน ไมเปนคนกระดาง ถือตัว เยอหยิ่งจองหอง ซึ่งมีอยู 3 ลักษณะ คือ การยกยอง การสักการะ และการนอบนอม ใน ทางปฏิบัตินั้นมี 2 วิธี คือ การบูชาดวยสิ่งของ เรียกวา อามิสบูชา และ การบูชาดวยการปฏิบัติตามคำสอน หรือ ตามแบบอยางที่ทานไดวางไว เรียกวา ปฏิบัติบูชา ซึ่งอยางหลังนี้พระพุทธเจาทรงยกยองวาเปนการบูชาที่มีผล มาก สงผลใหพระพุทธศาสนามีความมั่นคงและยั่งยืน ถาทานใดประสงคและปรารถนาที่จะอบรมตนเองใหเปนคนดี โดยมีบุคคลตนแบบ เหมือนเด็กนักเรียนถาอยากจะเกงมีคุณภาพในอนาคต ตองมีคุณครูที่เกงและมีคุณธรรมคอย เปนพี่เลี้ยง อุบาสก-อุบาสิกาก็เชนเดียวกัน ถามุงหวังความเจริญในชีวิตของตนก็ตองบูชาบุคคลที่ควรบูชา มีนัยดัง ไดอรรถาธิบายมา ! เทศนาปริโยสาเน ในกาลสิ้นสุดลงแหงพระธรรมเทศนานี้ ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเต ชะสา ขออำนาจแหงคุณพระศรีรัตนตรัย และกุศลผลบุญที่ทานทั้งหลายไดบำเพ็ญมาแลวตั้งแตในอดีตจนถึง ปจจุบันสมัย จงมารวมกันเปนมหัตเดชานุภาพ สนับสนุนสงเสริมใหทานทั้งหลาย ถึงพรอมดวยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนะสารสมบัติ ธรรมะสารสมบัติ คิดนึกปรารถนาสิ่งใดที่ชอบประกอบไปดวยธรรมแลวไซร ขอให ความปรารถนานั้นๆ จงพลันสำเร็จ จงพลันสำเร็จ จงพลันสำเร็จ ทุกประการ ! แสดงพระธรรมเทศนาในปูชากถา พอสมควรแกเวลา ขอสมมติยุติลงคงไวแตเพียงเทานี้ เอวัง ก็มีดวยประการฉะนี้
  • 8. 8 พระไตรปฎก เลมที่ ๒๓ พระสุตตันตะปฎก เลมที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต อัคคิสูตร วาดวยเรื่องไฟ (บูชายัญ) ! สังคมอินเดียสมัยกอนมีความเชื่อวา การบูชายัญเปนการบูชาที่มีผลมาก เพื่อเปนเกร็ดความรูเสริมใหกับ ญาติธรรมทั้งหลาย จึงนำนิทานชาดกมาประกอบไวทายเนื้อหา คือ ! สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันอารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลพระนคร สาวัตถี ก็สมัยนั้นแล อุคคะตะสะรีระพราหมณตระเตรียมมหายัญ โคผู ๕๐๐ ลูกโคผู ๕๐๐ ลูกโคเมีย ๕๐๐ แพะ๕๐๐ แกะ ๕๐๐ ถูกนำเขาไปผูกไวที่หลักเพื่อบูชายัญ ลำดับนั้น อุคคะตะสะรีระพราหมณไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาค ถึงที่ประทับ ไดปราศรัยกับพระผูมีพระภาค ครั้นผานการปราศรัยพอใหระลึกถึงกันไปแลว จึงนั่ง ณ ที่ควรสวนขาง หนึ่ง ครั้นแลว ! ไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอไฟ การปกหลัก บูชายัญ ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกรพราหมณ แมเราก็ไดฟงมาวา การกอไฟ การ ปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก แมครั้งที่ ๒ ฯลฯ แมครั้งที่ ๓ อุคคะตะสะรีระพราหมณก็ไดกราบทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอไฟ การปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก ฯ ! พ. ดูกรพราหมณ แมเราก็ไดฟงมาวา การกอไฟ การปกหลักบูชายัญมีผลมาก มีอานิสงสมาก ฯ ! อุ. ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขอความทั้งหมดของขาพระองค สมกันกับขอความของทานพระโคดม ฯ ! เมื่ออุคคะตะสะรีระพราหมณกราบทูลอยางนี้แลว ทานพระอานนท ไดกลาวกะอุคคะตะสะรีระพราหมณวา ดูกรพราหมณ ทานไมควรถามพระตถาคตอยางนี้วา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคไดสดับมาดังนี้วา การกอ ไฟ การปกหลักบูชายัญ มีผลมาก มีอานิสงสมาก แตทานควรถามพระตถาคตอยางนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ ก็ขา พระองคประสงคจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ขอพระผูมีพระภาคโปรดตักเตือนสั่งสอนขอที่จะพึงเปนไป เพื่อ ประโยชนเกื้อกูล เพื่อความสุขตลอดกาลนาน แกขาพระองคเถิด ลำดับนั้น อุคคะตะสะรีระพราหมณไดกราบทูล พระผูมีพระภาควา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคประสงคจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญขอทานพระโคดมโปรดตัก เตือนสั่งสอนขอที่จะพึงเปนไป เพื่อประโยชนเกื้อกูลเพื่อความสุขตลอดกาลนาน แกขาพระองคเถิด ฯ ! พ. ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนยอมเงื้อศาตรา ๓ ชนิด อัน เปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบาก ศาตรา ๓ ชนิดเปนไฉน คือ ศาตราทางกาย ๑ ศาตราทางวาจา ๑ ศาตราทางใจ ๑ ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมเกิดความ คิดอยางนี้วาตองฆาโคผูเทานี้ตัว ลูกโคผูเทานี้ตัวลูกโคเมียเทานี้ตัว แพะเทานี้ตัว แกะเทานี้ตัว เพื่อบูชายัญ เขาคิด วาจะทำบุญแตกลับทำบาป คิดวาจะทำกุศล กลับทำอกุศล คิดวาจะแสวงหาทางสุคติ กลับแสวงหาทางทุคติ ดูกร พราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตราทางใจขอที่ ๑ นี้ อัน เปนอกุศล มีทุกขเปนกำไรมีทุกขเปนวิบาก ฯ ! อีกประการหนึ่ง บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนที่เดียว ยอมกลาววาจา (สั่ง) อยางนี้วา จงฆาโคผูเทานี้ตัว ลูกโคผูเทานี้ตัว ลูกโคเมียเทานี้ตัว แพะเทานี้ตัว แกะเทานี้ตัว เพื่อบูชายัญ เขาสั่งวา จะทำบุญกลับทำบาป เขาสั่งวาจะทำกุศล กลับทำอกุศล เขาสั่งวาจะแสวงหาทางสุคติกลับแสวงหาทางทุคติ ดูกร
  • 9. 9 พราหมณ เมื่อบุคคลจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตราทางวาจาขอที่ ๒ นี้ อันเปนอกุศลมีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบาก ฯ ! อีกประการหนึ่ง บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญเบื้องตนทีเดียว ยอมลงมือดวยตนเอง กอน คือตองฆาโคผู ลูกโคผู ลูกโคเมียแพะ แกะ เพื่อบูชายัญ เขาลงมือวาจะทำบุญ กลับทำบาป ลงมือวาจะทำกุศล กลับทำอกุศล ลงมือวาจะแสวงหาทางสุคติ กลับแสวงหาทางทุคติ ดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลัก บูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียวยอมเงื้อศาตราทางกายขอที่ ๓ นี้ อันเปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปน วิบากดูกรพราหมณ บุคคลเมื่อจะกอไฟ ปกหลักบูชายัญ ในการบูชายัญ เบื้องตนทีเดียว ยอมเงื้อศาตรา ๓ อยางนี้ อันเปนอกุศล มีทุกขเปนกำไร มีทุกขเปนวิบากดูกรพราหมณ ทานพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟ ๓ กองนี้ ๓ กองเปน ไฉน ไฟคือราคะ ๑ ไฟคือโทสะ ๑ ไฟคือโมหะ ๑ ดูกรพราหมณ ก็เพราะเหตุไรจึงพึงละพึงเวน ไมพึงเสพไฟคือ ราคะนี้ เพราะบุคคลผูกำหนัดอันราคะครอบงำย่ำยีจิตยอมประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจได ครั้น ประพฤติทุจริตทางกายทางวาจาทางใจแลว เมื่อตายไปยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉะนั้น จึงพึงละพึงเวน ไมพึงเสพไฟคือราคะนี้ ก็เพราะเหตุไร จึงพึงละพึงเวน ไมพึงเสพไฟคือผูโกรธ อันโทสะครอบงำย่ำยีจิต ยอม ประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจไดโทสะนี้ เพราะบุคคลครั้นประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจแลว เมื่อตายไปยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉะนั้น จึงพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโทสะนี้ ก็เพราะเหตุไร จึง พึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโมหะนี้ เพราะบุคคลผูหลง อันโมหะครอบงำย่ำยีจิต ยอมประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจได ครั้นประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจแลว เมื่อตายไป ยอมเขาถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ฉะนั้น จึงพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟคือโมหะนี้ ดูกรพราหมณ ทานพึงละ พึงเวน ไมพึงเสพไฟ ๓ กองนี้แล ดูกรพราหมณ ไฟ ๓ กองนี้ ควรสักการะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ๓ กองเปนไฉน คือ ไฟคือ อาหุไนยบุคคล ๑ ไฟคือคหบดี ๑ ไฟคือทักขิไณยบุคคล ๑ ดูกรพราหมณ ก็ไฟคืออาหุไนยบุคคลเปนไฉน ดูกร พราหมณ คนในโลกนี้ คือ มารดาหรือบิดา เรียกวาไฟคืออาหุไนยบุคคล ขอนั้นเพราะอะไร เพราะบุคคลเกิดมาแต มารดาบิดานี้ ฉะนั้น ไฟคืออาหุไนยบุคคล จึงควรสักการะ เคารพนับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ก็ไฟคือ คหบดีเปนไฉน คนในโลกนี้ คือ บุตร ภรรยา ทาส หรือคนใช นี้เรียกวาไฟคือคหบดี ฉะนั้น ไฟคือคหบดีจึงควรสัก การะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ก็ไฟคือทักขิไณยบุคคลเปนไฉน สมณพราหมณในโลกนี้ งด เวนจากความมัวเมาประมาท ตั้งอยูในขันติและโสรัจจะ ฝกฝนจิตใจใหสงบ ดับรอนไดเปนเอก นี้เรียกวาไฟคือ ทักขิไณยบุคคล ฉะนั้น ไฟคือทักขิไณยบุคคลนี้ จึงควรสักการะ เคารพนับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ ดูกร พราหมณ ไฟ ๓ กองนี้แลควรสักการะ เคารพ นับถือ บูชา บริหารใหเปนสุขโดยชอบ สวนไฟที่เกิดแตไม พึงกอให โพลงขึ้น พึงเพงดู พึงดับ พึงเก็บไวตามกาลที่สมควร ฯ ! เมื่อพระผูมีพระภาคตรัสอยางนี้แลว อุคคะตะสะรีระพราหมณไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา ขาแตพระโค ดมผูเจริญ ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก ฯลฯขอทานพระโคดมผูเจริญ โปรดทรงจำขาพระองควา เปนอุบาสกผู ถึงสรณะตลอดชีวิตตั้งแตวันนี้เปนตนไป ขาแตพระโคดมผูเจริญ ขาพระองคนี้จะปลอยโคผู ๕๐๐ ลูกโคผู ๕๐๐ ลูก โคเมีย ๕๐๐ แพะ ๕๐๐ แกะ ๕๐๐ ใหชีวิตมัน พวกมันจะไดพากันไปกินหญาอันเขียวสด ดื่มน้ำเย็นสะอาด และรับ ลมอันเย็นสดชื่น ฯ
  • 10. 10 ประวัติผูบรรยาย @ ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ชื่อ@ ! การศึกษา@ ! ! ! ! บรรพชา@ ! ! ! อุปสมบท@ ! ! ! ! ! ! ! ที่อยูปจจุบัน @ หนาที่ปจจุบัน @ ! ! หนาที่ในอดีต @ หนาที่พิเศษ@ !! ! ! พระมหาเฉลิมเกียรติ จิรวฑฺฒโน นามสกุล แกวหอม ปจจุบันอายุ ๓๒ ป พรรษา ๑๒ (ปจจุบันเปน พระปลัด ฐานานุกรมของพระพิศาลศาสนกิจ) ๒๕๓๘ ! น.ธ.เอก,ป.ธ.๓ (สำนักเรียนวัดอริยวงศาราม จังหวัดราชบุรี) ๒๕๔๘ ! พธ.บ. (การเมืองการปกครอง) มหาจุฬาฯ วิทยาเขตสุรินทร ๒๕๕๒! ศศ.ม. (ยุทธศาสตรการพัฒนา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร ปจจุบันกำลังศึกษาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผูนำและ การบริหาร (Ph.D.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร ๒๕๓๗ ณ วัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ตำบลจรัส อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร พระอุดมญาณโมลี ปจจุบันเปนพระราชาคณะชั้นสมเด็จที่ สมเด็จพระมหาวีระวงศ์ (มานิต ถาวโร ป.ธ.๙) ที่ปรึกษาเจาคณะ ภาค ๑๑ ธรรมยุต วัดสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ เปนพระอุปชฌาย ๒๕๔๔ ณ อุโบสถวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร มีพระครูภาวนาวิทยาคม ปจจุบันเปนพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระพิศาลศาสนกิจ (เยื้อน ขนฺติพโล) จอ.ศีขรภูมิ (ธ) และรก.จจ.สุรินทร (ธ) เปนพระอุปชฌาย พระอาจารยวุฒิศักดิ์ วฑฺฒโน ปจจุบันเปนพระครูเจาคณะตำบลชั้นโทที่ พระครูไพโรจนวุฒิคุณ เจาอาวาสวัดเทพประทาน และ จต.บัวเชด (ธ) เปนพระกรรมวาจาจารย พระอาจารยวุฒิศักดิ์ สุทฺธิปฺโญ ปจจุบันเปน พระครูเจาอาวาสวัดราษฎรชั้นเอกที่ พระครูสุทธิปญญาภรณ จต.สนม(ธ) และ รก.จอ.ศีขรภูมิ (ธ) เปนพระอนุสาวนาจารย วัดปาโยธาประสิทธิ์ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร พระธรรมวิทยากรประจำสำนักปฏิบัติธรรมวัดปาโยธาประสิทธิ์ เลขานุการเจาคณะอำเภอศีขรภูมิ ธรรมยุต ผูชวยเจาอาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร ฝายศาสนศึกษา ๒๕๕๒ เปนรองผูอำนวยการ รร.เทพประทานจุฬามณีวิทยา (รร.การกุศลในวัด) พระปาฏิโมกข, พระนักเทศน, พระวิทยากร, พระนวกรรม ! !