SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
“ พระราชดารัส”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสาคัญของการ
อยู่รอดของป่าไม้เป็นอย่างยิ่ง ทรงเสนออุปกรณ์อันเป็นเครื่องมือที่
จะใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ที่ได้ผลดียิ่งกล่าวคือ
ปัญหาสาคัญที่เป็นตัวแปรแห่งความอยู่รอดของป่าไม้นั้น น้า คือสิ่ง
ที่ขาดไม่ได้โดยแท้
ฝายชะลอน้า
    ฝายแม้ว เป็นชื่อเรียก โครงการตามแนวพระราชดาริ เกี่ยวกับ
วิศวกรรม แบบพื้นบ้าน ฝายแม้วเป็นฝายชะลอน้ากึ่งถาวรประเภท
หนึ่ง ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น
เช่นกิ่งไม้ ก้อนหิน เพื่อกั้นชะลอน้าในลาธาร หรือทางน้าเล็กๆ ให้
ไหลช้าลง และขังอยู่ในพื้นที่นานพอที่จะพื้นที่รอบๆจะได้ดูดซึมไปใช้
เป็นการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เกิดความชุ่มชื้นมากพอที่จะ
พัฒนาการเป็นป่าสมบูรณ์ขึ้นได้ ฝายแม้วยังอาจใช้เพื่อการทดน้า ให้มี
ระดับสูงพอที่จะดึงน้าไปใช้ในคลองส่งน้าได้ในฤดูแล้ง
โครงการจัดสร้างฝายชะลอน้า เศรษฐกิจผสมผสาน ตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ บริเวณเทือกเขาพระ – เขาสูง หนองบัว นครสวรรค์ นายปรีชา เรืองจันทร์
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานพิธีเปิดโครงการจัดสร้างฝายชะลอน้า
ปล่อยน้าพันธุ์ปลา ปลูกป่า ปลูกหญ้าแฝก และขุดลอกคลอง ตามโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ บริเวณเทือกเขาพระเขาสูง อาเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์
สืบเนื่องจากพระครูวาปีปทุมรักษ์ (ปัจจุบัน พระนิภากรโสภณ) เจ้าคณะอาเภอหนองบัว
เจ้าอาวาสวัดหนองกลับ ตาบลหนองบัว ร่วมกับชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม และราษฎรอาเภอหนองบัว ได้มีความพยายามที่จะรักษาแหล่งน้าธรรมชาติ
ฟื้นฟูป่าไม้ สภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้สมบูรณ์คงเดิม ประกอบกับในปี พ.ศ.2536
พระครูวาปีปทุมรักษ์ (พระนิภากรโสภณ) ได้มีหนังสือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาสมเด็จพระ
นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และวันที่ 25 มกราคม 2539 สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงรับโครงการดังกล่าวไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ โดยทรงเป็นพระประสงค์จะพลิกฟื้นคืนป่า คืนชีวิตสัตว์ป่า ผืนน้า ให้
แผ่นดินและให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ต้นน้าลาธาร ของอาเภอหนองขัว นับเป็นพระ
มหากรุณาธิคุณอย่างใหญ่หลวง ที่ได้ทรงช่วยเหลือชาวหนองบัว ให้พ้นจากความแห้งแล้ง
เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา “12 สิงหาคม 2555” นี้
อาเภอหนองบัว ร่วมกับ มณฑลทหารบกที่ 31 ส่วนราชการ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาเภอหนองบัวจึงจัดทาโครงการดังกล่าวขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา “12 สิงหาคม 2555” เพื่อเป็นการ
สนองพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงห่วงใยป่าไม้ และ
