SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
7

                                             บทที่ 2

                                  เอกสารและงานวิจัยทีเกี่ยวของ
                                                     ่


        ในการศึกษาคนควาในครั้งนี้ ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของตามลําดับดังนี้
          1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
          2. หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
          3. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร
          4. แบบฝก
          5. โจทยปญหาทางคณิตศาสตร
          6. การหาประสิทธิภาพของแบบฝก
          7. การหาดัชนีประสิทธิผลแบบฝก
          8. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

          1. หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
             โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 4-6) ไดกําหนดหลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี
พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการ จุดหมาย
สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และโครงสรางหลักสูตร สรุปสาระสําคัญไดดังนี้
             1.1 หลักการ
                หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
                1.1.1 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรียนรูเปนเปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล
                1.1.2 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยาง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
                1.1.3 เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัด
การศึกษาใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น
                1.1.4 เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการ
จัดการเรียนรู
                1.1.5 เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
8

                1.1.6 เปนหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ
             1.2 จุดหมาย
                หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาตาม
หลักสูตร ดังนี้
                1.2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมทีพึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและ
                                                         ่
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
                1.2.3 มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี
และมีทักษะชีวิต
                1.2.4 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
                1.2.5 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
                1.2.6 มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนา
สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมี
ความสุข
             1.3 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
                หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
                1.3.1 ความสามารถในการสือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรม
                                             ่
ในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน
ขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล
และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอ
                                                       ี
ตนเองและสังคม
                1.3.2 ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห
การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองค
ความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม
                1.3.3 ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรค
ตางๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช
ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ
ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม
                1.3.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตางๆ ไป
                                           
ใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยู
9

รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง
ตางๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจก        ั
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
                   1.3.5 ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยี
ดานตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู
การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคณธรรม
                                                                        ุ
              1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค
                   หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถ
อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
                   1.4.1 รักชาติ ศาสน กษัตริย
                   1.4.2 ซื่อสัตยสจริต
                                   ุ
                   1.4.3 มีวินัย
                   1.4.4 ใฝเรียนรู
                   1.4.5 อยูอยางพอเพียง
                   1.4.6 มุงมั่นในการทํางาน
                   1.4.7 รักความเปนไทย
                   1.4.8 มีจิตสาธารณะ
                   1.4.9 มีความกตัญู
                   1.4.10 มีความรับผิดชอบ

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

          1. ความเปนมาและความสําคัญ
              คณิตศาสตรมบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดของมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิด
                         ี
สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาและสถานการณ
ไดอยางถี่ถวนรอบคอบ ทําใหสามารถคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ และแกปญหาไดอยางถูกตองและ
เหมาะสม คณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอื่นๆ ที่
เกี่ยวของคณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น นอกจากนี้
คณิตศาสตรยังชวยพัฒนามนุษยใหสมบูรณ มีความสมดุลทังทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา และ
                                                       ้                          
อารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
                                                                      
เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี
(2553: 1) จึงไดดําเนินการวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดเพื่อทราบ สาระการเรียนรู
กระบวนการเรียนรู สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค จัดกลุมตัวชี้วัดเพื่อจัดทํา
                                                                                
โครงสรางรายวิชา ออกแบบหนวยการเรียนรูที่อิงมาตรฐาน โดยเนนการกําหนดเปาหมายการเรียนรู
หลักฐานการเรียนรู ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูและเวลาเรียน เปนหลักสูตร
ระดับชั้นเรียนที่อิงมาตรฐาน สําหรับเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
10

        2. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
              ในการพัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรระดับชั้นเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น
ประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 1-2) มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5
ประการ ดังนี้
              2.1 ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิดความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร
และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและ
ลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง
ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม
              2.2 ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห
การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองค
ความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม
              2.3 ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่
เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช
ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ
ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม
              2.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตางๆ ไปใชใน
การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกัน
ในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆอยาง
เหมาะสมการปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไมพงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
                 ึ
              2.5 ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน     
ตางๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู
               ั
การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคณธรรม ุ
        3. คุณลักษณะอันพึงประสงค
              โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 2) ไดเพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงคจากหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยู
                                                     ี
รวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ในขอ 3.9 และ 3.10 ดังนี้
              3.1 รักชาติ ศาสน กษัตริย
              3.2 ซื่อสัตยสุจริต
              3.3 มีวินัย
              3.4 ใฝเรียนรู
              3.5 อยูอยางพอเพียง
              3.6 มุงมั่นในการทํางาน
              3.7 รักความเปนไทย
              3.8 มีจิตสาธารณะ
11

            3.9 มีความกตัญู
            3.10 มีความรับผิดชอบ
            โดยเนนคุณลักษณะขอที่ 2, 3, 4, 6, 10
        4. ทักษะการคิด
            ในการพัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรระดับชั้นเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีระดับคุณภาพของการคิดอยางเปนระบบ GPAS ดังนี้
            4.1 ทักษะการสังเกต
            4.2 ทักษะการจําแนก
            4.3 ทักษะการเปรียบเทียบ
            4.4 ทักษะการจัดหมวดหมู
            4.5 ทักษะการเรียงลําดับ
            4.6 ทักษะการเชื่อมโยง
            4.7 ทักษะการแกปญหา
            4.8 ทักษะการใหเหตุผล
        5. สาระและมาตรฐานการเรียนรู
            5.1 สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
                 มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง
                 มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวาง
การดําเนินการตางๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหา
                 มาตรฐาน ค 1.3 ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา    
                 มาตรฐาน ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช
            5.2 สาระที่ 2 การวัด
                 มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
                 มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเกี่ยวกับการวัด
            5.3 สาระที่ 3 เรขาคณิต
                 มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
                 มาตรฐาน ค 3.2 ใชการนึกภาพ (Visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา
            5.4 สาระที่ 4 พีชคณิต
                 มาตรฐาน ค 4.1 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (Pattern) ความสัมพันธและฟงกชัน
                 มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
(mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณตางๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใชแกปญหา
                                                                               ํ           
             5.5 สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
                 มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล
                 มาตรฐาน ค 5.2 ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการ
คาดการณไดอยาง สมเหตุสมผล
12

                  มาตรฐาน ค 5.3 ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและ
แกปญหา
               5.6 สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
                    มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
           6. คําอธิบายรายวิชา
               โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 4-5) ไดกําหนดคําอธิบายรายวิชา กลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 (ค11101 คณิตศาสตร) ใชเวลาเรียน จํานวน 200 ชั่วโมง
กลาวคือ ศึกษาวิเคราะห การใชตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของ การเขียนและ
อานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 การนับลดทีละ 1 การเขียนตัวเลขแสดง
จํานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและการเรียงลําดับจํานวนไมเกินหาจํานวน หลักและคาของเลข
โดดในแตละหลัก การใชเครื่องหมาย = ≠ > < ความหมายของการบวก และการใชเครื่องหมาย + การ
บวกที่ไมมีการทด ความหมายของการลบและการใชเครืองหมาย - การลบที่ไมมีการกระจาย การบวก
                                                          ่
ลบระคน โจทยปญหา การบวก การลบ โจทยปญหาการบวก ลบระคน การสรางโจทยปญหาการบวก
การลบ ของจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งรอยและศูนย การวัดความยาว การเปรียบเทียบความยาว (สูงกวา
เตี้ยกวา ยาวกวา สั้นกวา ยาวเทากัน สูงเทากัน) การวัดความยาวโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน
(ขอ นิ้ว คืบ ศอก วา ฝาเทา กาว) การเปรียบเทียบน้ําหนัก (หนักกวา เบากวา หนักเทากัน) การ
เปรียบเทียบปริมาตรและความจุ (มากกวา นอยกวา เทากัน จุมากกวา จุนอยกวา จุเทากัน) การชั่ง การ
ตวงโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน (กํา กอบ หมื่น แสน กระบุง กระทอ) การบอกชวงเวลาในแตละ
วัน (กลางวัน กลางคืน เชา สาย เที่ยง บาย เย็น) จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห รูปสามเหลี่ยม รูป
สี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 และลดลง ทีละ 1 แบบรูปของ
รูปที่มีรูปราง ขนาดหรือสีที่สมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง
                               ั
              โดยใชทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการคิด กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา
กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง กระบวนการเรียนรูการ
เรียนรูของตนเอง
              เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตร มีความซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มีความมุงมั่นใน
การทํางานและมีความรับผิดชอบ มีความเขาใจในกระบวนการทางคณิตศาสตรสามารถเชื่อมโยงไปสู
การปรับใชในชีวิตประจําวัน
              รหัสตัวชี้วัด
              ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2               ค 1.2 ป.1/1, ป.1/2                 ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2
              ค 3.1 ป.1/1                      ค 4.1 ป.1/1, ป.1/2
              ค 6.1 ป.1-3/1, ป.1-3/2, ป.1-3/3, ป.1-3/4, ป.1-3/5, ป.1-3/6
               รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด
13

