SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I หรือ First World War
สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นความขัดแย้งระดับโลก เริ่ม
ใน ค.ศ. 1914 สิ้นสุดในค.ศ.1918 เป็นความขัดแย้งระหว่าง
มหาอานาจ 2 ค่าย คือ ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย –
ฮังการี และอิตาลี (ผู้นาสาคัญ คือบิสมาร์ค แห่งเยอรมนี) กับ
ฝ่าย ประกอบด้วย Triple Entente ได้แก่ บริเตนใหญ่ (
อังกฤษ ) ฝรั่งเศส และรัสเซีย การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบ
สังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และสิ้นสุดลง
ด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance
มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและ
                                                             แผนที่สงครามโลครั้งที่ 1 แสดง
พันธมิตรเสียค่าปฏิกรรมสงครามชดใช้จานวนมหาศาลและ               การรบในยุโรปและตะวันออก
                                                                        กลาง
เสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente
สาเหตุสงครามโลกครั้งที่ 1
       1.ลัทธิชาตินยม
                   ิ

       การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา
ทาให้เกิดระบบรวมรัฐชาติ สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่
ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่างแสวงหาความเป็น
มหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ รัฐชาติหมายถึง รัฐหรือ
ประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี
ภาคภูมิใจในความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
ความรักชาติที่รุนแรงจนเป็นลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตน
เหนือกว่าชาติอื่น ผลักดันชาติของตนได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่าด้าน
เศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขันอานาจกัน จน
กลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี
จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
2.ลัทธิจักรวรรดินิยม

        ลัทธิชาตินิยมนาไปสู่ลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิจักรวรรดินิยม หมายถึงประเทศที่พัฒนา
แล้วประสบความสาเร็จด้านเศรษฐกิจ การทหาร และวิทยาศาสตร์ เข้าครอบครอง ที่ด้อยพัฒนา
กว่า ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้
ต้องการวัตถุดิบและตลาด มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย ( เยอรมนี)
เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกันขยายอานาจในการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชียอเมริกากลาง
และอัฟริกาโดยครอบงาทาวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เป็นแหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่
3.การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป
    นโยบายการรวมกลุ่มที่มีผลประโยชน์ตรงกัน เริ่มต้นใน ค.ศ. 1907 เมื่อ เยอรมัน
และออสเตรีย-ฮังการีลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรไตรมิตร (Triple Alliance )
ประจันหน้ากับรุสเซีย เนืองจากเยอรมนี ต้องการไม่ให้รัสเซียเป็นใหญ่ในชนเผ่าสลาฟ
                        ่
แหลมสมุทรบอลข่าน ต่อมามีอิตาลีมาร่วมประเทศ เพราะไม่พอใจฝรั่งเศสที่แย่ง
ครอบครองตูนิเซีย ในฐานะรัฐในอารักขา ฝ่ายออสเตรีย – ฮังการีซึ่งต้องการเป็นใหญ่
ในแหลมบอลข่านเช่นกัน โดยได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อังกฤษ ฝรั่งเศส และ
รัสเซียลงนามในสนธิสัญญาฉันทไมตรีไตรมิตร (Triple Entente ) ค.ศ. 1907และเป็น
พันธมิตรกับญี่ปุ่นด้วย
4. ความขัดแย้งเรื่องแหลมบอลข่าน

    สาเหตุสาคัญเกิดจากการที่ออสเตรีย – ฮังการีขัดแย้ง
กับเซอร์เบีย เรื่องการสร้างเขตอิทธิพลในแหลมบอลข่าน
เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย – ฮังการี ขณะที่รัสเซีย
สนับสนุนเซอร์เบีย ความขัดแย้งขยายความรุนแรงเป็น
สงครามระหว่างรัฐในแหลมบอลข่าน มหาอานาจจึงมี
โอกาสแทรกแซงและตั้งกลุ่มพันธมิตร
จุดระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่ง
     ออสเตรีย-ฮังการีคือ อาร์ค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ กับพระชายา
     โซเฟีย ถูกลอบปลงพระชนม์ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1914ที่เมือง
     ซาราเจโว ขณะเสด็จเยือนเมืองหลวงของบอสเนีย โดยคนร้ายชื่อ
     กาฟริโล ปรินซิพ นักศึกษาชาวบอสเนียสัญชาติเซอร์เบีย
     ออสเตรียเรียกร้องให้เซอร์เบียปฏิบัติตามข้อเรียกร้อง เซอร์เบีย
     ปฏิเสธออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย 28
     กรกฎาคม 1914 รัสเซียแสดงตนว่าเป็นผู้พิทักษ์เผ่าสลาฟจึงระดม
     พล เยอรมนีประกาศสงครามกับฝรั่งเศสและรัสเซีย ต่อมาอังกฤษ
     เข้าสู่สงครามเมื่อเยอรมนีบุกเบลเยียม และญี่ปุ่นได้ประกาศสงคราม
     ต่อเยอรมนี เพราะมุ่งหวังในอาณานิคมของเยอรมนีในจีน

