SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์




      1. เลนส์ใกล้วัตถุ ( Objective Lens) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุนใช้ขยายภาพของวัตถุ
      2. แท่นวางสไลด์ ( Stage ) ใช้วางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา ตรงกลางมีรูให้แสงจากหลอดไฟ
           ส่องผ่านวัตถุ
3. หลอดไฟ            ( Lamp ) สาหรับให้แสงส่องสว่างเพื่อดูวัตถุ
4. ฐาน          ( Base ) ทาหน้าที่รองรับน้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่างสี่เหลี่ยมหรือวงกลม
           ที่ฐานจะมีปุ่มสาหรับปิดเปิดหลอดไฟ
5. เลนส์ใกล้ตา          ( Ocular Lens ) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลากล้อง มีตัวเลขแสดงกาลังขยายอยู่ด้านบน
      6. แขนกล้อง ( Arm ) เป็นส่วนยึดลากล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง

     7. ปุ่มปรับภาพหยาบ ( Coarse Adjustment Knob ) ใช้เลื่อนตาแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่
        ในระยะโฟกัสก็จะมองเห็นภาพได้
     8. ปุ่มปรับภาพละเอียด ( Fine Adjustment Knob) ใช้ปรับภาพเพื่อให้ได้ภาพคมชัดยิ่งขึ้นหลังจาก
        ปรับปุ่มปรับภาพหยาบ
     กาลังขยายของภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากผลคูณกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
     กับกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา คือ
            กาลังขยายของภาพ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
ใบความรู้ที่ 1.2 การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง

                             ขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง
   1.   วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่าเสมอเพื่อให้ลากล้องตั้งตรง
   2.   หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ อันที่มีกาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงกับลากล้อง
   3.   เปิดหลอดไฟให้แสงผ่านเข้าลากล้อง
   4.   นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่แสงผ่าน แล้วค่อยๆ หมุนปุ่ม
        ปรับภาพหยาบให้ลากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับ
        กระจกปิดสไลด์
     5. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลากล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะ
ศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับปุ่มภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไปมาช้าๆ
เพื่อให้สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวลากล้อง
     6. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกาลังขยายสูงขึ้นเข้ามาในแนวลากล้อง
        และไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น



                               การเก็บรักษากล้องจุลทรรศน์แบบแสง
                               แบบแสง
   1. การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง และอีกมือหนึ่งวางที่ฐานและต้องให้ลากล้องตั้งตรง
เสมอ          เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ที่สามารถถอดออกได้ง่าย
   2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทาให้แท่นวางเกิดสนิม และทาให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้น
อาจเกิดเชื้อราที่เลนส์ได้
   3. ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลง
       เพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทาให้เลนส์แตกได้
   4. ในการทาความสะอาด ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ให้ใช้กระดาษสาหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น
   5. เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด
ใบความรู้ที่ 2.1
                         ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์

ส่วนประกอบของเซลล์
        1. ผนังเซลล์ ( Cell Wall ) เป็นส่วนประกอบชั้นนอกสุดของเซลล์พืช และเป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต
ประกอบด้วยสารหลายชนิด เช่น เซลลูโลส, คิวติน, เพกติน ลิกนิน , ซูเบอริน ผนังเซลล์มีลักษณะเป็นรูพรุน
ทาหน้าที่เสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปร่างได้ ผนังเซลล์มีสมบัติยอมให้สารแทบ
ทุกชนิด ผ่านเข้าออกได้และมีเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น




                                             ผนังเซลล์


           2. เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane หรือ plasma membrane ) มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ ประกอบด้วย
สารไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็กๆ ทาให้สามารถจากัดขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน หรือเซมิเพอเมียเบิลเมมเบรน (Semipermeable membrane)
เยื่อหุ้มเซลล์

       เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่
           1) ห่อหุ้มส่วนประกอบภายในเซลล์ให้คงรูปอยู่ได้
           2) ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ทาให้ปริมาณของสารต่าง ๆ
        ภายในเซลล์พอเหมาะ
           3) เป็นตาแหน่งที่มีการติดต่อระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก

       3. ไซโทพลาซึม ( Cytoplasm ) มีลักษณะเป็นของเหลว ประกอบด้วยสารที่สาคัญปนอยู่ คือ
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และเกลือแร่ต่างๆ รวมทั้งของเสียที่เกิดขึ้น ไซโทพลาซึมเป็นศูนย์กลางการ
ทางานของเซลล์ เกี่ยวกับเมตาโบลิซึม ทั้งกระบวนการสร้างและสลายอินทรียสาร ไซโทพลาซึมประกอบด้วย
ส่วนประกอบภายในที่อาจเรียกว่า อวัยวะของเซลล์ organelle มีหน้าที่แตกต่างกัน ได้แก่
         1) ร่างแหเอนโดพลาซึมหรือเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (endoplasmic reticulum) มีทั้งชนิดเรียบ
และชนิดขรุขระ ทาหน้าที่ขนส่งสารภายในเซลล์