         7. โครงสรางรายวิชา
            โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 6-9) ไดกําหนดโครงสรางรายวิชา กลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ดังตาราง 2

ตาราง 2 โครงสรางรายวิชา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2
มุขมนตรี

หนวย     ชื่อหนวย           มาตรฐาน                     สาระสําคัญ/            เวลา น้ําหนัก
 ที่     การเรียนรู      การเรียนรู/ตัวชี้วัด         ความคิดรวบยอด          (ชั่วโมง) คะแนน
 1 จํานวนนับ              ค 1.1 ป.1/1              ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข        10      3
      1 ถึง 5 และ 0       ค 1.1 ป.1/2           ไทยเปนสัญลักษณที่ใชแสดง
                          ค 6/1 ป.1-3/3         จํานวนสิ่งของในหมูตางๆ และ
                          ค 6/1 ป.1-3/4         สามารถนํามาเรียงลําดับ
                                                จํานวนจากนอยไปหามากหรือ
                                                จากมากไปนอย
  2     จํานวนนับ         ค 1.1 ป.1/1              ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข     10         3
        6 ถึง 10          ค 1.1 ป.1/2           ไทยเปนสัญลักษณที่ใชแสดง
                          ค 6.1 ป.1-3/3         จํานวนสิ่งตางๆ และสามารถ
                          ค 6.1 ป.1-3/4         นํามาเรียงลําดับจํานวนจาก
                                                นอยไปหามากหรือจากมาไป
                                                นอย
14

ตาราง 2 (ตอ)
หนวย       ชื่อหนวย          มาตรฐาน                       สาระสําคัญ/             เวลา น้ําหนัก
  ที่      การเรียนรู    การเรียนรู/ตัวชี้วัด           ความคิดรวบยอด            (ชั่วโมง) คะแนน
  3 การบวกจํานวน          ค 1.2 ป.1/1                การบวกเปนการนําจํานวน            20      7
       สองจํานวนที่มี     ค 1.2 ป.1/2             สองจํานวนมารวมกันและการ
       ผลบวกไมเกิน 9     ค 6.1 ป.1-3/1           แกปญหาการบวกของจํานวน
                          ค 6.1 ป.1-3/2           สองจํานวนที่มีผลบวกไมเกิน
                          ค 6.1 ป.1-3/3           9และศูนยตองใชความรู
                          ค 6.1 ป.1-3/4           พื้นฐานการบวก และ
                                                  กระบวนการแกโจทยปญหา
  4    การลบจํานวน        ค 1.2 ป.1/1                การลบเปนการเปรียบเทียบ           20      7
       สองจํานวนที่มี     ค 1.2 ป.1/2             จํานวนสองจํานวนวาตางกัน
       ตัวตั้งไมเกิน 9   ค 6.1 ป.1-3/1           เทาไรหรือเปนการนําจํานวน
                          ค 6.1 ป.1-3/2           หนึ่งออกจากจํานวนหนึ่งแลว
                          ค 6.1 ป.1-3/3           หาจํานวนที่เหลือและการแก
                          ค 6.1 ป.1-3/4           โจทยปญหาการลบของจํานวน
                                                  นับที่มีตัวตั้งไมเกิน 9 ตองใช
                                                  ความรูพื้นฐาน การลบและ
                                                  กระบวนการแกโจทยปญหา
  5    จํานวนนับ          ค 1.1 ป.1/1                จํานวนสองจํานวนเมื่อ              12      3
       11 ถึง 20          ค 1.1 ป.1/2             นํามาเปรียบเทียบกันอาจ
                          ค 6.1 ป.1-3/1           มากกวากันหรือนอยกวากัน
                          ค 6.1 ป.1-3/2           และนํามาเรียงลําดับจํานวน
                          ค 6.1 ป.1-3/3           จากนอยไปหามาก หรือจาก
                          ค 6.1 ป.1-3/4           มากไปนอย
15

ตาราง 2 (ตอ)
หนวย      ชื่อหนวย          มาตรฐาน                 สาระสําคัญ/                 เวลา น้ําหนัก
  ที่     การเรียนรู        การเรียนรู/           ความคิดรวบยอด               (ชั่วโมง) คะแนน
                               ตัวชี้วัด
  6     การบวกและ ค 1.2 ป.1/1                  การบวกเปนการนําจํานวนสอง         20        8
        การลบจํานวน ค 1.2 ป.1/2             จํานวนรวมกันการลบเปนการ
        ที่มีผลลัพธและ ค 6.1 ป.1-3/1       เปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวา
        ตัวตั้งไมเกิน 20 ค 6.1 ป.1-3/2     ตางกันเทาไรหรือเปนการนํา
                          ค 6.1 ป.1-3/3     จํานวนหนึ่งออกจากอีกจํานวน
                          ค 6.1 ป.1-3/4     หนึ่งหาจํานวนที่เหลือและการแก
                                            โจทยปญหาการบวกลบตองใช
                                            ความรูพื้นฐานการบวก การลบ
                                            และกระบวนการแกปญหา
  7     การวัด            ค 1.2 ป.1/1          เครื่องมือที่ไมใชหนวย          10        3
                          ค 1.2 ป.1/2       มาตรฐานเปนการหาความยาว
                          ค 6.1 ป.1-3/1     สามารถหาไดจากสิ่งที่อยูรอบตัว
                          ค 6.1 ป.1-3/2     เรา
                          ค 6.1 ป.1-3/3
                          ค 6.1 ป.1-3/4
  8     การชั่ง           ค 2.1ป.1/1          เครื่องมือที่ไมใชหนวยมาตรฐาน     6        3
                          ค 6.1 ป.1-3/1     ในการหา น้ําหนัก ปริมาตร
                          ค 6.1 ป.1-3/2     สามารถหาไดจากสิ่งของที่อยู
                          ค 6.1 ป.1-3/4     รอบตัวเรา
                          ค 6.1 ป.1-3/5
  9     การตวง            ค 2.1 ป.1/1         เครื่องมือที่ไมใชหนวยมาตรฐาน    10        3
                          ค 6.1 ป.1-3/1     ในการหาปริมาตร ความจุ สามารถ
                          ค 6.1ป.1-3/2      หาไดจากสิ่งของที่อยูรอบตัวเรา
                          ค 6.1 ป.1-3/4
                          ค 6.1 ป.1-3/5
16

ตาราง 2 (ตอ)
หนวย      ชื่อหนวย         มาตรฐาน                   สาระสําคัญ/                 เวลา น้ําหนัก
  ที่     การเรียนรู       การเรียนรู/             ความคิดรวบยอด               (ชั่วโมง) คะแนน
                              ตัวชี้วัด
 10     จํานวนนับ        ค 1.1 ป.1/1           ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย         20          6
        21 ถึง 100       ค 1.1 ป.1/2        เปนสัญลักษณที่ใชแสดง
                         ค 4.1 ป.1/1        จํานวนสิ่งของในหมูตางๆ
                         ค 6.1 ป.1-3/1      จํานวนสองจํานวนเมื่อนํามา
                         ค 6.1ป.1-3/2       เปรียบเทียบกันอาจมากกวา
                         ค 6.1 ป.1-3/3      กันหรือนอยกวากันและการ
                         ค 6.1 ป.1-3/4      เรียงลําดับจํานวนจากนอย
                                            ไปหามากหรือจากมาก
                                            ไปนอย แบบรูปของจํานวน
                                            เปนชุดของจํานวนที่เพิ่มขึ้น
                                            หรือลดลงของจํานวนรูปแบบใด
                                            รูปแบบหนึ่ง
ที่มา: โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 6-9)