      ภายหลังจากอาร์คดยุกแห่งออสเตรียถูกลอบปลงประชนม์
ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นอริกันต่างกล่าวหาซึ่งกันและกัน ในที่สุดจึงประกาศ
สงครามต่อกันเป็นลูกโซ่ กลายเป็นสงครามใหญ่
ฝ่ายไตรพันธมิตร/พันธมิตร
                                            ฝ่ายไตรภาคี/มหาอานาจกลาง
  Triple Alliance/ Triple Entente/ Allied
                                            Central Powers/Triple Entente
             (Entente) Powers
                 อังกฤษ                              เยอรมันนี

                 ฝรั่งเศส                         ออสเตรีย-ฮังการี

 รัสเซีย (เกิดปฏิวัติของเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองในประเทศ ปี ค.ศ. 1917 จึงถอนตัว
                                                  ออตโตมานเติร์ก
                 ออกไป)


 อเมริกา (เข้ามาร่วมตอนหลัง ค.ศ. 1917)
                                                     บัลแกเรีย

             จีน ญี่ปุ่น ไทย ..               อิตาลี (เข้ามาร่วมทีหลัง)
การแข่งขันการสะสมอาวุธ

       การแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลระหว่างอังกฤษและเยอรมนีนั้นเริ่มรุนแรงขึ้นเมื่อ
กองทัพเรืออังกฤษสร้างเรือประจัญบานชั้นเดรตนอท ซึ่งเป็นเรือประจัญบานขนาดหนักได้สาเร็จ
ในปี ค.ศ. 1906 การคิดค้นเรือดังกล่าวนับเป็นการปฏิวัติทั้งขนาดและพลังอานาจที่เหนือกว่าเรือ
ประจัญบานธรรมดาอย่างยิ่ง ยิ่งไปกว่านั้น อังกฤษยังคงสามารถรักษาความเป็นผู้นาทางทะเลได้
เหนือกว่าเยอรมนีและอิตาลี พอล เคเนดี้ได้ชี้ว่าทั้งสองประเทศมีความเชื่อว่า แนวคิดของอัลเฟรด
เทย์เลอร์ มาฮานเกี่ยวกับการบัญชาการรบทางทะเลว่าเป็นความสาคัญต่อสถานภาพของประเทศ
อย่างมาก แต่การผ่านการจารกรรมทางพาณิชย์อาจพิสูจน์ว่าแนวคิดของเขาอาจจะผิดก็เป็นได้

       เดวิด สตีเวนสัน นักประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ชาวบริเตน ได้กล่าวถึงการ
แข่งขันการสะสมอาวุธว่าเป็น "การสร้างเสริมตัวเองเป็นวงกลมแห่งการเตรียมความพร้อมด้าน
การทหารอย่างแรงกล้า" เดวิด เฮอร์มันน์ได้มองการแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลว่าเป็นหลักที่
จะชี้ชะตาทิศทางของสงคราม
อย่างไรก็ตาม ไนอัล เฟอร์กูสัน นักประวัติศาสตร์ชาวสก็อต ได้โต้แย้งว่า ความสามารถของ
อังกฤษที่จะรักษาความเป็นผู้นาทางการทหารไว้มิได้เป็นปัจจัยของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน
เวลาต่อมา

อังกฤษและเยอรมนีต่างใช้จ่ายเงินในการแข่งขันสะสมอาวุธเป็นจานาวนมาก จากสถิติแล้ว
หกชาติมหาอานาจยุโรป อันได้แก่ อังกฤษ จักรวรรดิรัสเซีย ฝรั่งเศส เยอรมนี จักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี ได้ใช้งบประมาณเพื่อการแข่งขันการสะสมอาวุธเพิ่มขึ้นถึง 50%
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีค.ศ. 1908กับปี ค.ศ. 1913
แผนการ ความไม่ไว้วางใจและการประกาศระดมพล