ต้นน้าลาธาร เพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าสีเขียว ลดภาวะโลกร้อน เพื่อสร้างจิตสานึก และ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าแก่ประชาชน
ฝายชะลอน้ากับระบบนิเวศ
ของล้าน้า
จากทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยการใช้ทรัพยากรน้าให้
เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการสร้างแนวป้องกันไฟเปียก (Wet Fire Break) หนึ่งใน
การวิธีการดังกล่าวคือการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นหรือที่เรียกว่า Check Dam เพื่อ
ปิดกั้นร่องน้าหรือลาธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ ให้เก็บกักน้าและตะกอนดินไว้
บางส่วน โดยน้าที่เก็บไว้จะซึมเข้าไปสะสมในดิน ทาให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายเข้าไป
ทั้งสองฝั่งน้า กลายเป็นป่าเปียก(มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๕) สานักงานคณะกรรมการ
พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.)(๒๕๕๐) กล่าว
ไว้ว่า ฝายชะลอน้า ฝายต้นน้าลาธาร ฝายกั้นน้า ฝายแม้ว หรือฝายชะลอความชุ่มชื้น
ต่างก็คือสิ่งเดียวกัน เรียกด้วยภาษาอังกฤษว่า Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือ
กั้นทางเดินของลาน้า และจากการประชุม กปร.ครั้งที่ ๑/๒๕๔๗ ได้มีการแจ้งในที่
ประชุมทราบถึงพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับ
การก่อสร้างฝายชะลอน้า ตามโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ว่าควรมีการขยายให้
ครอบคลุมทุกพื้นที่
จากกระแสดังกล่าวได้มีทั้งหน่วยงานภาครัฐ
และเอกชน จัดทาโครงการในการสร้างฝาย
ชะลอน้าหลายพันฝาย โดยมีวัตถุประสงค์คือ
๑) เพื่อชะลอการไหล ลดความรุนแรงของ
กระแสน้าและลดการชะล้างพังทลายของตลิ่ง
๒) ช่วยให้น้าอยู่ในลาห้วยนานขึ้นโดยเฉพาะ
ในฤดูแล้ง ๓) ช่วยดักตะกอนที่ไหลมากับน้า
ลดการตื้นเขินที่ปลายน้า ทาให้น้าใสและมี
คุณภาพดีขึ้น ๔) ช่วยให้ดินชุ่มชื้น ป่ามีความ
อุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
ให้สัตว์น้าและสัตว์ป่า ได้อาศัยน้าในการ
ดารงชีวิต ๕
คืนสังคมพืชให้แก่เนินเขา/ภูเขาหัวโล้น ๖) เมื่อดินชื้น ป่าก็ชื้น กลายเป็นแนวกัน
ไฟลดความรุนแรงของไฟป่าได้จากวัตถุประสงค์ดังกล่าวมีงานการศึกษาวิจัย
หลายชิ้นที่สนับสนุนข้อดีของการสร้างฝายชะลอน้า เช่น งานวิจัยที่ศูนย์พัฒนา
โครงการหลวงห้วยลึก อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในช่วงฤดูแล้ง
ฝายชะลอน้า สามารถลดอัตราการไหลของน้าในลาธาร
๒) การหมุนเวียนน้าไปสัมผัสกับอากาศที่น้อยลงยังทาให้ออกซิเจนที่ละลายใน
น้าน้อยลงด้วย ๓) ตะกอนที่สะสมอยู่ท้ายฝายจะเปลี่ยนแปลงทาให้สภาพพื้น
ท้องน้าเปลี่ยนไป คือ จากที่ควรจะเป็นกรวด หินและทราย ก็จะเปลี่ยนเป็น
ตะกอนดินและโคลนแทน ทาให้สังคมของสัตว์ที่อยู่ตามหน้าดินเปลี่ยนไป
ส่งผลกระทบไปถึงห่วงโซ่อาหาร อีกทั้งน้าขุ่นขึ้นส่งผลให้พืชน้าสังเคราะห์แสง
ลดลง และตะกอนที่สะสมมากขึ้นเรื่อยๆ เกิดการย่อยสลายของแบคทีเรียมากขึ้น
ทาให้มีค่าบีโอดี (Biological Oxygen Demand: BOD) สูงขึ้น และยังทาให้น้ามี
ค่าความเป็นกรดมากขึ้น
                                         เด็กหญิง ศุภนุช มีวงษ์สม เลขที่ 36 ม.4/7