                                         ร่างแหเอนโดพลาซึม
           2) กอลจิคอมเพลกซ์ ( golgi complex หรือ golgi bodies หรือ golgi apparatus) เป็นที่สะสม
โปรตีนเพื่อส่งออกนอกเซลล์
            3) ไมโทคอนเดรีย ( mitochondria ) มีลักษณะเป็นก้อนกลมๆ มีผนังหุ้มหนาที่ประกอบด้วยเยื่อ
2 ชั้น มีหน้าที่เผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์




                                    ไมโทคอนเดรีย
4) คลอโรพลาสต์ ( chloroplast) พบเฉพาะในเซลล์พืชมีหน้าที่ดูดพลังงานแสง เพื่อใช้ใน
กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง ( กระบวนการสร้างอาหารของพืช )




                                      คลอโรพลาสต์
       5) แวคิวโอ ( vacuole ) มีขนาดใหญ่มากในเซลล์พืช มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหุ้มบางๆ และเป็นที่
สะสมสารต่างๆ มีน้าเป็นส่วนใหญ่ เรียกว่า เซลล์แซพ ( cell sap ) มีเกลือ น้าตาล และสารเคมีอื่นๆ ละลายอยู่
ภายใน




                                        แวคิวโอล

         4. นิวเคลียส ( Nucleus ) มีลักษณะค่อนข้างกลม เป็นโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ตรงกลางเซลล์
ทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ ถูกควบคุมโดยคาสั่งจากนิวเคลียสมีส่วนประกอบ คือ
           1) เยื่อหุ้มนิวเคลียส ( nuclear membrane)
           2) นิวคลีโอพลาซึม ( nucleoplasm ) คือ ส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส ประกอบด้วย
นิวคลิโอลัส ( Nucleolus ) เป็นแหล่งสังเคราะห์และรวบรวมกรดไรโบนิวคลีอิค ( ribonucleic acid )
เรียกย่อว่า RNA ทาหน้าที่นาคาสั่งจากนิวเคลียสไปยังเซลล์ส่วนอื่นๆ และสร้างไรโบโซมเพื่อไปทาหน้าที่
สังเคราะห์โปรตีนโครมาติน (Chromatin ) คือ ร่างแหโครโมโซม โครโมโซมประกอบด้วย DNA
( Deoxyribo nucleic acid ) หรือยีน ( Gene ) และโปรตีนหลายชนิด ยีนเป็นตัวควบคุมการแสดงออกของ
ลักษณะต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตเป็นตัวถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ไปสู่ลูกหลาน
         หน้าที่ของนิวเคลียส
-   เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์
       -   เป็นแหล่งสังเคราะห์ DNA และ RNA
       -   ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
       -   ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน
                     ใบงานที่ 2.1 ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์   นิวเคลียส

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง และตอบคาถามต่อไปนี้

   1. ส่วนประกอบส่วนใดของเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์
    ก. คลอโรพลาสต์ ข. นิวเคลียส
    ค. ออร์แกเนลล์ ง. ไมโทคอนเดรีย
   2. ข้อใดคือรงควัตถุสีเขียวที่สามารถพบอยู่ในคลอโรพลาสต์
    ก. คลอโรฟิลล์ ข. เซลลูโลส
    ค. แคโรทีนอยด์ ง. โครโมโซม
   3. ทุกข้อเป็นความสาคัญของนิวเคลียส ยกเว้นข้อใด
    ก. ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
    ข. ควบคุมการทางานของเซลล์
    ค. ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร
    ง. เป็นที่สร้างสารพันธุกรรม
   4. ออร์แกเนลล์ที่พบได้เฉพาะในเซลล์พืช คือข้อใด
    ก. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ ข. คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส
    ค. นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย ง. กอลจิบอดี แวคิวโอล
   5. ส่วนประกอบใดที่ทาหน้าที่ป้องกันส่วนต่างๆ ที่อยู่ภายในเซลล์ของพืช
    ก. ผนังเซลล์ ข. คลอโรพลาสต์
    ค. ไมโทคอนเดรีย ง. กอลจิบอดี
   6. คลอโรพลาสต์เกี่ยวข้องกับกระบวนการ                                          ของพืช
   7. ส่วนประกอบใดที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
   8. แวคิวโอล ทาหน้าที่
   9. ในไซโทพลาซึมประกอบด้วยอะไรบ้าง (บอกมา อย่างน้อย 3 ชนิด)

   10. DNA อยู่ในส่วนใดของเซลล์
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1

More Related Content

What's hot

วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 

What's hot (20)

วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 

Viewers also liked

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
rutchadaphun123
 

Viewers also liked (10)