         แนวคิดดังกล่าวถูกเสนอโดยนักปกครองจานวนมากว่า แผนการระดมพลของเยอรมนี
ฝรั่งเศสและรัสเซียนั้นได้ทาให้ความขัดแย้งขยายไปกว้างขึ้น ฟริทซ์ ฟิสเชอร์ได้กล่าวถึงความ
รุนแรงโดยเนื้อหาของแผนการชลีฟเฟ็นซึ่งได้แบ่งเอากองทัพเยอรมันต้องทาการรบทั้งสองด้าน การ
ทาศึกทั้งสองด้านหมายความว่ากองทัพเยอรมันจาเป็นที่จะต้องรบให้ชนะศัตรูจากทางด้านหนึ่งอย่าง
รวดเร็วก่อนที่จะทาการรบกับศัตรูที่เหลือได้ แผนการดังกล่าวเรียกว่าเป็น "อุบายการตีกระหนาบ"
เพื่อที่จะทาลายเบลเยี่ยมและทาให้กองทัพฝรั่งเศสกลายเป็นอัมพาตโดยการโจมตีอย่างรวดเร็วก่อนที่
ฝรั่งเศสจะพร้อมระดมพล หลังจากได้ชัยชนะแล้ว กองทัพเยอรมันจะเคลื่อนไปยังทิศตะวันออกโดย
ทางรถไฟและทาลายกองทัพรัสเซียซึ่งระดมพลได้อย่างเชื่องช้า

       แผนการที่สิบเจ็ดของฝรั่งเศสมีจุดประสงค์ที่จะส่งกองทัพของตนเข้าเป็นยึดครองหุบเขารูร์
อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมของเยอรมนี ซึ่งทางทฤษฏีแล้วจะเป็นการทาให้
เยอรมนีหมดสภาพที่จะทาสงครามสมัยใหม่ต่อไป
ส่วนแผนการที่สิบเก้าของจักรวรรดิรัสเซียมีเป้าหมายที่จะมองการณ์ไกลและระดม
กองทัพของตนเพื่อต่อต้านทั้งจักรรวรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรรวรดิเยอรมนี
       แผนการของทั้งสามประเทศได้ก่อให้เกิดบรรยากาศซึ่งต้องทาให้ได้มาซึ่งชัยชนะ
อย่างรวดเร็วเพื่อที่จะสามารถกุมชัยชนะได้ ทุกฝ่ายต่างมีตารางเวลาซึ่งถูกคานวณอย่าง
ละเอียดลออ เมื่อมีการระดมพลเกิดขึ้น โอกาสที่จะถอยหลังก็หมดสิ้นไปแล้ว ความล่าช้า
ทางการทูตและการคมนาคมขนส่งที่เลวส่งผลทาให้แผนการเหล่านี้ประสบความติดขัด
หรือหยุดชะงัก และเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ แผนการของทั้งสามประเทศนี้เป็น
ปฏิบัติการเชิงรุก ซึ่งทาให้ต้องมีการพัฒนาความสามารถในการป้องกันและการขุดสนาม
เพลาะเพื่อการป้องกันประเทศ
ลัทธินิยมทหารและเอกาธิปไตย


         ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันแห่งสหรัฐอเมริกาและคนอื่น ๆ ได้มีความเห็นว่าสงครามโลก
ครั้งที่หนึ่งอาจเกิดจากลัทธินิยมทหาร บางคนอาจโต้เถียงว่าเป็นเพราะการปกครองแบบอภิชนาธิป
ไตย และสาหรับพวกนายทหารชั้นสูงในกองทัพมีอานาจมากมายดังเช่นในประเทศอย่างเยอรมนี
รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ผู้ซึ่งเห็นว่าสงครามเป็นโอกาสทองที่พวกเขาจะสามารถได้รับ
ตอบสนองความต้องการเพื่ออานาจทางการทหารและดูถูกการปกครองแบบประชาธิปไตย โดย
เหตุการณ์ดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นอย่างโดดเด่นในโฆษณาต่อต้านเยอรมนี เนื่องจากว่าผู้สนับสนุน
แนวคิดดังกล่าวได้เรียกร้องให้มีการสละราชสมบัติของผูนาประเทศ อย่างเช่น สมเด็จพระ
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี รวมไปถึงการกาจัดพวกชนชั้นสูงซึ่งมีส่วนร่วมในการ
ปกครองของยุโรปมาหลายศตวรรษรวมไปถึงลัทธินิยมทหารด้วย เวทีนี้ได้ให้เหตุผลอันสมควรแก่
สหรัฐอเมริกาที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเมื่อจักรวรรดิรัสเซียยอมจานนเมื่อปี 1917
ฝ่ายพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส มีการปกครองระบบ
ประชาธิปไตย ได้ต่อสู้กบฝ่ายมหาอานาจกลางซึ่งประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและ
                       ั
จักรวรรดิออตโตมาน รวมไปถึงรัสเซีย พันธมิตรของอังกฤษและฝรั้งเศสเอง ยังคงมีการปกครอง
ระบบจักรวรรดิจนกระทั่งถึงปี 1917-1918 แต่ก็ตรงกันข้ามกับการปราบปรามเชื้อชาติสลาฟของ
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