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร

          1. ความสาคญของวิชาคณตศาสตร
                     ํ ั              ิ
             คณิตศาสตรมบทบาทสําคัญในการพัฒนานักเรียน ใหมคณภาพพรอมที่จะดําเนินชีวิต
                           ี                                      ีุ
ในสังคมในอนาคต โดยสรางใหนักเรียนมีความรูพื้นฐาน มีทักษะ และความสามารถตางๆ สามารถใช
ความรูความสามารถ ในการคิดแกปญหาอยางมีเหตุผล สามารถสื่อสารกับบุคคลอื่นรวมทั้งทํางานและ
แกปญหารวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําประสบการณทางดานความรู ความคิด และ
ทักษะที่ไดจากการเรียนคณิตศาสตร ไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวัน
             คณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอื่นๆ ที่
เกี่ยวของ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิต และชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น นอกจากนี้
คณิตศาสตรยังชวยพัฒนาคนใหเปนมนุษยทสมบูรณ มีความสมดุลทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญาและ
                                            ี่
อารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
                                                                       
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2544: 1)
             ยุพิน พิพิธกุล (2546: 49-50) ไดสรุปหลักการสอนคณิตศาสตรไวดังนี้
                 1. ควรสอนจากเรื่องงายไปสูเรื่องยาก
                 2. เปลี่ยนจากรูปธรรมไปสูนามธรรม
                 3. สอนใหเชื่อมโยงสัมพันธความคิด รวบรวมเรื่องที่เหมือนกันเขาเปนหมวดหมูเพราะจะ
ชวยใหนักเรียนเขาใจและจดจําไดแมนยํายิ่งขึ้น
17

               4. เปลี่ยนวิธีสอนไมใหซ้ําซากจําเจ เบื่อหนาย ควรสอนใหสนุกสนานและนาสนใจ
               5. ใชความสนใจของนักเรียนเปนจุดเริ่มตน เปนแรงดลใจที่จะเรียน
               6. สอนใหผานประสาทสัมผัสโดยอาจใชหลักวา ผูเรียนตองมีอาการตาดู หูฟง มือเขียน
และปากตอบ
               7. คํานึงถึงประสบการณเดิมและทักษะเดิมที่นักเรียนมีอยูกิจกรรมใหมควรตอเนื่องกับ
                                                                     
กิจกรรมเดิม
                   8. เรื่องที่สัมพันธกันควรสอนไปพรอมๆ กัน
                   9. ใหผูเรียนมองเห็นโครงสรางไมใชเนื้อหา
                   10. ไมควรเปนเรื่องที่ยากเกินไป เพราะผูสอนบางคนชอบใหโจทยยากเกินหลักสูตร
                   11. สอนใหนักเรียนสามารถคิดและสรุปความคิดรวบยอดหรือมโนมติไดเอง
                   12. ใหผูเรียนลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ทําได
                   13. ผูสอนควรมีอารมณขัน เพื่อชวยใหบรรยากาศในหองเรียนนาเรียนยิ่งขึ้น
                   14. ผูสอนควรมีความกระตือรือรนและตื่นตัวอยูเสมอ
                   15. ผูสอนควรหมั่นแสวงหาความรูเพิ่มเติม เพื่อนําสิ่งแปลกใหมมาถายทอดแกนักเรียน
                   16. ผูสอนควรมีความศรัทธาในอาชีพและตอวิชาคณิตศาสตร
               กลาวโดยสรุป จะเห็นไดวาวิชาคณิตศาสตรมีความสําคัญทั้งในดานการพัฒนาผูเรียนใหรูจัก
ใชความคิด มีเหตุผลที่จะพัฒนาวิธีการเสาะแสวงหาความรูใหม และพัฒนาผูเรียนใหคณคาความงามใน
                                                                                      ุ
ระเบียบการใชความคิดโครงสรางของวิชาที่จัดไวอยางกลมกลืนอันจะสงผลถึงการสรางจิตใจของมนุษย
ใหมีความคิดละเอียด รอบคอบ สุขุมเยือกเย็น จะนํามาซึงการแกปญหาในดานตางๆ ได
                                                              ่
           2. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร
               กระทรวงศึกษาธิการ (2545 ก: 188-194) กลาววา การจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและ
ยึดถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด การจัดเรียนรูคณิตศาสตรตองสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาโดยเนน
ความสําคัญทั้งทางดานความรู ดานทักษะกระบวนการ ดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึง
ประสงคหลักการจัดการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ คือ การเปดโอกาสใหผูเรียนไดคิด
และแกปญหาดวยตนเอง ไดศึกษาคนควาจากสื่อและเทคโนโลยีตางๆ โดยอิสระผูสอนมีสวนชวยในการ
           
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนโดยคําจึงถึงความ
แตกตางระหวางบุคคล ผูสอนทําหนาที่เปนที่ปรึกษา ใหคาแนะนําและชี้แนะในขอบกพรองของผูเรียน
                                                                ํ
               ยุพิน พิพธกุล (2546: 13-38) ไดกลาวถึงวิธีการสอนคณิตศาสตรในยุคปฏิรูปการศึกษาตอง
                          ิ
ใหผูเรียนสามารถคนพบขอสรุปดวยตนเอง และสามารถสรางองคความรู 9 วิธีดังนี้
                   1. วิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) เปนวิธีสอนที่ผูสอนมอบหมายงานให
ผูเรียนไปศึกษาและคนควาและมานําเสนอ การสอนแบบนี้จึงเปนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
เมื่อนักเรียนนําเสนอ ทําใหเกิดทักษะ มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร
และการนําเสนอ
                   2. วิธีการสอนแบบทดลอง (Experimental Method) เปนวิธีการสอนแบบทดลองมุงให
ผูเรียนเรียนโดยการกระทําหรือโดยการสังเกต เปนการรูปนําเอารูปธรรมมาอธิบายนามธรรมผูเรียนจะ
คนหาขอสรุปดวยตนเอง อาจจะทําเปนรายบุคคลหรือรายกลุมก็ได ขึ้นอยูกับเนื้อหาและความเหมาะสม
18

