SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           72
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

 แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบสหวิทยาการ เศรษฐกิจพอ
                              เพียง
รหัสวิชา ศ 22102 รายวิชา ทัศนศิลป์           กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ศิลปะ        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ผลิตภัณฑ์ดีในท้องถิ่น
               แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง รูปกลมทรงประดิษฐ์
เวลา 1 ชั่วโมง
 …………………………………………………………………
                …………………………………..
1. มาตรฐานการเรีย นรู้
           ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ
ความคิด
สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์
ถ่ายทอดความรูสึก ความคิดต่องานศิลป์อย่างอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

2.ตัว ชี้ว ัด
            1.อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิด
ของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา

3. สาระสำา คัญ /ความคิด รวบยอด
        การออกแบบผลิตภัณฑ์ควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
     ตามจินตนาการ เห็นคุณค่า
สามารถถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลป์อย่างอิสระ มี
ความชื่นชมและนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

4. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
         4.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทัศน
           ธาตุในด้านรูปแบบ แนวคิดของ
งานทัศนศิลป์
         4.2 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทำางานร่วมกัน
           และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           73
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

 5. สาระการเรีย นรู้
       5.1 รูปแบบของกระบอกข้าวหลาม

  6. สมรรถนะสำา คัญ
       6.1 ความสามารถในการคิด

7. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
         7.1 มุ่งมั่นในการทำางาน

8. ภาระงาน / ชิ้น งาน
         8.1 กระบอกข้าวหลามรูปแบบต่างๆ
             8.2 ใบงาน
9.กระบวนการจัด การเรีย นรู้
         9.1 ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
             1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
             2. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับรูปทรงกระบอก
      ข้าวหลามจากประสบการณ์
         9.2 ขั้น การจัด การเรีย นรู้
           1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 5-6 คน เลือกหัวหน้าและ
      เลขานุการเพื่อทำาหน้าที่
ประสานงานและบันทึกการประชุมกลุ่ม
           2. .ให้นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบรูปทรงกระบอก
      ข้าวหลามตามจินตนาการ
            3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผน
      ออกแบบกระบอกข้าวหลามโดย
วิเคราะห์ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้
นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่าจะออกแบบรูปทรง
กระบอกข้าวหลามอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กำาหนดและให้
นักเรียนคิดหาเหตุผลในการตัดสินใจเลือกรูปแบบกระบอก
ข้าวหลาม
            4. ให้นักเรียนวิเคราะห์ภูมิคุ้มกันที่ดีที่นักเรียนได้รับ
      จากการออกแบบรูป
ทรงกระบอกข้าวหลาม ทำาให้ประสบผลสำาเร็จและมีความปลอดภัย
ในการปฏิบัติ
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           74
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

            5.นักเรียนร่วมกันระดมความคิดในการนำาความรู้มา
       ใช้ในการออแบบรูป
ทรงกระบอกข้าวหลามโดยใช้คุณธรรมด้านใดบ้างที่ทำาให้งาน
สำาเร็จ
       9.3 ขั้น สรุป
          1.นักเรียนทุกกลุ่มนำาเสนอผลงานการปฏิบัติจากการ
       ออกแบบรูปทรงกระบอกข้าว
หลามหน้าชั้นเรียน
            2.นักเรียนและครูช่วยกันสรุปขั้นตอนในการออกแบ
       รูปทรงกระบอกข้าวหลาม
หน้าชั้นเรียน

    10. สื่อ และแหล่ง การเรีย นรู้
           10.1 ใบงาน
    11.การวัด และประเมิน ผล
       11.1 วิธ ีก ารประเมิน
           11.1.1 ตรวจใบงาน
                 11.1.2 ตรวจผลงาน
               11.1.3 สังเกตุพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
       11.2 เครื่อ งมือ
           11.2.1 แบบประเมินใบงาน     11.2.2 แบบประเมิน
     ผลงาน
           11.2.3.แบบสังเกตุพฤติกรรม
     11.3เกณฑ์ก ารประเมิน
           11.3.1 ตรวจใบงาน                 ผ่านเกณฑ์ใน
           ระดับ ดี
           11.3.2 ตรวจผลงาน                    ผ่านเกณฑ์
     ในระดับ ดี
           11.3.3 สังเกตุพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ผ่าน
           เกณฑ์ในระดับ ดี

12.บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้
        (เขียนประเด็นเน้นผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ ความรู้
สมรรถนะ คุณลักษณะพอเพียง)
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           75
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่




         บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง สู่การจัดการเรียนรู้
                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 ครูผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร ในขั้น
                 เตรียมการสอน/จัดการเรียนรู้
ประเด็ ความพอประมาณ                   ความมีเ หตุผ ล       การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่
     น                                                            ดีใ นตัว
 เนื้อหา - วิเคราะห์เนื้อหา        - มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะ - สอนได้ตรงตาม
       ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
            ออกแบบและจัด             ้
                                   กระบวนการคิด             จุดประสงค์ของ
                                                                        76
            กิจกรรมสอดคล้อง ในการนำา ไปใช้งสรรค์ สาระการเรียนรู้ที่
                 รณาการฯ ศธ.       วิเคราะห์ สร้า เพือ การอืน ใด
                                                        ่    ่
            กับหลักสูตรและ         แก้ปัญหาในงาน            กำาหนดไว้ใน
            มาตรฐานการเรียนรู้ ศิลปะตลอดการ                 หลักสูตร
            ตัวชี้วัดของสาระ       ทำางานให้ประสบ           - นำาความรู้ไป
            การเรียนรู้            ความสำาเร็จ              เชื่อมโยงกับกลุ่ม
            - ครูมีความรอบรู้      - มุ่งให้ผู้นักเรียนมี   สาระการเรียนรู้
            ในเรื่องทัศนธาตุ       ความรู้เรื่องทัศนธาตุ อื่นๆได้อย่างเหมาะ
            การจัดองค์ประกอบ การจัดองค์ประกอบ               สม
            ศิลป์                  ศิลป์
 เวลา/ - จัดกิจกรรมการ             - เพื่อให้การจัด         -สามารถบิหาร
   วัย      เรียนรู้ให้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้           จัดการเวลาในการ
            กับเวลา วัยตาม         บรรลุตาม                 ปฏิบัติงานในด้าน
            ความสามารถและ          วัตถุประสงค์ที่กำาหนด ต่างๆ ได้
            ศักยภาพของผู้เรียน ไว้
การจัด       - จัดกิจกรรมการ       - เพื่อให้การจัด         - มีการวางแผน
กิจกรร เรียนรู้ให้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้                บริหารจัดการ
มการ        ความรู้ ความ           บรรลุตามมาตรฐาน          กิจกรรมการเรียนรู้
เรียนรู้ สามารถตาม                 และตัวชี้วัด มีลักษณะ อย่างเป็นระบบ
            ศักยภาพของผู้เรียน อันพึงประสงค์ตามที่ รอบคอบ
                                   หลัดสูตรกำาหนด            - จัดทำาแผน สื่อ
                                   - ออกแบบการจัดการ แบบวัดผล ประเมิน
                                   เรียนรู้เพื่อให้เห็น     ผลที่เหมาะสมกับ
                                   คุณค่าของภูมิปัญญา เนื้อหา
                                   ท้องถิ่น                 - กำาหนด มอบ
                                                            หมายงานเพื่อให้
                                                            นักเรียนเตรียมตัว
                                                            ล่วงหน้า




ประเด็ ความพอประมาณ                    ความมีเ หตุผ ล         การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่
  น                                                              ดีใ นตัว

  สือ/
    ่       -ใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ - ใช้ทรัพยากรที่มีใน       - จัดเตรียมวัสดุ
 แหล่ง      ทรัพยากรต่างๆ ที่      ท้องถิ่นให้เกิด            อุปกรณ์ในการ
 เรียนรู้   หาได้ในท้องถิ่นมา ประโยชน์อย่างคุ้มค่า            จัดการเรียนรู้ให้
            ใช้ได้อย่างเหมาะสม                                เพียงพอกับผู้เรียน
            -เลือกใช้วัสดุ                                    และวิธีป้องกัน
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           77
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

     บูร ณาการเศรษฐกิจ พอเพีย ง สู่ก ารจัด การเรีย นรู้
                กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ศ ิล ปะ
  นัก เรีย นจะได้เ รีย นรู้อ ยู่อ ย่า งพอเพีย งอย่า งไรบ้า งจาก
                      กิจ กรรมการเรีย นรู้

ความพอประมาณ               ความมีเ หตุผ ล    การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่ด ี
                                                     ในตัว
- ผู้เรียนได้เรียนรู้ - ผู้เรียนมีความรู้    - รู้จักการวางแผน
เรื่องการแบ่งเวลาใน และเชื่อมโยงความรู้ กระบวนการทำางาน
การทำากิจกรรมตาม จากกลุ่มสาระการ             อย่างเป็นระบบให้
ที่ได้รับมอบหมาย      เรียนรู้อื่น           ประสบความสำาเร็จ
- เรียนรู้การใช้วัสดุ - เสริใสร้าง           และปลอดภัย
อุปกรณ์และงบ          กระบวนการทำางาน - ปรับตัวในการ
ประมาณที่มีอยู่อย่าง การคิด การแก้           ดำาเนินชีวิตพร้อมรับ
ประหยัดและคุ้มค่า     ปัญหาในการทำางาน การเปลี่ยนแปลงใน
- ผู้เรียนเรียนรู้ใน  - ผู้เรียนรู้จักเลือก  สังคม
การทำากิจกรรม         ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี   - เกิดความตระหนัก
ภาระงานได้เหมาะ       อยู่อย่างประหยัด       ในการประหยัดและ
สมกับความรู้ ความ และคุ้มค่า                 อดออม
สามารถตามวัยของ - กระตุ้นให้ผู้เรียน
ผู้เรียน              มีความคิดริเริ่ม
                      สร้างสรรค์ในงาน
                      ศิลปะ
                      - นำาหลักปรัชญา
                      ของเศรษฐกิจพอ
                      เพียงมาประยุกต์ใช้
                      ในการดำารงชีวิต
       ความรู้            - รอบรู้ รอบคอบเกี่ยวกับทัศนธาตุ
                              องค์ประกอบของศิลปะ
       คุณธรรม            - มีความรับผิดชอบ ความอดทน มี
                              วินัย ประหยัด และตรงต่อเวลา
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                                  ้                           78
              รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                              ่       ่