       โดยหลังฉากนี้ มุมมองของสงครามของหนึ่งในกลุมประชาธิปไตยกับการปกครองแบบ
                                                       ่
เผด็จการมาตั้งแต่ก่อนสงครามนั้นดูสมเหตุสมผลและมีน้าหนักพอสมควร แต่มุมมองเหล่านั้นได้
สูญเสียความน่าเชื่อถือไปเรื่อย ๆ ขณะที่ความขัดแย้งยังคงดาเนินต่อไป

        วิลสันนั้นหวังว่าสันนิบาตชาติและการปลดอาวุธนั้นจะช่วยให้สามารถธารงสันติภาพให้
คงอยู่กาลนาน โดยยืมแนวคิดมาจากเอช.อี.เวลส์ เขาได้อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่า
เป็น "สงครามเพื่อที่จะยุติสงครามทั้งมวล" เขายังหวังที่จะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรของอังกฤษ
และฝร่งเศสตั้งแต่ต้นจนจบ แม้ว่าทั้งสองประเทศจะมีลัทธินิยมทหารอยู่บ้าง
สมดุลแห่งอานาจ


        หนึ่งในเป้าหมายของประเทศมหาอานาจก่อนที่จะเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็คือ การ
รักษา "สมดุลแห่งอานาจ" ในทวีปยุโรป ทาให้ต่อมาได้กลายเป็นระบบที่ประณีตของข้อตกลงและ
สนธิสัญญาต่าง ๆ ทั้งต่อหน้า (เผยแพร่ต่อสาธารณชน) และลับหลัง (เป็นความลับ) ตัวอย่างเช่น
หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย อังกฤษก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่เยอรมนีอันแข็งแกร่ง ซึ่ง
อังกฤษหวังว่าจะช่วยรักษาสมดุลกับศัตรูทางวัฒนธรรมของอังกฤษ นั่นคือ ฝรั่งเศส แต่ว่าภายหลัง
จากที่เยอรมนีเริ่มที่จะสร้างกองทัพเรือขึ้นมาแข่งขันกับอังกฤษ ก็ทาให้สถานภาพนี้เปลี่ยนไป
ฝรั่งเศสผู้กาลังหาพันธมิตรใหม่เพื่อรักษาความปลอดภัยจากอันตรายของเยอรมนี คือ จักรวรรดิ
รัสเซีย ส่วนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งเผชิญกับภัยจากรัสเซีย ได้รับความช่วยเหลือจากเยอรมนี
เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งปะทุ สนธิสัญญาเหล่านี้เป็นแค่ตัวตัดสินว่าพวกเขาจะเข้าร่วม
สงครามกับฝ่ายใด อังกฤษผู้ไม่มีสนธิสัญญาผูกพันกับฝรั่งเศสและรัสเซีย แต่ก็เข้าร่วมสงครามกับ
ฝ่ายพันธมิตร ทางด้านอิตาลีมีทั้งสนธิสัญญาผูกพันกับทั้งเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี แต่ก็ไม่ได้
เข้าร่วมสงครามกับฝ่ายมหาอานาจกลาง กลับเป็นฝ่ายพันธมิตร บางที สนธิสัญญาที่น่าสังเกต
ที่สุดน่าจะเป็นสนธิสัญญาการป้องกันร่วมกันระหว่างเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งเยอรมนี
ได้ร่างขึ้นในปี 1909 โดยได้กล่าวไว้ว่า เยอรมนีจะยืนเคียงข้างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แม้ว่า
พวกเขาจะเป็นฝ่ายเริ่มสงครามก่อนก็ตาม
เศรษฐกิจลัทธิจักรวรรดินิยม