                   3. วิธีการสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) เปนการสอนโดยการใหผูเรียนดู
ผูสอนมักจะใชการสาธิตประกอบคําถาม ผูเรียนก็จะดูสื่อการเรียนรู พรอมทั้งตอบคําถามของผูสอน
                   4. การสอนโดยใชคําถาม (Question Method) เปนวิธีการสอนแบบใชคําถามเปน
วิธีการสอนที่มุงใหความรูแกผูเรียนโดยการถามตอบ ผูสอนจะใชคําถามตอเนื่อง และไตความคิดไปทีละ
นอย จนผูเรียนสามารถสรุปได การสอนแบบนี้เนนผูเรียนและผูสอนผสมผสาน
                   5. วิธีการสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) เปนวิธีการสอนที่มุงเนนใหผูเรียน
รูจักการทํางานเปนกลุม ผูเรียนจะรวมพลังความคิดเพื่อพิจารณาปญหา ชวยกันหาขอเท็จจริงหาเหตุผล
แลวรวมกันตอบปญหา วิธีการสอนแบบนี้จะฝกใหผูเรียนรู กลาแสดงออกฝกการใชเหตุผล ฝกการฟงที่ดี
ฝกใหเปนคนมีระเบียบวินัย ตลอดจนมีความอดทนที่จะฟงความคิดเห็นของผูอื่น และฝกการทํางาน
รวมกันตามแบบประชาธิปไตย
                   6. วิธีการสอนแบบวิเคราะห สังเคราะห (Analytic Synthetic Method)
                      6.1 วิธีการสอนแบบวิเคราะห เปนวิธีการสอนที่ผูสอนพยายามแยกแยะปญหา
ออกมาจากสิ่งที่ไมรูไปสูสิ่งทีรู ผูที่วิเคราะหตองพยายามคิดหาคําตอบครั้งแรกคืออะไร แลวพิจารณาวา
                                ่
ถาจะคนคําตอบนี้แลวจะใหเหตุผลอยางไรแลวก็คิดตอ ๆไปวาจะคนหาคําตอบอะไรอีกแสดงเหตุผล
ตอเนื่องไปจนคนพบเหตุผลหรือสิ่งที่โจทยบอกอันแรก จะเปนเหตุใหเกิดการพิสูจนหรือสรุปได
                      6.2 วิธีการสอนแบบสังเคราะห เปนวิธีการสอนตรงขามกับวิธีการสอนแบบวิเคราะห
คือ ผูสอนจะนําขอสรุปยอยที่จําเปนตางๆ มารวมกันจนกระทั่งไดขอสรุปที่ตองการ
                   7. วิธีการสอนแบบอุปนัย นิรนัย (Induction Deductive Method)
                      7.1 วิธีการสอนแบบอุปนัย เปนวิธีการสอนที่ผูสอนจะยกตัวอยางหลาย ๆตัวอยาง
เพื่อใหผูเรียนเห็นรูปแบบ เมื่อผูเรียนใชการสังเกตเปรียบเทียบดูสิ่งที่มีลกษณะรวมกัน ก็จะสามารถ
                                                                           ั
นําไปสูขอสรุปได และมักจะตามไปดวยวิธีการสอนแบบนิรนัย
                      7.2 วิธีการสอนแบบนิรนัย เปนการสอนที่เริ่มตนจากการนํานัยทั่วไปหรือขอสรุป กฎ
หรือสูตรที่ทราบแลวมาใชเพื่อที่จะแกปญหาเรื่องใหม และเกิดขอสรุปอันใหมขึ้น
                   8. วิธีการสอนแบบคนพบ (Discovery Method) เปนวิธีการสอนแบบคนพบมี
ความหมายดังนี้
                      ประการแรก เปนวิธีการสอนที่ใหผูเรียนพบปญหาหรือสถานการณแลวใหผูเรียนเสาะ
แสวงหาวิธีการแกปญหานั้น ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาผลที่เกิดขึ้น ซึ่งผูสอนมิไดคาดหวังวาผูเรียนจะตอง
คนพบดังที่ผูสอนตองการเสมอไป เปนการคนพบที่เนนกระบวนการคนพบไมเนนที่ผลการคนพบ
                      ประการที่สอง เปนวิธีการสอนที่เนนไปที่ผูเรียนวา ตองการใหคนพบอะไรผูเรียนจะ
สามารถหาขอสรุปได การคนพบแบบนี้จะคนพบโดยวิธีการสอนวิธีใดก็ได มี 3 วิธีคือ
                           1. การคนพบดวยตัวเอง
                           2. การคนพบภายใตการแนะแนวทางของผูสอน
                           3. การคนพบเปนรายบุคคลหรือใหเรียนเปนคณะ
                   9. วิธีการสอนแบบอธิบายและแสดงเหตุผล (Expository Method) เปนวิธีการสอนที่
ผูเรียนทั้งชั้นไมสามารถคิดได ผูสอนจําเปนตองอธิบาย ในขณะที่อธิบายผูสอนก็จะพยายามวิเคราะห
ตีความใหผูเรียนเขาใจ แลวผูสอนก็จะสรุปดวยตนเอง ผูเรียนจะเปนผูฟงเปนสวนใหญผเู รียนไมคอยมี
                                  
โอกาสรวมกิจกรรมมากนัก นอกจากตอบคําถามของผูสอน และซักถามเรื่องที่ยังไมคอยเขาใจเทานั้น
19

         กระทรวงศึกษาธิการ (2545 ก: 49 – 52) ไดกลาวถึงการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เนนผูเรียน
เปนสําคัญไว 6 วิธีดังนี้คือ
              1. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ บูรณาการ หมายถึง การนําศาสตรตางๆ ที่มี
ความสัมพันธเกี่ยวของมาผสมผสานกันเพื่อประโยชนในการดําเนินการ การจัดการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการจึงเปนการนําเอาความรูสาขาวิชาตางๆ ที่สัมพันธกันมาผสมผสานกันเพื่อใหการเรียนการสอน
เกิดประโยชนสูงสุด การเรียนการสอนแบบบูรณาการจะเนนองครวมของเนื้อหามากกวาองคความรูของ
แตละรายวิชาและเนนที่การสรางความรูของผูเรียนมากกวาการใชเนื้อหาโดยตัวครู การบูรณาการ
สามารถทําไดใน 2 ลักษณะ คือ การบูรณาการภายในวิชา และการบูรณาการระหวางวิชา
              2. การเรียนรูโดยกระบวนการกลุม กระบวนการกลุม เปนการจัดสถานการณการเรียนการ
สอนที่เปดโอกาสใหคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป ไดมีปฏิสัมพันธกันโดยมีแนวคิดแบงหนาที่ชวยเหลือกันและกัน
ในการทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การทํางานเปนกลุมที่ดีจะกอใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานที่สูงยิ่งขึ้น
              3. การเรียนรูโดยใชกระบวนการทางคณิตศาสตร กระบวนการทางคณิตศาสตรเปนขั้นตอน
การดําเนินการที่นักเรียนปฏิบัติตามลําดับตั้งแตตนจนแลวเสร็จตามจุดประสงคที่กําหนดโดยลําดับ
ความสามารถตามจุดประสงคการเรียนรูดังนี้
                   3.1 มีความสามารถในการจําแนก คือ สามารถบอกความแตกตาง หรือแยกขอมูลทาง
คณิตศาสตรไดโดยใชเกณฑในการบอกความแตกตาง
                   3.2 มีความแตกตางในการจัดกลุม คือ ความสามารถบอกความเหมือน หรือจัดเขาพวก
ไดโดยใชเกณฑในการจัด
                   3.3 มีความสามารถในการหาความสัมพันธ คือ สามารถเชื่อมโยงขอมูลตั้งแต 2 ขอมูล
ขึ้นไปวามีความเกี่ยวของกันหรือไม ลักษณะใด หรือเปนการนําความเกี่ยวของนั้นเชื่อมโยงในการหา
คําตอบที่โจทยกําหนด
              4. การเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง เปนการเรียนรูที่มุงใหผูเรียน
ไดลงมือทํางานนั้นจริงๆ ไดรับประสบการณตรงจากการปฏิบัติจริง โดยใชสื่อสิ่งพิมพหรือสื่อรูปธรรมที่
สามารถนําผูเรียนไปสูการคนพบหรือไดขอสรุปในการใชสื่อรูปธรรม ถาผูสอนสอนดวยตนเองจะใช
การสาธิตประกอบคําถาม แตถาใหผูเรียนเรียนดวนตนเองจะใชการทดลองโดยผูเรียนดําเนินการทดลอง
ตามกิจกรรมทีผูสอนกําหนดให ผูเรียนที่ปฏิบัติการทดลองมีโอกาสฝกใชทักษะ/กระบวนการตางๆ เชน
                 ่
การสังเกต การคาดคะเน การประมาณคา การใชเครื่องมือการบันทึกขอมูล การอภิปราย การตั้ง
ขอความคาดการณหรือขอสมมุติฐาน การสรุปกระบวนการดําเนินการทดลองหรือปฏิบัติกิจกรรมทาง
คณิตศาสตรเปดโอกาสใหผูเรียนไดพิสูจน ใชเหตุผล อางขอเท็จจริง ตลอดจนไดฝกทักษะในการ
แกปญหาใหมๆ การจัดการเรียนรูแบบนี้เปดโอกาสใหผูเรียนมีอิสระในการคิด และเลือกใชยุทธวิธีที่
เหมาะสมในการแกปญหา ขณะที่ผูเรียนทําการทดลอง ผูสอนควรสังเกตแนวคิดของผูเรียนวาเปนไป
                                                          
อยางถูกตองหรือไม ถาเห็นผูเรียนคิดไมตรงแนวทาง ควรตั้งคําถามใหผูเรียนคิดใหม ถึงแมจะตองใชเวลา
มากขึ้น เพราะผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนรูดวยตนเองมากกวาการเรียนรูที่ผูสอนบอกหรือ
สรุปผลให
              5. การเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู การเรียนแบบสืบเสาะหาความรูผูสอนควรจัด
สถานการณที่เปนปญหาใหผูเรียนเกิดความสงสัย เมื่อผูเรียนสังเกตจนพบปญหานั้นแลวผูสอนควร
สงเสริมใหผูเรียนพยายามที่จะคนหาสาเหตุดวยการตั้งคําถามตอเนื่อง และรวบรวมขอมูลมาอธิบายการ
20