                         กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
      ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดกับผู้เรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้
                          บูรณาการหลักปรัชญา
                          ของเศรษฐกิจพอเพียง
 ด้าน          วัตถุ               สังคม       สิ่งแวดล้อม    วัฒนธรรม
  วัด
ความรู้ -มีความรู้ในการ -รู้จักแบ่งหน้าที่ -มีความรู้ใน -มีความรู้
        ออกแบบชิ้นงาน รับผิดชอบใน การเหลือใช้ ความเข้าใจ
        ใ ห ม่ ที่ ห ล า ก การทำางาน         วัสดุอุปกรณ์ ในภูมิปัญญา
        หลาย                 -แลกเปลี่ยน     ในท้องถิ่นมา ท้องถิ่นมาใช้
        -มีความรู้ความ เรียนรู้จาก           ใช้ประโยชน์ ในการ
        เข้าใจในการ          เพื่อนครูและ    ได้อย่าง       ออกแบบชิ้น
        เลือกใช้วัสดุ        ภูมิปัญญาท้อง เหมาะสมและ งานได้อย่าง
        อุปกรณ์ อย่าง        ถิ่น            ใช้ธรรมชาติ หลากหลาย
        คุ้มค่าและถูกวิธี                    รอบ ๆตัวเป็น
                                             แบบในการ
                                             สร้างสรรค์
                                             งาน
                                             -มีความรู้
                                             เกี่ยวกับการ
                                             รักษา
                                             ธรรมชาติ
                                             และสิ่ง
                                             แวดล้อม
ทักษะ -มีทักษะการ            - เรียนรู้      -สร้างสรรค์ -การช่วย
        ทำางานและ            กระบวนการ       งานศิลปะ       เหลือเกื้อกูล
        สามารถเลือกใช้ กลุ่มฝึกการ           โดยอาศัย       เอือเฟื้อแบ่ง
                                                               ้
        วัสดุอุปกรณ์ได้ ทำางานร่วมกัน ธรรมชาติ              ปัน
        ถูกตามขั้นตอน อย่างเป็นระบบ และสิ่ง
        อย่างคุ้มค่าและ ทำาให้ประสบ          แวดล้อมที่อยู่
        ถูกต้องตามหลัก ความสำาเร็จ           รอบตัว
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                                  ้                           79
              รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                              ่       ่

        ขององค์
        ประกอบศิลป์
        -มีทักษะในการ
        เก็บและบำารุง
        รักษาอุปกรณ์
ค่านิยม -เห็นคุณค่าของ    -เกิดความรัก    -ตระหนักใน      -สืบทอดและ
        วัสดุอุปกรณ์โดย   สามัคคีในหมู่   การใช้          เห็นคุณค่า
        ใช้อย่าง          คณะและ          ทรัพยากรที่มี   วัฒนธรรม
        ประหยัดและคุ้ม    ยอมรับฟัง       อยู่อย่างคุ้ม   ท้องถิ่น
        ค่า               ความคิดเห็น     ค่า
        -มีเจตนคติที่ดี   ของผู้อื่น
        ต่องานศิลปะ

                               ใบงานที่ 1
                  เรื่อ ง รูป กลมทรงประดิษ ฐ์
    ชื่อกลุ่ม………………………………….ชั้น…………………..
   รายชื่อ สมาชิก กลุ่ม
   1……………………..……..เลขที่…………
   2……………………………..……..เลขที่…………
   3……………………..……..เลขที่…………
   4……………………………..……..เลขที่…………
   5……………………..……..เลขที่…………
   6……………………………..……..เลขที่…………

   คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบรูปทรงกระบอกข้าวหลาม
   ตามจินตนาการ
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           80
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่




                      แบบประเมิน ใบงาน

รหัสวิชา ศ 32101      รายวิชา งานศิลปะ          เรื่อง รูปกลม
                    ทรงประดิษฐ์

          รายการ    คุณภาพ    ความคิด ขั้นตอน      ทักษะ         รวม
    กลุ่มที่        ของผล     สร้างสร    การ        การ         คะแน
                      งาน       รค์    ปฏิบัติ     ทำางาน         น
                                         งาน
                       5         5        5           5         20
1
2
3
4
5
6


        ลงชื่อ…………………………………..ผู้ประเมิน
           (…………………………………………)
              ……………/…………./…………..
เกณฑ์การประเมิน
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           81
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

        17-20      คะแนน    ดีมาก ได้คุณภาพ ระดับ 4
        14-16      คะแนน   ดี   ได้คุณภาพ ระดับ 3
        11-13      คะแนน    พอใช้ ได้คุณภาพ ระดับ 2
        ตำ่ากว่า   10 คะแนน ปรับปรุง ได้คุณภาพระดับ 1




                แบบสัง เกตพฤติก รรมการปฏิบ ัต ิง านกลุ่ม

รหัสวิชา ง 32101            รายวิชา ทัศนศิลป์         เรื่อง รูปกลม
                          ทรงประดิษฐ์

               รายก     การ      ภาวะ      ความ ความ        ความ       รวม
         าร           วางแผน     ผู้นำา   ร่วมมือ สะอาด     รับผิด    คะแนน
                       ปฏิบัติ   ผูตาม
                                   ้              เรียบร้    ชอบ
    กลุ่มที่            งาน                         อย
                         4         4         4       4        4        20
1
2
3
4
5
6


        ผู้ประเมิน           ครูผู้สอน                      ตนเอง
        เพื่อน

               ลงชื่อ…………………………………..ผู้ประเมิน
                  (…………………………………………)
                     ……………/…………./…………..
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           82
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่