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar to ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1

ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
Darika Kanhala
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
Chidchanok Puy
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
Onin Goh
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Prangwadee Sriket
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
korakate
 

Similar to ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1 (20)

ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
4
44
4
 
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartokMicroscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
Microscopy, cell and function By pitsanu duangkartok
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Cell
CellCell
Cell
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 

ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 1. เลนส์ใกล้วัตถุ ( Objective Lens) จะติดอยู่เป็นชุดกับจานหมุนใช้ขยายภาพของวัตถุ 2. แท่นวางสไลด์ ( Stage ) ใช้วางสไลด์ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา ตรงกลางมีรูให้แสงจากหลอดไฟ ส่องผ่านวัตถุ 3. หลอดไฟ ( Lamp ) สาหรับให้แสงส่องสว่างเพื่อดูวัตถุ 4. ฐาน ( Base ) ทาหน้าที่รองรับน้าหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่างสี่เหลี่ยมหรือวงกลม ที่ฐานจะมีปุ่มสาหรับปิดเปิดหลอดไฟ 5. เลนส์ใกล้ตา ( Ocular Lens ) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลากล้อง มีตัวเลขแสดงกาลังขยายอยู่ด้านบน 6. แขนกล้อง ( Arm ) เป็นส่วนยึดลากล้องและฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง 7. ปุ่มปรับภาพหยาบ ( Coarse Adjustment Knob ) ใช้เลื่อนตาแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ ในระยะโฟกัสก็จะมองเห็นภาพได้ 8. ปุ่มปรับภาพละเอียด ( Fine Adjustment Knob) ใช้ปรับภาพเพื่อให้ได้ภาพคมชัดยิ่งขึ้นหลังจาก ปรับปุ่มปรับภาพหยาบ กาลังขยายของภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากผลคูณกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กับกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา คือ กาลังขยายของภาพ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
  • 2. ใบความรู้ที่ 1.2 การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง ขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบแสง 1. วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่าเสมอเพื่อให้ลากล้องตั้งตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ อันที่มีกาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงกับลากล้อง 3. เปิดหลอดไฟให้แสงผ่านเข้าลากล้อง 4. นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นของวัตถุ ให้วัตถุอยู่กึ่งกลางบริเวณที่แสงผ่าน แล้วค่อยๆ หมุนปุ่ม ปรับภาพหยาบให้ลากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับ กระจกปิดสไลด์ 5. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลากล้อง พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะ ศึกษา แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปรับปุ่มภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัด อาจเลื่อนสไลด์ไปมาช้าๆ เพื่อให้สิ่งที่ต้องการศึกษามาอยู่กลางแนวลากล้อง 6. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกาลังขยายสูงขึ้นเข้ามาในแนวลากล้อง และไม่ควรขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น การเก็บรักษากล้องจุลทรรศน์แบบแสง แบบแสง 1. การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง และอีกมือหนึ่งวางที่ฐานและต้องให้ลากล้องตั้งตรง เสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ที่สามารถถอดออกได้ง่าย 2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทาให้แท่นวางเกิดสนิม และทาให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้น อาจเกิดเชื้อราที่เลนส์ได้ 3. ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้นเท่านั้น ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทาให้เลนส์แตกได้ 4. ในการทาความสะอาด ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ให้ใช้กระดาษสาหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น 5. เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออก เช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด
  • 3. ใบความรู้ที่ 2.1 ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ 1. ผนังเซลล์ ( Cell Wall ) เป็นส่วนประกอบชั้นนอกสุดของเซลล์พืช และเป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ประกอบด้วยสารหลายชนิด เช่น เซลลูโลส, คิวติน, เพกติน ลิกนิน , ซูเบอริน ผนังเซลล์มีลักษณะเป็นรูพรุน ทาหน้าที่เสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปร่างได้ ผนังเซลล์มีสมบัติยอมให้สารแทบ ทุกชนิด ผ่านเข้าออกได้และมีเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ ( Cell membrane หรือ plasma membrane ) มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ ประกอบด้วย สารไขมันและโปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็กๆ ทาให้สามารถจากัดขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ดังนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน หรือเซมิเพอเมียเบิลเมมเบรน (Semipermeable membrane)