เรียนรูดังกลาวเปนการวิเคราะหจากปญหามาหาสาเหตุ ใชคําถามสืบเสาะจนกระทั่งแกปญหาหรือหา
ขอสรุปได กระบวนการสืบเสาะหาความรู ประกอบดวย ขั้นสังเกต ขั้นอธิบายขั้นคาดการณ ขั้นทดลอง
และขั้นนําไปใช ขั้นตอนเหลานี้จะชวยฝกกระบวนการทางคณิตศาสตรฝกใหผูเรียนรูจัดสังเกตและ
วิเคราะหปญหาโดยละเอียด
              6. การเรียนรูโดยโครงงาน การจัดการเรียนรูโดยโครงงาน ตั้งอยูบนพื้นฐานการเชื่อและ
หลักการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู คือ เชื่อมั่นในศักยภาพของผูเรียน ภายใตการจัดการเรียนรูที่เนน
ผูเรียนเปนสําคัญและสอดคลองกับสภาพจริงในทองถิ่น หลักการ/แนวคิดการเรียนรูโดยโครงงาน เปน
การจัดประสบการณใหผูเรียนไดเลือกและสรางกระบวนการเรียนรูโดยใชวิธีการศึกษาคนควาอยางลุม
ลึกดวยตนเอง และใชแหลงการเรียนรูที่หลากหลาย ซึ่งผูเรียนไดรับประสบการณตรง และไดเรียนรู
วิธีการแกปญหา รูจักการทํางานอยางมีระบบ รูจักการวางแผนในการทํางาน ฝกการคิด วิเคราะห และ
เกิดการเรียนรูดวยตนเอง

Contenu connexe

Tendances

IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์krophut
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 

Tendances (20)

IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
รูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpointรูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpoint
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 

Similaire à บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 

Similaire à บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์ (20)