More Related Content

What's hot

โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติโครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติPraew Choosanga
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกbee-28078
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริYuan Yuan'
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกmint123n
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่tnnpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำmaytakul
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหารโครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหารsohmomo
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกpeeerapeepan
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินLittleZozind
 

What's hot (14)

โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติโครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
เศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง ฝายกั้นน้ำ
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหารโครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร
โครงการแหลมผักเบี้ย หนองหาร
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 

Similar to โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริYuan Yuan'
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง0857099227
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 

Similar to โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง (20)

โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
Forest
ForestForest
Forest
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวงโครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
โครงการในพระราชดำริ ป่าสงวนขุนแม่กวง
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 

โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. “ พระราชดารัส” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสาคัญของการ อยู่รอดของป่าไม้เป็นอย่างยิ่ง ทรงเสนออุปกรณ์อันเป็นเครื่องมือที่ จะใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ที่ได้ผลดียิ่งกล่าวคือ ปัญหาสาคัญที่เป็นตัวแปรแห่งความอยู่รอดของป่าไม้นั้น น้า คือสิ่ง ที่ขาดไม่ได้โดยแท้
  • 2.
  • 3. ฝายชะลอน้า ฝายแม้ว เป็นชื่อเรียก โครงการตามแนวพระราชดาริ เกี่ยวกับ วิศวกรรม แบบพื้นบ้าน ฝายแม้วเป็นฝายชะลอน้ากึ่งถาวรประเภท หนึ่ง ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่นกิ่งไม้ ก้อนหิน เพื่อกั้นชะลอน้าในลาธาร หรือทางน้าเล็กๆ ให้ ไหลช้าลง และขังอยู่ในพื้นที่นานพอที่จะพื้นที่รอบๆจะได้ดูดซึมไปใช้ เป็นการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เกิดความชุ่มชื้นมากพอที่จะ พัฒนาการเป็นป่าสมบูรณ์ขึ้นได้ ฝายแม้วยังอาจใช้เพื่อการทดน้า ให้มี ระดับสูงพอที่จะดึงน้าไปใช้ในคลองส่งน้าได้ในฤดูแล้ง
  • 4. โครงการจัดสร้างฝายชะลอน้า เศรษฐกิจผสมผสาน ตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ บริเวณเทือกเขาพระ – เขาสูง หนองบัว นครสวรรค์ นายปรีชา เรืองจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานพิธีเปิดโครงการจัดสร้างฝายชะลอน้า ปล่อยน้าพันธุ์ปลา ปลูกป่า ปลูกหญ้าแฝก และขุดลอกคลอง ตามโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ บริเวณเทือกเขาพระเขาสูง อาเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ สืบเนื่องจากพระครูวาปีปทุมรักษ์ (ปัจจุบัน พระนิภากรโสภณ) เจ้าคณะอาเภอหนองบัว เจ้าอาวาสวัดหนองกลับ ตาบลหนองบัว ร่วมกับชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และราษฎรอาเภอหนองบัว ได้มีความพยายามที่จะรักษาแหล่งน้าธรรมชาติ ฟื้นฟูป่าไม้ สภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้สมบูรณ์คงเดิม ประกอบกับในปี พ.ศ.2536 พระครูวาปีปทุมรักษ์ (พระนิภากรโสภณ) ได้มีหนังสือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และวันที่ 25 มกราคม 2539 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงรับโครงการดังกล่าวไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจาก
  • 5. พระราชดาริ โดยทรงเป็นพระประสงค์จะพลิกฟื้นคืนป่า คืนชีวิตสัตว์ป่า ผืนน้า ให้ แผ่นดินและให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่ต้นน้าลาธาร ของอาเภอหนองขัว นับเป็นพระ มหากรุณาธิคุณอย่างใหญ่หลวง ที่ได้ทรงช่วยเหลือชาวหนองบัว ให้พ้นจากความแห้งแล้ง เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา “12 สิงหาคม 2555” นี้ อาเภอหนองบัว ร่วมกับ มณฑลทหารบกที่ 31 ส่วนราชการ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาเภอหนองบัวจึงจัดทาโครงการดังกล่าวขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา “12 สิงหาคม 2555” เพื่อเป็นการ สนองพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ทรงห่วงใยป่าไม้ และ ต้นน้าลาธาร เพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าสีเขียว ลดภาวะโลกร้อน เพื่อสร้างจิตสานึก และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่ป่าแก่ประชาชน
  • 7. จากทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยการใช้ทรัพยากรน้าให้ เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการสร้างแนวป้องกันไฟเปียก (Wet Fire Break) หนึ่งใน การวิธีการดังกล่าวคือการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นหรือที่เรียกว่า Check Dam เพื่อ ปิดกั้นร่องน้าหรือลาธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ ให้เก็บกักน้าและตะกอนดินไว้ บางส่วน โดยน้าที่เก็บไว้จะซึมเข้าไปสะสมในดิน ทาให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยายเข้าไป ทั้งสองฝั่งน้า กลายเป็นป่าเปียก(มูลนิธิชัยพัฒนา, ๒๕๕๕) สานักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.)(๒๕๕๐) กล่าว ไว้ว่า ฝายชะลอน้า ฝายต้นน้าลาธาร ฝายกั้นน้า ฝายแม้ว หรือฝายชะลอความชุ่มชื้น ต่างก็คือสิ่งเดียวกัน เรียกด้วยภาษาอังกฤษว่า Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือ กั้นทางเดินของลาน้า และจากการประชุม กปร.ครั้งที่ ๑/๒๕๔๗ ได้มีการแจ้งในที่ ประชุมทราบถึงพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับ การก่อสร้างฝายชะลอน้า ตามโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน เนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ว่าควรมีการขยายให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่
  • 8. จากกระแสดังกล่าวได้มีทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน จัดทาโครงการในการสร้างฝาย ชะลอน้าหลายพันฝาย โดยมีวัตถุประสงค์คือ ๑) เพื่อชะลอการไหล ลดความรุนแรงของ กระแสน้าและลดการชะล้างพังทลายของตลิ่ง ๒) ช่วยให้น้าอยู่ในลาห้วยนานขึ้นโดยเฉพาะ ในฤดูแล้ง ๓) ช่วยดักตะกอนที่ไหลมากับน้า ลดการตื้นเขินที่ปลายน้า ทาให้น้าใสและมี คุณภาพดีขึ้น ๔) ช่วยให้ดินชุ่มชื้น ป่ามีความ อุดมสมบูรณ์ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ให้สัตว์น้าและสัตว์ป่า ได้อาศัยน้าในการ ดารงชีวิต ๕
  • 9. คืนสังคมพืชให้แก่เนินเขา/ภูเขาหัวโล้น ๖) เมื่อดินชื้น ป่าก็ชื้น กลายเป็นแนวกัน ไฟลดความรุนแรงของไฟป่าได้จากวัตถุประสงค์ดังกล่าวมีงานการศึกษาวิจัย หลายชิ้นที่สนับสนุนข้อดีของการสร้างฝายชะลอน้า เช่น งานวิจัยที่ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงห้วยลึก อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในช่วงฤดูแล้ง ฝายชะลอน้า สามารถลดอัตราการไหลของน้าในลาธาร
  • 10. ๒) การหมุนเวียนน้าไปสัมผัสกับอากาศที่น้อยลงยังทาให้ออกซิเจนที่ละลายใน น้าน้อยลงด้วย ๓) ตะกอนที่สะสมอยู่ท้ายฝายจะเปลี่ยนแปลงทาให้สภาพพื้น ท้องน้าเปลี่ยนไป คือ จากที่ควรจะเป็นกรวด หินและทราย ก็จะเปลี่ยนเป็น ตะกอนดินและโคลนแทน ทาให้สังคมของสัตว์ที่อยู่ตามหน้าดินเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบไปถึงห่วงโซ่อาหาร อีกทั้งน้าขุ่นขึ้นส่งผลให้พืชน้าสังเคราะห์แสง ลดลง และตะกอนที่สะสมมากขึ้นเรื่อยๆ เกิดการย่อยสลายของแบคทีเรียมากขึ้น ทาให้มีค่าบีโอดี (Biological Oxygen Demand: BOD) สูงขึ้น และยังทาให้น้ามี ค่าความเป็นกรดมากขึ้น เด็กหญิง ศุภนุช มีวงษ์สม เลขที่ 36 ม.4/7