  • 4. เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่ 1) ห่อหุ้มส่วนประกอบภายในเซลล์ให้คงรูปอยู่ได้ 2) ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ทาให้ปริมาณของสารต่าง ๆ ภายในเซลล์พอเหมาะ 3) เป็นตาแหน่งที่มีการติดต่อระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก 3. ไซโทพลาซึม ( Cytoplasm ) มีลักษณะเป็นของเหลว ประกอบด้วยสารที่สาคัญปนอยู่ คือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และเกลือแร่ต่างๆ รวมทั้งของเสียที่เกิดขึ้น ไซโทพลาซึมเป็นศูนย์กลางการ ทางานของเซลล์ เกี่ยวกับเมตาโบลิซึม ทั้งกระบวนการสร้างและสลายอินทรียสาร ไซโทพลาซึมประกอบด้วย ส่วนประกอบภายในที่อาจเรียกว่า อวัยวะของเซลล์ organelle มีหน้าที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) ร่างแหเอนโดพลาซึมหรือเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (endoplasmic reticulum) มีทั้งชนิดเรียบ และชนิดขรุขระ ทาหน้าที่ขนส่งสารภายในเซลล์ ร่างแหเอนโดพลาซึม 2) กอลจิคอมเพลกซ์ ( golgi complex หรือ golgi bodies หรือ golgi apparatus) เป็นที่สะสม โปรตีนเพื่อส่งออกนอกเซลล์ 3) ไมโทคอนเดรีย ( mitochondria ) มีลักษณะเป็นก้อนกลมๆ มีผนังหุ้มหนาที่ประกอบด้วยเยื่อ 2 ชั้น มีหน้าที่เผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ไมโทคอนเดรีย
  • 5. 4) คลอโรพลาสต์ ( chloroplast) พบเฉพาะในเซลล์พืชมีหน้าที่ดูดพลังงานแสง เพื่อใช้ใน กระบวน การสังเคราะห์ด้วยแสง ( กระบวนการสร้างอาหารของพืช ) คลอโรพลาสต์ 5) แวคิวโอ ( vacuole ) มีขนาดใหญ่มากในเซลล์พืช มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหุ้มบางๆ และเป็นที่ สะสมสารต่างๆ มีน้าเป็นส่วนใหญ่ เรียกว่า เซลล์แซพ ( cell sap ) มีเกลือ น้าตาล และสารเคมีอื่นๆ ละลายอยู่ ภายใน แวคิวโอล 4. นิวเคลียส ( Nucleus ) มีลักษณะค่อนข้างกลม เป็นโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ตรงกลางเซลล์ ทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ ถูกควบคุมโดยคาสั่งจากนิวเคลียสมีส่วนประกอบ คือ 1) เยื่อหุ้มนิวเคลียส ( nuclear membrane) 2) นิวคลีโอพลาซึม ( nucleoplasm ) คือ ส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส ประกอบด้วย นิวคลิโอลัส ( Nucleolus ) เป็นแหล่งสังเคราะห์และรวบรวมกรดไรโบนิวคลีอิค ( ribonucleic acid ) เรียกย่อว่า RNA ทาหน้าที่นาคาสั่งจากนิวเคลียสไปยังเซลล์ส่วนอื่นๆ และสร้างไรโบโซมเพื่อไปทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนโครมาติน (Chromatin ) คือ ร่างแหโครโมโซม โครโมโซมประกอบด้วย DNA ( Deoxyribo nucleic acid ) หรือยีน ( Gene ) และโปรตีนหลายชนิด ยีนเป็นตัวควบคุมการแสดงออกของ ลักษณะต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตเป็นตัวถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ไปสู่ลูกหลาน หน้าที่ของนิวเคลียส
  • 6. - เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์ - เป็นแหล่งสังเคราะห์ DNA และ RNA - ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ - ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน ใบงานที่ 2.1 ส่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ นิวเคลียส คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง และตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ส่วนประกอบส่วนใดของเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ก. คลอโรพลาสต์ ข. นิวเคลียส ค. ออร์แกเนลล์ ง. ไมโทคอนเดรีย 2. ข้อใดคือรงควัตถุสีเขียวที่สามารถพบอยู่ในคลอโรพลาสต์ ก. คลอโรฟิลล์ ข. เซลลูโลส ค. แคโรทีนอยด์ ง. โครโมโซม 3. ทุกข้อเป็นความสาคัญของนิวเคลียส ยกเว้นข้อใด ก. ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ข. ควบคุมการทางานของเซลล์ ค. ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร ง. เป็นที่สร้างสารพันธุกรรม 4. ออร์แกเนลล์ที่พบได้เฉพาะในเซลล์พืช คือข้อใด ก. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ ข. คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส ค. นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย ง. กอลจิบอดี แวคิวโอล 5. ส่วนประกอบใดที่ทาหน้าที่ป้องกันส่วนต่างๆ ที่อยู่ภายในเซลล์ของพืช ก. ผนังเซลล์ ข. คลอโรพลาสต์ ค. ไมโทคอนเดรีย ง. กอลจิบอดี 6. คลอโรพลาสต์เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ของพืช 7. ส่วนประกอบใดที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน 8. แวคิวโอล ทาหน้าที่ 9. ในไซโทพลาซึมประกอบด้วยอะไรบ้าง (บอกมา อย่างน้อย 3 ชนิด) 10. DNA อยู่ในส่วนใดของเซลล์