เกณฑ์การประเมิน
    17-20 คะแนน       ดีมาก ได้คุณภาพ ระดับ 4
    14-16 คะแนน      ดี   ได้คุณภาพ ระดับ 3
    11-13 คะแนน       พอใช้ ได้คุณภาพ ระดับ 2
    ตำ่ากว่า 10 คะแนน ปรับปรุง ได้คุณภาพระดับ 1



                       เกณฑ์ก ารให้ค ะแนน
ขั้น ตอนการปฎิบ ิต ิง าน
5 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงาน
สมบูรณ์เป็นแบบอย่างกับผู้อื่นได้
4 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงานสมบูรณ์
3 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงานไม่
สมบูรณ์
2 หมายถึง การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามขั้นตอนแต่มีผลงาน
ปรากฏบางส่วน
1 หมายถึง การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามขั้นตอนไม่ปรากฏผล
งาน
ทัก ษะการทำา งาน
5 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
มีผลงานครบถ้วน
4 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
มีผลงาน
3 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
เป็นบางส่วนและมีผลงาน
2 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง
น้อยและ มีผลงาน
1 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง
แต่ มีผลงาน
คุณ ภาพงาน
5 หมายถึง ผลงานถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นตัวอย่างผู้อื่นได้
4 หมายถึง ผลงานถูกต้อง สมบูรณ์
3 หมายถึง ผลงานถูกต้อง แต่ไม่สมบูรณ์
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           83
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

2 หมายถึง ผลงานไม่สมบูรณ์
1 หมายถึง ผลงานไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์
ความคิด สร้า งสรรค์
5 หมายถึง ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของตนเอง นำา
ไปเผยแพร่ได้
4 หมายถึง ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากการประยุกต์ความคิด
ของผูอื่น
       ้
3 หมายถึง ผลงานมีรูปแบบเหมือนผลงานทั่ว ๆไป
2 หมายถึง ผลงานมีรูปแบบ ไม่เหมาะสม
1 หมายถึง ผลงานไม่สามารถประเมินได้
ความละเอีย ดรอบคอบ
5 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต ละเอียด
รอบคอบ ทุกขั้นตอน
4 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต ละเอียด แต่
ไม่รอบคอบ ทุกขั้นตอน
3 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต แต่ไม่
ละเอียด รอบคอบ
2 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ ขาดความประณีต ละเอียด
รอบคอบ
1 หมายถึง ไม่ตั้งใจทำางาน ขากความประณีต ละเอียด
รอบคอบ
ความสามัค คี
5 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานอย่าง
สมำ่าเสมอ
4 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นส่วน
ใหญ่
3 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นบาง
ขั้นตอน
2 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นบาง
ส่วน
1 หมายถึง ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ช่วยเหลือกันในการทำางาน
ความรับ ผิด ชอบ
5 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน
สมบูรณ์ ส่งงานตรงตามเวลา
              กำาหนด
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           84
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

4 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน
สมบูรณ์ ส่งงานไม่ตรงตามเวลา
                กำาหนด
3 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน
ไม่สมบูรณ์ ส่งงานตรงตามเวลา
                กำาหนด
2 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ไม่รับผิดชอบการปฏิบัติงาน
และผลงานไม่สมบูรณ์
1 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ไม่รับผิดชอบการปฏิบัติงาน
และไม่ส่งผลงาน
ความขยัน อดทน
5 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน จนผลงานเสร็จ
สมบูรณ์
4 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน ผลงานค่อนข้างเสร็จ
สมบูรณ์
3 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน ผลงานไม่เสร็จ
สมบูรณ์
2 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงานน้อย ผลงานไม่เสร็จ
สมบูรณ์
1 หมายถึง ไม่ขยัน ไม่อดทน ในการปฏิบัติงาน แต่มีผลงาน
ปรากฏบางส่วน
ความประหยัด
5 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างคุ้มค่า และมีผล
งานสมบูรณ์
4 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างคุ้มค่า และมีผล
งานไม่สมบูรณ์
3 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี
ผลงานสมบูรณ์
2 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี
ผลงานไม่สมบูรณ์
1 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี
ผลงานปรากฏบางส่วน


การนำา เสนอผลงาน
ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู
                              ้                           85
          รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด
                                          ่       ่

5 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์
ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องทั้งหมด
4 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์
ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องบาง
              ขันตอน
                ้
 3 หมายถึง ใช้นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุ
อุปกรณ์ไม่ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องบาง
                ขันตอน
                  ้
2 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์ไม่
ครบ ไม่บอกวิธีทำา
1 หมายถึง นำาเสนอได้ไม่ตามขั้นตอน ไม่บอกวัสดุอุปกรณ์ครบ
และวิธีทำา

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556Piphat Kon Kean Chalk
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนnokhongkhum
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 

Tendances (20)

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 

En vedette

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2Bow Rattikarn
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
Grammar book
Grammar bookGrammar book
Grammar bookconnkirk
 
Grammar book
Grammar bookGrammar book
Grammar bookannpear
 
Simply me! --edu1103
Simply me!  --edu1103Simply me!  --edu1103
Simply me! --edu1103BrieHoover
 
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6Kazuo Asano (@kazuo_asa)
 
Favorite tv shows in the herzog home
Favorite tv shows in the herzog homeFavorite tv shows in the herzog home
Favorite tv shows in the herzog homestephanieherzog72
 