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์

  • 1. 7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเกี่ยวของ ่ ในการศึกษาคนควาในครั้งนี้ ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของตามลําดับดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 3. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร 4. แบบฝก 5. โจทยปญหาทางคณิตศาสตร 6. การหาประสิทธิภาพของแบบฝก 7. การหาดัชนีประสิทธิผลแบบฝก 8. งานวิจัยที่เกี่ยวของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1. หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 4-6) ไดกําหนดหลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการ จุดหมาย สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และโครงสรางหลักสูตร สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1.1 หลักการ หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้ 1.1.1 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรูเปนเปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล 1.1.2 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยาง เสมอภาค และมีคุณภาพ 1.1.3 เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัด การศึกษาใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น 1.1.4 เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการ จัดการเรียนรู 1.1.5 เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
  • 2. 8 1.1.6 เปนหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ 1.2 จุดหมาย หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน การศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาตาม หลักสูตร ดังนี้ 1.2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมทีพึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและ ่ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 1.2.3 มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 1.2.4 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย 1.2.5 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 1.2.6 มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนา สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมี ความสุข 1.3 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1.3.1 ความสามารถในการสือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรม ่ ในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา ตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอ ี ตนเองและสังคม 1.3.2 ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองค ความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม 1.3.3 ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรค ตางๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม 1.3.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตางๆ ไป  ใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยู
  • 3. 9 รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง ตางๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจก ั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 1.3.5 ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยี ดานตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคณธรรม ุ 1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถ อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1.4.1 รักชาติ ศาสน กษัตริย 1.4.2 ซื่อสัตยสจริต ุ 1.4.3 มีวินัย 1.4.4 ใฝเรียนรู 1.4.5 อยูอยางพอเพียง 1.4.6 มุงมั่นในการทํางาน 1.4.7 รักความเปนไทย 1.4.8 มีจิตสาธารณะ 1.4.9 มีความกตัญู 1.4.10 มีความรับผิดชอบ หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 1. ความเปนมาและความสําคัญ คณิตศาสตรมบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดของมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิด ี สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาและสถานการณ ไดอยางถี่ถวนรอบคอบ ทําใหสามารถคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ และแกปญหาไดอยางถูกตองและ เหมาะสม คณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอื่นๆ ที่ เกี่ยวของคณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น นอกจากนี้ คณิตศาสตรยังชวยพัฒนามนุษยใหสมบูรณ มีความสมดุลทังทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา และ ้  อารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข  เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 1) จึงไดดําเนินการวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดเพื่อทราบ สาระการเรียนรู กระบวนการเรียนรู สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค จัดกลุมตัวชี้วัดเพื่อจัดทํา  โครงสรางรายวิชา ออกแบบหนวยการเรียนรูที่อิงมาตรฐาน โดยเนนการกําหนดเปาหมายการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู ชิ้นงาน/ภาระงาน แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูและเวลาเรียน เปนหลักสูตร ระดับชั้นเรียนที่อิงมาตรฐาน สําหรับเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
  • 4. 10 2. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน ในการพัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรระดับชั้นเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 1-2) มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 2.1 ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช ภาษาถายทอดความคิดความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและ ลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม 2.2 ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองค ความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม 2.3 ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่ เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม 2.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตางๆ ไปใชใน การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกัน ในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆอยาง เหมาะสมการปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น ึ 2.5 ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน  ตางๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู ั การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคณธรรม ุ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 2) ไดเพิ่มคุณลักษณะอันพึงประสงคจากหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยู ี รวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ในขอ 3.9 และ 3.10 ดังนี้ 3.1 รักชาติ ศาสน กษัตริย 3.2 ซื่อสัตยสุจริต 3.3 มีวินัย 3.4 ใฝเรียนรู 3.5 อยูอยางพอเพียง 3.6 มุงมั่นในการทํางาน 3.7 รักความเปนไทย 3.8 มีจิตสาธารณะ
  • 5. 11 3.9 มีความกตัญู 3.10 มีความรับผิดชอบ โดยเนนคุณลักษณะขอที่ 2, 3, 4, 6, 10 4. ทักษะการคิด ในการพัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรระดับชั้นเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีระดับคุณภาพของการคิดอยางเปนระบบ GPAS ดังนี้ 4.1 ทักษะการสังเกต 4.2 ทักษะการจําแนก 4.3 ทักษะการเปรียบเทียบ 4.4 ทักษะการจัดหมวดหมู 4.5 ทักษะการเรียงลําดับ 4.6 ทักษะการเชื่อมโยง 4.7 ทักษะการแกปญหา 4.8 ทักษะการใหเหตุผล 5. สาระและมาตรฐานการเรียนรู 5.1 สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวาง การดําเนินการตางๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา  มาตรฐาน ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช 5.2 สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเกี่ยวกับการวัด 5.3 สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใชการนึกภาพ (Visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา 5.4 สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (Pattern) ความสัมพันธและฟงกชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณตางๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใชแกปญหา ํ  5.5 สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล มาตรฐาน ค 5.2 ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการ คาดการณไดอยาง สมเหตุสมผล
  • 6. 12 มาตรฐาน ค 5.3 ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและ แกปญหา 5.6 สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 6. คําอธิบายรายวิชา โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 4-5) ไดกําหนดคําอธิบายรายวิชา กลุมสาระการ เรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 (ค11101 คณิตศาสตร) ใชเวลาเรียน จํานวน 200 ชั่วโมง กลาวคือ ศึกษาวิเคราะห การใชตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของ การเขียนและ อานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 การนับลดทีละ 1 การเขียนตัวเลขแสดง จํานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและการเรียงลําดับจํานวนไมเกินหาจํานวน หลักและคาของเลข โดดในแตละหลัก การใชเครื่องหมาย = ≠ > < ความหมายของการบวก และการใชเครื่องหมาย + การ บวกที่ไมมีการทด ความหมายของการลบและการใชเครืองหมาย - การลบที่ไมมีการกระจาย การบวก ่ ลบระคน โจทยปญหา การบวก การลบ โจทยปญหาการบวก ลบระคน การสรางโจทยปญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งรอยและศูนย การวัดความยาว การเปรียบเทียบความยาว (สูงกวา เตี้ยกวา ยาวกวา สั้นกวา ยาวเทากัน สูงเทากัน) การวัดความยาวโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน (ขอ นิ้ว คืบ ศอก วา ฝาเทา กาว) การเปรียบเทียบน้ําหนัก (หนักกวา เบากวา หนักเทากัน) การ เปรียบเทียบปริมาตรและความจุ (มากกวา นอยกวา เทากัน จุมากกวา จุนอยกวา จุเทากัน) การชั่ง การ ตวงโดยใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน (กํา กอบ หมื่น แสน กระบุง กระทอ) การบอกชวงเวลาในแตละ วัน (กลางวัน กลางคืน เชา สาย เที่ยง บาย เย็น) จํานวนวันและชื่อวันในสัปดาห รูปสามเหลี่ยม รูป สี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 และลดลง ทีละ 1 แบบรูปของ รูปที่มีรูปราง ขนาดหรือสีที่สมพันธกันอยางใดอยางหนึ่ง ั โดยใชทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหาในสถานการณตางๆ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการคิด กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง กระบวนการเรียนรูการ เรียนรูของตนเอง เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตร มีความซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู มีความมุงมั่นใน การทํางานและมีความรับผิดชอบ มีความเขาใจในกระบวนการทางคณิตศาสตรสามารถเชื่อมโยงไปสู การปรับใชในชีวิตประจําวัน รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ค 1.2 ป.1/1, ป.1/2 ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2 ค 3.1 ป.1/1 ค 4.1 ป.1/1, ป.1/2 ค 6.1 ป.1-3/1, ป.1-3/2, ป.1-3/3, ป.1-3/4, ป.1-3/5, ป.1-3/6 รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด
  • 7. 13 7. โครงสรางรายวิชา โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 6-9) ไดกําหนดโครงสรางรายวิชา กลุมสาระการ เรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ดังตาราง 2 ตาราง 2 โครงสรางรายวิชา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี หนวย ชื่อหนวย มาตรฐาน สาระสําคัญ/ เวลา น้ําหนัก ที่ การเรียนรู การเรียนรู/ตัวชี้วัด ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน 1 จํานวนนับ ค 1.1 ป.1/1 ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข 10 3 1 ถึง 5 และ 0 ค 1.1 ป.1/2 ไทยเปนสัญลักษณที่ใชแสดง ค 6/1 ป.1-3/3 จํานวนสิ่งของในหมูตางๆ และ ค 6/1 ป.1-3/4 สามารถนํามาเรียงลําดับ จํานวนจากนอยไปหามากหรือ จากมากไปนอย 2 จํานวนนับ ค 1.1 ป.1/1 ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข 10 3 6 ถึง 10 ค 1.1 ป.1/2 ไทยเปนสัญลักษณที่ใชแสดง ค 6.1 ป.1-3/3 จํานวนสิ่งตางๆ และสามารถ ค 6.1 ป.1-3/4 นํามาเรียงลําดับจํานวนจาก นอยไปหามากหรือจากมาไป นอย
  • 8. 14 ตาราง 2 (ตอ) หนวย ชื่อหนวย มาตรฐาน สาระสําคัญ/ เวลา น้ําหนัก ที่ การเรียนรู การเรียนรู/ตัวชี้วัด ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน 3 การบวกจํานวน ค 1.2 ป.1/1 การบวกเปนการนําจํานวน 20 7 สองจํานวนที่มี ค 1.2 ป.1/2 สองจํานวนมารวมกันและการ ผลบวกไมเกิน 9 ค 6.1 ป.1-3/1 แกปญหาการบวกของจํานวน ค 6.1 ป.1-3/2 สองจํานวนที่มีผลบวกไมเกิน ค 6.1 ป.1-3/3 9และศูนยตองใชความรู ค 6.1 ป.1-3/4 พื้นฐานการบวก และ กระบวนการแกโจทยปญหา 4 การลบจํานวน ค 1.2 ป.1/1 การลบเปนการเปรียบเทียบ 20 7 สองจํานวนที่มี ค 1.2 ป.1/2 จํานวนสองจํานวนวาตางกัน ตัวตั้งไมเกิน 9 ค 6.1 ป.1-3/1 เทาไรหรือเปนการนําจํานวน ค 6.1 ป.1-3/2 หนึ่งออกจากจํานวนหนึ่งแลว ค 6.1 ป.1-3/3 หาจํานวนที่เหลือและการแก ค 6.1 ป.1-3/4 โจทยปญหาการลบของจํานวน นับที่มีตัวตั้งไมเกิน 9 ตองใช ความรูพื้นฐาน การลบและ กระบวนการแกโจทยปญหา 5 จํานวนนับ ค 1.1 ป.1/1 จํานวนสองจํานวนเมื่อ 12 3 11 ถึง 20 ค 1.1 ป.1/2 นํามาเปรียบเทียบกันอาจ ค 6.1 ป.1-3/1 มากกวากันหรือนอยกวากัน ค 6.1 ป.1-3/2 และนํามาเรียงลําดับจํานวน ค 6.1 ป.1-3/3 จากนอยไปหามาก หรือจาก ค 6.1 ป.1-3/4 มากไปนอย
  • 9. 15 ตาราง 2 (ตอ) หนวย ชื่อหนวย มาตรฐาน สาระสําคัญ/ เวลา น้ําหนัก ที่ การเรียนรู การเรียนรู/ ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน ตัวชี้วัด 6 การบวกและ ค 1.2 ป.1/1 การบวกเปนการนําจํานวนสอง 20 8 การลบจํานวน ค 1.2 ป.1/2 จํานวนรวมกันการลบเปนการ ที่มีผลลัพธและ ค 6.1 ป.1-3/1 เปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวา ตัวตั้งไมเกิน 20 ค 6.1 ป.1-3/2 ตางกันเทาไรหรือเปนการนํา ค 6.1 ป.1-3/3 จํานวนหนึ่งออกจากอีกจํานวน ค 6.1 ป.1-3/4 หนึ่งหาจํานวนที่เหลือและการแก โจทยปญหาการบวกลบตองใช ความรูพื้นฐานการบวก การลบ และกระบวนการแกปญหา 7 การวัด ค 1.2 ป.1/1 เครื่องมือที่ไมใชหนวย 10 3 ค 1.2 ป.1/2 มาตรฐานเปนการหาความยาว ค 6.1 ป.1-3/1 สามารถหาไดจากสิ่งที่อยูรอบตัว ค 6.1 ป.1-3/2 เรา ค 6.1 ป.1-3/3 ค 6.1 ป.1-3/4 8 การชั่ง ค 2.1ป.1/1 เครื่องมือที่ไมใชหนวยมาตรฐาน 6 3 ค 6.1 ป.1-3/1 ในการหา น้ําหนัก ปริมาตร ค 6.1 ป.1-3/2 สามารถหาไดจากสิ่งของที่อยู ค 6.1 ป.1-3/4 รอบตัวเรา ค 6.1 ป.1-3/5 9 การตวง ค 2.1 ป.1/1 เครื่องมือที่ไมใชหนวยมาตรฐาน 10 3 ค 6.1 ป.1-3/1 ในการหาปริมาตร ความจุ สามารถ ค 6.1ป.1-3/2 หาไดจากสิ่งของที่อยูรอบตัวเรา ค 6.1 ป.1-3/4 ค 6.1 ป.1-3/5
  • 10. 16 ตาราง 2 (ตอ) หนวย ชื่อหนวย มาตรฐาน สาระสําคัญ/ เวลา น้ําหนัก ที่ การเรียนรู การเรียนรู/ ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน ตัวชี้วัด 10 จํานวนนับ ค 1.1 ป.1/1 ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย 20 6 21 ถึง 100 ค 1.1 ป.1/2 เปนสัญลักษณที่ใชแสดง ค 4.1 ป.1/1 จํานวนสิ่งของในหมูตางๆ ค 6.1 ป.1-3/1 จํานวนสองจํานวนเมื่อนํามา ค 6.1ป.1-3/2 เปรียบเทียบกันอาจมากกวา ค 6.1 ป.1-3/3 กันหรือนอยกวากันและการ ค 6.1 ป.1-3/4 เรียงลําดับจํานวนจากนอย ไปหามากหรือจากมาก ไปนอย แบบรูปของจํานวน เปนชุดของจํานวนที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงของจํานวนรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง ที่มา: โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี (2553: 6-9) ความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร 1. ความสาคญของวิชาคณตศาสตร ํ ั ิ คณิตศาสตรมบทบาทสําคัญในการพัฒนานักเรียน ใหมคณภาพพรอมที่จะดําเนินชีวิต ี ีุ ในสังคมในอนาคต โดยสรางใหนักเรียนมีความรูพื้นฐาน มีทักษะ และความสามารถตางๆ สามารถใช ความรูความสามารถ ในการคิดแกปญหาอยางมีเหตุผล สามารถสื่อสารกับบุคคลอื่นรวมทั้งทํางานและ แกปญหารวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําประสบการณทางดานความรู ความคิด และ ทักษะที่ไดจากการเรียนคณิตศาสตร ไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวัน คณิตศาสตรเปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํารงชีวิต และชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น นอกจากนี้ คณิตศาสตรยังชวยพัฒนาคนใหเปนมนุษยทสมบูรณ มีความสมดุลทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญาและ ี่ อารมณ สามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข  (กระทรวงศึกษาธิการ. 2544: 1) ยุพิน พิพิธกุล (2546: 49-50) ไดสรุปหลักการสอนคณิตศาสตรไวดังนี้ 1. ควรสอนจากเรื่องงายไปสูเรื่องยาก 2. เปลี่ยนจากรูปธรรมไปสูนามธรรม 3. สอนใหเชื่อมโยงสัมพันธความคิด รวบรวมเรื่องที่เหมือนกันเขาเปนหมวดหมูเพราะจะ ชวยใหนักเรียนเขาใจและจดจําไดแมนยํายิ่งขึ้น
  • 11. 17 4. เปลี่ยนวิธีสอนไมใหซ้ําซากจําเจ เบื่อหนาย ควรสอนใหสนุกสนานและนาสนใจ 5. ใชความสนใจของนักเรียนเปนจุดเริ่มตน เปนแรงดลใจที่จะเรียน 6. สอนใหผานประสาทสัมผัสโดยอาจใชหลักวา ผูเรียนตองมีอาการตาดู หูฟง มือเขียน และปากตอบ 7. คํานึงถึงประสบการณเดิมและทักษะเดิมที่นักเรียนมีอยูกิจกรรมใหมควรตอเนื่องกับ  กิจกรรมเดิม 8. เรื่องที่สัมพันธกันควรสอนไปพรอมๆ กัน 9. ใหผูเรียนมองเห็นโครงสรางไมใชเนื้อหา 10. ไมควรเปนเรื่องที่ยากเกินไป เพราะผูสอนบางคนชอบใหโจทยยากเกินหลักสูตร 11. สอนใหนักเรียนสามารถคิดและสรุปความคิดรวบยอดหรือมโนมติไดเอง 12. ใหผูเรียนลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ทําได 13. ผูสอนควรมีอารมณขัน เพื่อชวยใหบรรยากาศในหองเรียนนาเรียนยิ่งขึ้น 14. ผูสอนควรมีความกระตือรือรนและตื่นตัวอยูเสมอ 15. ผูสอนควรหมั่นแสวงหาความรูเพิ่มเติม เพื่อนําสิ่งแปลกใหมมาถายทอดแกนักเรียน 16. ผูสอนควรมีความศรัทธาในอาชีพและตอวิชาคณิตศาสตร กลาวโดยสรุป จะเห็นไดวาวิชาคณิตศาสตรมีความสําคัญทั้งในดานการพัฒนาผูเรียนใหรูจัก ใชความคิด มีเหตุผลที่จะพัฒนาวิธีการเสาะแสวงหาความรูใหม และพัฒนาผูเรียนใหคณคาความงามใน ุ ระเบียบการใชความคิดโครงสรางของวิชาที่จัดไวอยางกลมกลืนอันจะสงผลถึงการสรางจิตใจของมนุษย ใหมีความคิดละเอียด รอบคอบ สุขุมเยือกเย็น จะนํามาซึงการแกปญหาในดานตางๆ ได ่ 2. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ (2545 ก: 188-194) กลาววา การจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและ ยึดถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด การจัดเรียนรูคณิตศาสตรตองสงเสริมใหผูเรียนพัฒนาโดยเนน ความสําคัญทั้งทางดานความรู ดานทักษะกระบวนการ ดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึง ประสงคหลักการจัดการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ คือ การเปดโอกาสใหผูเรียนไดคิด และแกปญหาดวยตนเอง ไดศึกษาคนควาจากสื่อและเทคโนโลยีตางๆ โดยอิสระผูสอนมีสวนชวยในการ  จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนโดยคําจึงถึงความ แตกตางระหวางบุคคล ผูสอนทําหนาที่เปนที่ปรึกษา ใหคาแนะนําและชี้แนะในขอบกพรองของผูเรียน ํ ยุพิน พิพธกุล (2546: 13-38) ไดกลาวถึงวิธีการสอนคณิตศาสตรในยุคปฏิรูปการศึกษาตอง ิ ใหผูเรียนสามารถคนพบขอสรุปดวยตนเอง และสามารถสรางองคความรู 9 วิธีดังนี้ 1. วิธีการสอนแบบโครงงาน (Project Method) เปนวิธีสอนที่ผูสอนมอบหมายงานให ผูเรียนไปศึกษาและคนควาและมานําเสนอ การสอนแบบนี้จึงเปนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง เมื่อนักเรียนนําเสนอ ทําใหเกิดทักษะ มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ 2. วิธีการสอนแบบทดลอง (Experimental Method) เปนวิธีการสอนแบบทดลองมุงให ผูเรียนเรียนโดยการกระทําหรือโดยการสังเกต เปนการรูปนําเอารูปธรรมมาอธิบายนามธรรมผูเรียนจะ คนหาขอสรุปดวยตนเอง อาจจะทําเปนรายบุคคลหรือรายกลุมก็ได ขึ้นอยูกับเนื้อหาและความเหมาะสม
  • 12. 18 3. วิธีการสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) เปนการสอนโดยการใหผูเรียนดู ผูสอนมักจะใชการสาธิตประกอบคําถาม ผูเรียนก็จะดูสื่อการเรียนรู พรอมทั้งตอบคําถามของผูสอน 4. การสอนโดยใชคําถาม (Question Method) เปนวิธีการสอนแบบใชคําถามเปน วิธีการสอนที่มุงใหความรูแกผูเรียนโดยการถามตอบ ผูสอนจะใชคําถามตอเนื่อง และไตความคิดไปทีละ นอย จนผูเรียนสามารถสรุปได การสอนแบบนี้เนนผูเรียนและผูสอนผสมผสาน 5. วิธีการสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) เปนวิธีการสอนที่มุงเนนใหผูเรียน รูจักการทํางานเปนกลุม ผูเรียนจะรวมพลังความคิดเพื่อพิจารณาปญหา ชวยกันหาขอเท็จจริงหาเหตุผล แลวรวมกันตอบปญหา วิธีการสอนแบบนี้จะฝกใหผูเรียนรู กลาแสดงออกฝกการใชเหตุผล ฝกการฟงที่ดี ฝกใหเปนคนมีระเบียบวินัย ตลอดจนมีความอดทนที่จะฟงความคิดเห็นของผูอื่น และฝกการทํางาน รวมกันตามแบบประชาธิปไตย 6. วิธีการสอนแบบวิเคราะห สังเคราะห (Analytic Synthetic Method) 6.1 วิธีการสอนแบบวิเคราะห เปนวิธีการสอนที่ผูสอนพยายามแยกแยะปญหา ออกมาจากสิ่งที่ไมรูไปสูสิ่งทีรู ผูที่วิเคราะหตองพยายามคิดหาคําตอบครั้งแรกคืออะไร แลวพิจารณาวา ่ ถาจะคนคําตอบนี้แลวจะใหเหตุผลอยางไรแลวก็คิดตอ ๆไปวาจะคนหาคําตอบอะไรอีกแสดงเหตุผล ตอเนื่องไปจนคนพบเหตุผลหรือสิ่งที่โจทยบอกอันแรก จะเปนเหตุใหเกิดการพิสูจนหรือสรุปได 6.2 วิธีการสอนแบบสังเคราะห เปนวิธีการสอนตรงขามกับวิธีการสอนแบบวิเคราะห คือ ผูสอนจะนําขอสรุปยอยที่จําเปนตางๆ มารวมกันจนกระทั่งไดขอสรุปที่ตองการ 7. วิธีการสอนแบบอุปนัย นิรนัย (Induction Deductive Method) 7.1 วิธีการสอนแบบอุปนัย เปนวิธีการสอนที่ผูสอนจะยกตัวอยางหลาย ๆตัวอยาง เพื่อใหผูเรียนเห็นรูปแบบ เมื่อผูเรียนใชการสังเกตเปรียบเทียบดูสิ่งที่มีลกษณะรวมกัน ก็จะสามารถ ั นําไปสูขอสรุปได และมักจะตามไปดวยวิธีการสอนแบบนิรนัย 7.2 วิธีการสอนแบบนิรนัย เปนการสอนที่เริ่มตนจากการนํานัยทั่วไปหรือขอสรุป กฎ หรือสูตรที่ทราบแลวมาใชเพื่อที่จะแกปญหาเรื่องใหม และเกิดขอสรุปอันใหมขึ้น 8. วิธีการสอนแบบคนพบ (Discovery Method) เปนวิธีการสอนแบบคนพบมี ความหมายดังนี้ ประการแรก เปนวิธีการสอนที่ใหผูเรียนพบปญหาหรือสถานการณแลวใหผูเรียนเสาะ แสวงหาวิธีการแกปญหานั้น ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาผลที่เกิดขึ้น ซึ่งผูสอนมิไดคาดหวังวาผูเรียนจะตอง คนพบดังที่ผูสอนตองการเสมอไป เปนการคนพบที่เนนกระบวนการคนพบไมเนนที่ผลการคนพบ ประการที่สอง เปนวิธีการสอนที่เนนไปที่ผูเรียนวา ตองการใหคนพบอะไรผูเรียนจะ สามารถหาขอสรุปได การคนพบแบบนี้จะคนพบโดยวิธีการสอนวิธีใดก็ได มี 3 วิธีคือ 1. การคนพบดวยตัวเอง 2. การคนพบภายใตการแนะแนวทางของผูสอน 3. การคนพบเปนรายบุคคลหรือใหเรียนเปนคณะ 9. วิธีการสอนแบบอธิบายและแสดงเหตุผล (Expository Method) เปนวิธีการสอนที่ ผูเรียนทั้งชั้นไมสามารถคิดได ผูสอนจําเปนตองอธิบาย ในขณะที่อธิบายผูสอนก็จะพยายามวิเคราะห ตีความใหผูเรียนเขาใจ แลวผูสอนก็จะสรุปดวยตนเอง ผูเรียนจะเปนผูฟงเปนสวนใหญผเู รียนไมคอยมี  โอกาสรวมกิจกรรมมากนัก นอกจากตอบคําถามของผูสอน และซักถามเรื่องที่ยังไมคอยเขาใจเทานั้น
  • 13. 19 กระทรวงศึกษาธิการ (2545 ก: 49 – 52) ไดกลาวถึงการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เนนผูเรียน เปนสําคัญไว 6 วิธีดังนี้คือ 1. การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ บูรณาการ หมายถึง การนําศาสตรตางๆ ที่มี ความสัมพันธเกี่ยวของมาผสมผสานกันเพื่อประโยชนในการดําเนินการ การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการจึงเปนการนําเอาความรูสาขาวิชาตางๆ ที่สัมพันธกันมาผสมผสานกันเพื่อใหการเรียนการสอน เกิดประโยชนสูงสุด การเรียนการสอนแบบบูรณาการจะเนนองครวมของเนื้อหามากกวาองคความรูของ แตละรายวิชาและเนนที่การสรางความรูของผูเรียนมากกวาการใชเนื้อหาโดยตัวครู การบูรณาการ สามารถทําไดใน 2 ลักษณะ คือ การบูรณาการภายในวิชา และการบูรณาการระหวางวิชา 2. การเรียนรูโดยกระบวนการกลุม กระบวนการกลุม เปนการจัดสถานการณการเรียนการ สอนที่เปดโอกาสใหคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป ไดมีปฏิสัมพันธกันโดยมีแนวคิดแบงหนาที่ชวยเหลือกันและกัน ในการทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การทํางานเปนกลุมที่ดีจะกอใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานที่สูงยิ่งขึ้น 3. การเรียนรูโดยใชกระบวนการทางคณิตศาสตร กระบวนการทางคณิตศาสตรเปนขั้นตอน การดําเนินการที่นักเรียนปฏิบัติตามลําดับตั้งแตตนจนแลวเสร็จตามจุดประสงคที่กําหนดโดยลําดับ ความสามารถตามจุดประสงคการเรียนรูดังนี้ 3.1 มีความสามารถในการจําแนก คือ สามารถบอกความแตกตาง หรือแยกขอมูลทาง คณิตศาสตรไดโดยใชเกณฑในการบอกความแตกตาง 3.2 มีความแตกตางในการจัดกลุม คือ ความสามารถบอกความเหมือน หรือจัดเขาพวก ไดโดยใชเกณฑในการจัด 3.3 มีความสามารถในการหาความสัมพันธ คือ สามารถเชื่อมโยงขอมูลตั้งแต 2 ขอมูล ขึ้นไปวามีความเกี่ยวของกันหรือไม ลักษณะใด หรือเปนการนําความเกี่ยวของนั้นเชื่อมโยงในการหา คําตอบที่โจทยกําหนด 4. การเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง เปนการเรียนรูที่มุงใหผูเรียน ไดลงมือทํางานนั้นจริงๆ ไดรับประสบการณตรงจากการปฏิบัติจริง โดยใชสื่อสิ่งพิมพหรือสื่อรูปธรรมที่ สามารถนําผูเรียนไปสูการคนพบหรือไดขอสรุปในการใชสื่อรูปธรรม ถาผูสอนสอนดวยตนเองจะใช การสาธิตประกอบคําถาม แตถาใหผูเรียนเรียนดวนตนเองจะใชการทดลองโดยผูเรียนดําเนินการทดลอง ตามกิจกรรมทีผูสอนกําหนดให ผูเรียนที่ปฏิบัติการทดลองมีโอกาสฝกใชทักษะ/กระบวนการตางๆ เชน ่ การสังเกต การคาดคะเน การประมาณคา การใชเครื่องมือการบันทึกขอมูล การอภิปราย การตั้ง ขอความคาดการณหรือขอสมมุติฐาน การสรุปกระบวนการดําเนินการทดลองหรือปฏิบัติกิจกรรมทาง คณิตศาสตรเปดโอกาสใหผูเรียนไดพิสูจน ใชเหตุผล อางขอเท็จจริง ตลอดจนไดฝกทักษะในการ แกปญหาใหมๆ การจัดการเรียนรูแบบนี้เปดโอกาสใหผูเรียนมีอิสระในการคิด และเลือกใชยุทธวิธีที่ เหมาะสมในการแกปญหา ขณะที่ผูเรียนทําการทดลอง ผูสอนควรสังเกตแนวคิดของผูเรียนวาเปนไป  อยางถูกตองหรือไม ถาเห็นผูเรียนคิดไมตรงแนวทาง ควรตั้งคําถามใหผูเรียนคิดใหม ถึงแมจะตองใชเวลา มากขึ้น เพราะผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนรูดวยตนเองมากกวาการเรียนรูที่ผูสอนบอกหรือ สรุปผลให 5. การเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู การเรียนแบบสืบเสาะหาความรูผูสอนควรจัด สถานการณที่เปนปญหาใหผูเรียนเกิดความสงสัย เมื่อผูเรียนสังเกตจนพบปญหานั้นแลวผูสอนควร สงเสริมใหผูเรียนพยายามที่จะคนหาสาเหตุดวยการตั้งคําถามตอเนื่อง และรวบรวมขอมูลมาอธิบายการ
  • 14. 20 เรียนรูดังกลาวเปนการวิเคราะหจากปญหามาหาสาเหตุ ใชคําถามสืบเสาะจนกระทั่งแกปญหาหรือหา ขอสรุปได กระบวนการสืบเสาะหาความรู ประกอบดวย ขั้นสังเกต ขั้นอธิบายขั้นคาดการณ ขั้นทดลอง และขั้นนําไปใช ขั้นตอนเหลานี้จะชวยฝกกระบวนการทางคณิตศาสตรฝกใหผูเรียนรูจัดสังเกตและ วิเคราะหปญหาโดยละเอียด 6. การเรียนรูโดยโครงงาน การจัดการเรียนรูโดยโครงงาน ตั้งอยูบนพื้นฐานการเชื่อและ หลักการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู คือ เชื่อมั่นในศักยภาพของผูเรียน ภายใตการจัดการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญและสอดคลองกับสภาพจริงในทองถิ่น หลักการ/แนวคิดการเรียนรูโดยโครงงาน เปน การจัดประสบการณใหผูเรียนไดเลือกและสรางกระบวนการเรียนรูโดยใชวิธีการศึกษาคนควาอยางลุม ลึกดวยตนเอง และใชแหลงการเรียนรูที่หลากหลาย ซึ่งผูเรียนไดรับประสบการณตรง และไดเรียนรู วิธีการแกปญหา รูจักการทํางานอยางมีระบบ รูจักการวางแผนในการทํางาน ฝกการคิด วิเคราะห และ เกิดการเรียนรูดวยตนเอง