Technology and education
Technology and education Technology and education
Technology and education schwynh
 
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramuka
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramukaSelamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramuka
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramukaArtaya Honest
 

En vedette (20)

แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
Grammar book
Grammar bookGrammar book
Grammar book
 
IIM Consortia
IIM ConsortiaIIM Consortia
IIM Consortia
 
Nisto Cremos Capítulo 21
Nisto Cremos Capítulo 21Nisto Cremos Capítulo 21
Nisto Cremos Capítulo 21
 
Isuzu(update07 03-56)
Isuzu(update07 03-56)Isuzu(update07 03-56)
Isuzu(update07 03-56)
 
Grammar book
Grammar bookGrammar book
Grammar book
 
Simply me! --edu1103
Simply me!  --edu1103Simply me!  --edu1103
Simply me! --edu1103
 
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6
Starting qt5beta at_raspberry_pi Qtnagoya#6
 
Favorite tv shows in the herzog home
Favorite tv shows in the herzog homeFavorite tv shows in the herzog home
Favorite tv shows in the herzog home
 
Technology and education
Technology and education Technology and education
Technology and education
 
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramuka
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramukaSelamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramuka
Selamat ta hun baru 2013.artayahonest.pramuka
 

Similaire à ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง

ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 

Similaire à ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง (20)

ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
Inno
InnoInno
Inno
 
Buengtungsang learning
Buengtungsang learningBuengtungsang learning
Buengtungsang learning
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 

Plus de สุภาพ เนื่องโนราช

Plus de สุภาพ เนื่องโนราช (6)

การพัฒนาบุคลากร
การพัฒนาบุคลากรการพัฒนาบุคลากร
การพัฒนาบุคลากร
 
การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยยึดหลักปรัชญาของเศร...
การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยยึดหลักปรัชญาของเศร...การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยยึดหลักปรัชญาของเศร...
การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยยึดหลักปรัชญาของเศร...
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 

ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 72 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบสหวิทยาการ เศรษฐกิจพอ เพียง รหัสวิชา ศ 22102 รายวิชา ทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ผลิตภัณฑ์ดีในท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง รูปกลมทรงประดิษฐ์ เวลา 1 ชั่วโมง ………………………………………………………………… ………………………………….. 1. มาตรฐานการเรีย นรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ ความคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรูสึก ความคิดต่องานศิลป์อย่างอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 2.ตัว ชี้ว ัด 1.อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิด ของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา 3. สาระสำา คัญ /ความคิด รวบยอด การออกแบบผลิตภัณฑ์ควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตามจินตนาการ เห็นคุณค่า สามารถถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลป์อย่างอิสระ มี ความชื่นชมและนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 4. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ 4.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทัศน ธาตุในด้านรูปแบบ แนวคิดของ งานทัศนศิลป์ 4.2 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทำางานร่วมกัน และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และคุ้มค่า
  • 2. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 73 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 5. สาระการเรีย นรู้ 5.1 รูปแบบของกระบอกข้าวหลาม 6. สมรรถนะสำา คัญ 6.1 ความสามารถในการคิด 7. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ 7.1 มุ่งมั่นในการทำางาน 8. ภาระงาน / ชิ้น งาน 8.1 กระบอกข้าวหลามรูปแบบต่างๆ 8.2 ใบงาน 9.กระบวนการจัด การเรีย นรู้ 9.1 ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับรูปทรงกระบอก ข้าวหลามจากประสบการณ์ 9.2 ขั้น การจัด การเรีย นรู้ 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 5-6 คน เลือกหัวหน้าและ เลขานุการเพื่อทำาหน้าที่ ประสานงานและบันทึกการประชุมกลุ่ม 2. .ให้นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบรูปทรงกระบอก ข้าวหลามตามจินตนาการ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผน ออกแบบกระบอกข้าวหลามโดย วิเคราะห์ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้ นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่าจะออกแบบรูปทรง กระบอกข้าวหลามอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กำาหนดและให้ นักเรียนคิดหาเหตุผลในการตัดสินใจเลือกรูปแบบกระบอก ข้าวหลาม 4. ให้นักเรียนวิเคราะห์ภูมิคุ้มกันที่ดีที่นักเรียนได้รับ จากการออกแบบรูป ทรงกระบอกข้าวหลาม ทำาให้ประสบผลสำาเร็จและมีความปลอดภัย ในการปฏิบัติ
  • 3. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 74 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 5.นักเรียนร่วมกันระดมความคิดในการนำาความรู้มา ใช้ในการออแบบรูป ทรงกระบอกข้าวหลามโดยใช้คุณธรรมด้านใดบ้างที่ทำาให้งาน สำาเร็จ 9.3 ขั้น สรุป 1.นักเรียนทุกกลุ่มนำาเสนอผลงานการปฏิบัติจากการ ออกแบบรูปทรงกระบอกข้าว หลามหน้าชั้นเรียน 2.นักเรียนและครูช่วยกันสรุปขั้นตอนในการออกแบ รูปทรงกระบอกข้าวหลาม หน้าชั้นเรียน 10. สื่อ และแหล่ง การเรีย นรู้ 10.1 ใบงาน 11.การวัด และประเมิน ผล 11.1 วิธ ีก ารประเมิน 11.1.1 ตรวจใบงาน 11.1.2 ตรวจผลงาน 11.1.3 สังเกตุพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม 11.2 เครื่อ งมือ 11.2.1 แบบประเมินใบงาน 11.2.2 แบบประเมิน ผลงาน 11.2.3.แบบสังเกตุพฤติกรรม 11.3เกณฑ์ก ารประเมิน 11.3.1 ตรวจใบงาน ผ่านเกณฑ์ใน ระดับ ดี 11.3.2 ตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ ในระดับ ดี 11.3.3 สังเกตุพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ผ่าน เกณฑ์ในระดับ ดี 12.บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้ (เขียนประเด็นเน้นผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ ความรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะพอเพียง)
  • 4. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 75 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง สู่การจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ครูผู้สอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร ในขั้น เตรียมการสอน/จัดการเรียนรู้
  • 5. ประเด็ ความพอประมาณ ความมีเ หตุผ ล การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่ น ดีใ นตัว เนื้อหา - วิเคราะห์เนื้อหา - มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะ - สอนได้ตรงตาม ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ออกแบบและจัด ้ กระบวนการคิด จุดประสงค์ของ 76 กิจกรรมสอดคล้อง ในการนำา ไปใช้งสรรค์ สาระการเรียนรู้ที่ รณาการฯ ศธ. วิเคราะห์ สร้า เพือ การอืน ใด ่ ่ กับหลักสูตรและ แก้ปัญหาในงาน กำาหนดไว้ใน มาตรฐานการเรียนรู้ ศิลปะตลอดการ หลักสูตร ตัวชี้วัดของสาระ ทำางานให้ประสบ - นำาความรู้ไป การเรียนรู้ ความสำาเร็จ เชื่อมโยงกับกลุ่ม - ครูมีความรอบรู้ - มุ่งให้ผู้นักเรียนมี สาระการเรียนรู้ ในเรื่องทัศนธาตุ ความรู้เรื่องทัศนธาตุ อื่นๆได้อย่างเหมาะ การจัดองค์ประกอบ การจัดองค์ประกอบ สม ศิลป์ ศิลป์ เวลา/ - จัดกิจกรรมการ - เพื่อให้การจัด -สามารถบิหาร วัย เรียนรู้ให้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ จัดการเวลาในการ กับเวลา วัยตาม บรรลุตาม ปฏิบัติงานในด้าน ความสามารถและ วัตถุประสงค์ที่กำาหนด ต่างๆ ได้ ศักยภาพของผู้เรียน ไว้ การจัด - จัดกิจกรรมการ - เพื่อให้การจัด - มีการวางแผน กิจกรร เรียนรู้ให้เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ บริหารจัดการ มการ ความรู้ ความ บรรลุตามมาตรฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ เรียนรู้ สามารถตาม และตัวชี้วัด มีลักษณะ อย่างเป็นระบบ ศักยภาพของผู้เรียน อันพึงประสงค์ตามที่ รอบคอบ หลัดสูตรกำาหนด - จัดทำาแผน สื่อ - ออกแบบการจัดการ แบบวัดผล ประเมิน เรียนรู้เพื่อให้เห็น ผลที่เหมาะสมกับ คุณค่าของภูมิปัญญา เนื้อหา ท้องถิ่น - กำาหนด มอบ หมายงานเพื่อให้ นักเรียนเตรียมตัว ล่วงหน้า ประเด็ ความพอประมาณ ความมีเ หตุผ ล การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่ น ดีใ นตัว สือ/ ่ -ใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ - ใช้ทรัพยากรที่มีใน - จัดเตรียมวัสดุ แหล่ง ทรัพยากรต่างๆ ที่ ท้องถิ่นให้เกิด อุปกรณ์ในการ เรียนรู้ หาได้ในท้องถิ่นมา ประโยชน์อย่างคุ้มค่า จัดการเรียนรู้ให้ ใช้ได้อย่างเหมาะสม เพียงพอกับผู้เรียน -เลือกใช้วัสดุ และวิธีป้องกัน
  • 6. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 77 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ บูร ณาการเศรษฐกิจ พอเพีย ง สู่ก ารจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ศ ิล ปะ นัก เรีย นจะได้เ รีย นรู้อ ยู่อ ย่า งพอเพีย งอย่า งไรบ้า งจาก กิจ กรรมการเรีย นรู้ ความพอประมาณ ความมีเ หตุผ ล การมีภ ูม ิค ุ้ม กัน ที่ด ี ในตัว - ผู้เรียนได้เรียนรู้ - ผู้เรียนมีความรู้ - รู้จักการวางแผน เรื่องการแบ่งเวลาใน และเชื่อมโยงความรู้ กระบวนการทำางาน การทำากิจกรรมตาม จากกลุ่มสาระการ อย่างเป็นระบบให้ ที่ได้รับมอบหมาย เรียนรู้อื่น ประสบความสำาเร็จ - เรียนรู้การใช้วัสดุ - เสริใสร้าง และปลอดภัย อุปกรณ์และงบ กระบวนการทำางาน - ปรับตัวในการ ประมาณที่มีอยู่อย่าง การคิด การแก้ ดำาเนินชีวิตพร้อมรับ ประหยัดและคุ้มค่า ปัญหาในการทำางาน การเปลี่ยนแปลงใน - ผู้เรียนเรียนรู้ใน - ผู้เรียนรู้จักเลือก สังคม การทำากิจกรรม ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี - เกิดความตระหนัก ภาระงานได้เหมาะ อยู่อย่างประหยัด ในการประหยัดและ สมกับความรู้ ความ และคุ้มค่า อดออม สามารถตามวัยของ - กระตุ้นให้ผู้เรียน ผู้เรียน มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในงาน ศิลปะ - นำาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอ เพียงมาประยุกต์ใช้ ในการดำารงชีวิต ความรู้ - รอบรู้ รอบคอบเกี่ยวกับทัศนธาตุ องค์ประกอบของศิลปะ คุณธรรม - มีความรับผิดชอบ ความอดทน มี วินัย ประหยัด และตรงต่อเวลา
  • 7. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 78 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดกับผู้เรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม วัด ความรู้ -มีความรู้ในการ -รู้จักแบ่งหน้าที่ -มีความรู้ใน -มีความรู้ ออกแบบชิ้นงาน รับผิดชอบใน การเหลือใช้ ความเข้าใจ ใ ห ม่ ที่ ห ล า ก การทำางาน วัสดุอุปกรณ์ ในภูมิปัญญา หลาย -แลกเปลี่ยน ในท้องถิ่นมา ท้องถิ่นมาใช้ -มีความรู้ความ เรียนรู้จาก ใช้ประโยชน์ ในการ เข้าใจในการ เพื่อนครูและ ได้อย่าง ออกแบบชิ้น เลือกใช้วัสดุ ภูมิปัญญาท้อง เหมาะสมและ งานได้อย่าง อุปกรณ์ อย่าง ถิ่น ใช้ธรรมชาติ หลากหลาย คุ้มค่าและถูกวิธี รอบ ๆตัวเป็น แบบในการ สร้างสรรค์ งาน -มีความรู้ เกี่ยวกับการ รักษา ธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม ทักษะ -มีทักษะการ - เรียนรู้ -สร้างสรรค์ -การช่วย ทำางานและ กระบวนการ งานศิลปะ เหลือเกื้อกูล สามารถเลือกใช้ กลุ่มฝึกการ โดยอาศัย เอือเฟื้อแบ่ง ้ วัสดุอุปกรณ์ได้ ทำางานร่วมกัน ธรรมชาติ ปัน ถูกตามขั้นตอน อย่างเป็นระบบ และสิ่ง อย่างคุ้มค่าและ ทำาให้ประสบ แวดล้อมที่อยู่ ถูกต้องตามหลัก ความสำาเร็จ รอบตัว
  • 8. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 79 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ ขององค์ ประกอบศิลป์ -มีทักษะในการ เก็บและบำารุง รักษาอุปกรณ์ ค่านิยม -เห็นคุณค่าของ -เกิดความรัก -ตระหนักใน -สืบทอดและ วัสดุอุปกรณ์โดย สามัคคีในหมู่ การใช้ เห็นคุณค่า ใช้อย่าง คณะและ ทรัพยากรที่มี วัฒนธรรม ประหยัดและคุ้ม ยอมรับฟัง อยู่อย่างคุ้ม ท้องถิ่น ค่า ความคิดเห็น ค่า -มีเจตนคติที่ดี ของผู้อื่น ต่องานศิลปะ ใบงานที่ 1 เรื่อ ง รูป กลมทรงประดิษ ฐ์ ชื่อกลุ่ม………………………………….ชั้น………………….. รายชื่อ สมาชิก กลุ่ม 1……………………..……..เลขที่………… 2……………………………..……..เลขที่………… 3……………………..……..เลขที่………… 4……………………………..……..เลขที่………… 5……………………..……..เลขที่………… 6……………………………..……..เลขที่………… คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนทุกกลุ่มออกแบบรูปทรงกระบอกข้าวหลาม ตามจินตนาการ
  • 9. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 80 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ แบบประเมิน ใบงาน รหัสวิชา ศ 32101 รายวิชา งานศิลปะ เรื่อง รูปกลม ทรงประดิษฐ์ รายการ คุณภาพ ความคิด ขั้นตอน ทักษะ รวม กลุ่มที่ ของผล สร้างสร การ การ คะแน งาน รค์ ปฏิบัติ ทำางาน น งาน 5 5 5 5 20 1 2 3 4 5 6 ลงชื่อ…………………………………..ผู้ประเมิน (…………………………………………) ……………/…………./………….. เกณฑ์การประเมิน
  • 10. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 81 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 17-20 คะแนน ดีมาก ได้คุณภาพ ระดับ 4 14-16 คะแนน ดี ได้คุณภาพ ระดับ 3 11-13 คะแนน พอใช้ ได้คุณภาพ ระดับ 2 ตำ่ากว่า 10 คะแนน ปรับปรุง ได้คุณภาพระดับ 1 แบบสัง เกตพฤติก รรมการปฏิบ ัต ิง านกลุ่ม รหัสวิชา ง 32101 รายวิชา ทัศนศิลป์ เรื่อง รูปกลม ทรงประดิษฐ์ รายก การ ภาวะ ความ ความ ความ รวม าร วางแผน ผู้นำา ร่วมมือ สะอาด รับผิด คะแนน ปฏิบัติ ผูตาม ้ เรียบร้ ชอบ กลุ่มที่ งาน อย 4 4 4 4 4 20 1 2 3 4 5 6 ผู้ประเมิน ครูผู้สอน ตนเอง เพื่อน ลงชื่อ…………………………………..ผู้ประเมิน (…………………………………………) ……………/…………./…………..
  • 11. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 82 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ เกณฑ์การประเมิน 17-20 คะแนน ดีมาก ได้คุณภาพ ระดับ 4 14-16 คะแนน ดี ได้คุณภาพ ระดับ 3 11-13 คะแนน พอใช้ ได้คุณภาพ ระดับ 2 ตำ่ากว่า 10 คะแนน ปรับปรุง ได้คุณภาพระดับ 1 เกณฑ์ก ารให้ค ะแนน ขั้น ตอนการปฎิบ ิต ิง าน 5 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงาน สมบูรณ์เป็นแบบอย่างกับผู้อื่นได้ 4 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงานสมบูรณ์ 3 หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ผลงานไม่ สมบูรณ์ 2 หมายถึง การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามขั้นตอนแต่มีผลงาน ปรากฏบางส่วน 1 หมายถึง การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามขั้นตอนไม่ปรากฏผล งาน ทัก ษะการทำา งาน 5 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง มีผลงานครบถ้วน 4 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง มีผลงาน 3 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นบางส่วนและมีผลงาน 2 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง น้อยและ มีผลงาน 1 หมายถึง เลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง แต่ มีผลงาน คุณ ภาพงาน 5 หมายถึง ผลงานถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นตัวอย่างผู้อื่นได้ 4 หมายถึง ผลงานถูกต้อง สมบูรณ์ 3 หมายถึง ผลงานถูกต้อง แต่ไม่สมบูรณ์
  • 12. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 83 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 2 หมายถึง ผลงานไม่สมบูรณ์ 1 หมายถึง ผลงานไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ ความคิด สร้า งสรรค์ 5 หมายถึง ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากความคิดของตนเอง นำา ไปเผยแพร่ได้ 4 หมายถึง ผลงานแปลกใหม่ เกิดจากการประยุกต์ความคิด ของผูอื่น ้ 3 หมายถึง ผลงานมีรูปแบบเหมือนผลงานทั่ว ๆไป 2 หมายถึง ผลงานมีรูปแบบ ไม่เหมาะสม 1 หมายถึง ผลงานไม่สามารถประเมินได้ ความละเอีย ดรอบคอบ 5 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต ละเอียด รอบคอบ ทุกขั้นตอน 4 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต ละเอียด แต่ ไม่รอบคอบ ทุกขั้นตอน 3 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ มีความประณีต แต่ไม่ ละเอียด รอบคอบ 2 หมายถึง ทำางานด้วยความตั้งใจ ขาดความประณีต ละเอียด รอบคอบ 1 หมายถึง ไม่ตั้งใจทำางาน ขากความประณีต ละเอียด รอบคอบ ความสามัค คี 5 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานอย่าง สมำ่าเสมอ 4 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นส่วน ใหญ่ 3 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นบาง ขั้นตอน 2 หมายถึง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือกันในการทำางานเป็นบาง ส่วน 1 หมายถึง ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ช่วยเหลือกันในการทำางาน ความรับ ผิด ชอบ 5 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน สมบูรณ์ ส่งงานตรงตามเวลา กำาหนด
  • 13. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 84 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 4 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน สมบูรณ์ ส่งงานไม่ตรงตามเวลา กำาหนด 3 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การปฏิบัติงานและผลงาน ไม่สมบูรณ์ ส่งงานตรงตามเวลา กำาหนด 2 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ไม่รับผิดชอบการปฏิบัติงาน และผลงานไม่สมบูรณ์ 1 หมายถึง การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ไม่รับผิดชอบการปฏิบัติงาน และไม่ส่งผลงาน ความขยัน อดทน 5 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน จนผลงานเสร็จ สมบูรณ์ 4 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน ผลงานค่อนข้างเสร็จ สมบูรณ์ 3 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงาน ผลงานไม่เสร็จ สมบูรณ์ 2 หมายถึง ขยันอดทนในการปฏิบัติงานน้อย ผลงานไม่เสร็จ สมบูรณ์ 1 หมายถึง ไม่ขยัน ไม่อดทน ในการปฏิบัติงาน แต่มีผลงาน ปรากฏบางส่วน ความประหยัด 5 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างคุ้มค่า และมีผล งานสมบูรณ์ 4 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างคุ้มค่า และมีผล งานไม่สมบูรณ์ 3 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี ผลงานสมบูรณ์ 2 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี ผลงานไม่สมบูรณ์ 1 หมายถึง ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำางานอย่างไม่คุ้มค่า และมี ผลงานปรากฏบางส่วน การนำา เสนอผลงาน
  • 14. ร่า งสำา หรับ ทดลองใช้เ ท่า นัน ขอสงวนสิท ธิ์โ ดยคณะทำา งานบู ้ 85 รณาการฯ ศธ. ในการนำา ไปใช้ เพือ การอืน ใด ่ ่ 5 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์ ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องทั้งหมด 4 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์ ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องบาง ขันตอน ้ 3 หมายถึง ใช้นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุ อุปกรณ์ไม่ครบ บอกวิธีทำา ได้ถูกต้องบาง ขันตอน ้ 2 หมายถึง นำาเสนอได้ตามขั้นตอนโดยการบอกวัสดุอุปกรณ์ไม่ ครบ ไม่บอกวิธีทำา 1 หมายถึง นำาเสนอได้ไม่ตามขั้นตอน ไม่บอกวัสดุอุปกรณ์ครบ และวิธีทำา