        วลาดีมีร์ เลนินได้ยืนยันว่าสาเหตุของสงครามนั้นตั้งอยู่บนจักรวรรดินิยม เขาได้กล่าว
พรรณาถึงแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ และนักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ จอห์น
เอ. ฮอบสัน ซึ่งได้ทานายว่าการแข่งขันอย่างไม่สิ้นสุดเพื่อการขยายตลาดการค้านั้นจะนาไปสู่
ความขัดแย้งในระดับโลก โดยเหตุผลดังกล่าวนั้นมีผู้เชื่อถือเป็นจานวนมากและได้สนับสนุน
การเจริญเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ เลนินยังได้กล่าวว่าความสนใจในการเงินของมหาอานาจ
ลัทธิทุนนิยม-จักรวรรดินิยมจานวนมากได้ก่อให้เกิดสงคราม
การแข่งขันทางการเมืองและมนุษยชาติ

        สงครามบนคาบสมุทรบอลข่านระหว่างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเซอร์เบียนั้นถูก
พิจารณาว่าไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ด้วยอิทธิพลของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้เสื่อมถอยและการ
เจริญเติบโตของลัทธิรวมเชื้อชาติสลาฟ และความเจิรญขึ้นของลัทธิชาตินิยมภายในประจวบกับการ
เจริญเติบโตของเซอร์เบีย ซึ่งความรู้สึกต่อต้านชาวออสเตรียอาจจะมีความรุนแรงมากที่สุด
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้นได้ยึดครองแคว้นบอลเนีย-เฮอร์เซโกวิเนียของจักรวรรดิออตโตมาน
ซึ่งมีจานวนประชากรชาวเซิร์บเป็นจานวนมากในปี 1878 และจากนั้นก็ได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่ง
ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในปี 1908 ความรู้สึกรักชาติที่เพิ่มมากขึ้นพร้อมกับที่จักรวรรดิออต
โตมาน รัสเซียนั้นได้สนับสนุนการเคลื่อนไหวเพื่อการรวมเชื้อชาติสลาฟ และกระตุ้นโดย
มนุษยธรรมและความจงรักภักดีต่อศาสนาและการแข่งขันกับจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีย้อนกลับ
ไปยังสงครามไครเมีย เหตุการณ์ปัจจุบันอย่างเช่น สนธิสัญญาล้มเหลวระหว่างออสเตรีย-ฮังการีกับ
รัสเซีย และความฝันเก่าตั้งแต่ต้นศตวรรษเรื่องท่าเรือน้าอุ่นก็ได้ถูกกระตุนในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
                                                                       ้
นอกจากในบอสเนียแล้ว ก็ยังมีเจตนาอยู่ในสถานที่อื่น ๆ อีกเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่นการสูญเสีย
แคว้นอัลซาซและแคว้นลอร์เรนภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียได้ก่อให้เกิดความรู้สึกต่อต้านใน
กลุ่มประชากรไปโดยปริยาย ในที่สุด ฝรั่งเศสก็ได้รัสเซียเป็นพันธมิตร และได้สร้างสิ่งที่ตั้งเค้าว่าจะ
กลายเป็นบศึกสองด้านกับเยอรมนี



วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคมและการประกาศสงคราม

        รัฐบาลของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ได้ยกเอาเหตุผล
ของการลอบปลงพระชนม์ อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย เป็นการตั้งคาถามกับ
เซอร์เบีย เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ออสเตรีย-ฮังการีได้ยื่นคาขาดแก่เซอร์เบียโดยมีความ
ต้องการสิบข้อ ซึ่งบางข้อนั้นเซอร์เบียเห็นว่ารุนแรงเกินไป จึงปฏิเสธคาขาดข้อที่หก เซอร์เบียนั้น
ไว้ใจว่าตนจะได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอจากรัสเซีย จึงทาให้เกิดการปฏิเสธคาขาดบางกรณี
และหลังจากนั้นก็มีการออกคาสั่งระดมพล จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้ตอบสนอง
โดยการประกาศสงครามเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ในตอนเริ่มต้น กองทัพรัสเซียได้สั่งระดมพล
เป็นบางส่วน มุ่งตรงมายังชายแดนของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม
หลังจากที่กองเสนาธิการทั่วไปของรัสเซียได้ทูลแก่พระเจ้าซาร์ว่า การส่งกาลังบารุงแก่ทหาร
เกณฑ์นันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ จึงได้เปลี่ยนเป็นการระดมพลเต็มขนาดแทน แผนการชลีฟ
เฟ็นซึ่งมีเป้าหมายที่จะโจมตีสายฟ้าแลบต่อฝรั่งเศสนั้น ไม่สามารถให้รัสเซียสามารถระดมพล
ได้ นอกจากภายหลังกองทัพเยอรมันได้เข้าโจมตีแล้ว ดังนั้น เยอรมนีจึงประกาศสงครามกับ
รัสเซียเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม และฝรั่งเศสในอีกสองวันต่อมา หลังจากนั้นเยอรมนีก็ได้ฝ่าฝืนต่อ
ความเป็นกลางของเบลเยี่ยมโดยการเดินทัพผ่านเพื่อไปโจมตีกรุงปารีส ซึ่งส่งผลให้จักรวรรดิ
อังกฤษเข้าสู่สงคราม ด้วยสาเหตุนี้ ห้าในหกประเทศมหาอานาจของยุโรป จึงเข้ามาพัวพันอยู่
ในความขัดแย้งวงกว้างภายในทวีปยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่สงครามนโปเลียน
เส้นทางของสงคราม


      กระสุนนัดแรก

        ความสับสนภายในฝ่ายมหาอานาจกลางแผนการทางยุทธศาสตร์ของฝ่ายมหาอานาจกลาง
ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความไร้ประสิทธิภาพของการคมนาคมและการสื่อสารระหว่างกัน
เยอรมนีให้คามั่นแก่ออสเตรีย-ฮังการีว่าตนจะช่วยสนับสนุนในการรุกรานเซอร์เบีย จึงทาให้เกิด
ความผิดใจกันในฝ่ายมหาอานาจกลาง ออสเตรีย-ฮังการีนั้นเชื่อว่าเยอรมนีจะช่วยส่งกองทัพเข้า
มาป้องกันประเทศทางชายแดนด้านทิศเหนือซึ่งติดกับรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ออสเตรีย-ฮังการีได้มี
ความเห็นที่จะส่งกองทัพหลักของตนพุ่งเป้าไปยังรัสเซีย ขณะที่เยอรมนีจัดการกับประเทศ
ฝรั่งเศส จากสาเหตุดังกล่าวได้สร้างความสับสนให้แก่กองทัพออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งจาเป็นต้อง
แบ่งกองทัพของตนเพื่อรบกับทั้งเซอร์เบียและรัสเซียทั้งสองด้านเขตสงครามทวีปแอฟริกาดู
บทความหลักได้ที่ เขตปฏิบัติการทวีปแอฟริกา (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
ประกายแรกของสงครามก็ได้เข้ามาพัวพันกับอาณานิคมทั้งหลายของอังกฤษ
ฝรั่งเศสและเยอรมนีในทวีปแอฟริกา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1914 กองทัพอาณานิคมของ
อังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีรัฐในอารักขาของเยอรมนี โตโกแลนด์ อีกสองวันต่อมา
กองทัพเยอรมันในนามิเบียได้เข้าโจมตีแอฟริกาใต้ การรบในทวีปแอฟริกายังมีขึ้นอย่าง
ประปรายและรุนแรงตลอดช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามทางทะเล


         ในตอนเริ่มต้นของสงคราม จักรวรรดิเยอรมนีนนมีเรือลาดตระเวนเป็นจานวนประปราย แต่อยู่
                                                   ั้
ทั่วทั้งโลก ในภายหลังกองทัพเรือเยอรมันได้ใช้เรือรบดังกล่าวเพื่อการจมเรือพาณิชย์ของฝ่ายพันธมิตร
กองทัพเรืออังกฤษนั้นได้พยายามตามล่าเรือรบเหล่านี้อย่างเป็นระบบ แต่ว่ากองเรือเหล่านี้มีความอับ
อายเนื่องจากเรือรบเหล่านี้ไม่สามารถป้องกันเรือพาณิชย์ได้ จึงได้มีการกระทาบางประการ เช่น มีเรือ
ลาดตระเวนเบาอันสันโดษของเยอรมัน "เอมเดน" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองเรือเอชียตะวันออก
ประจาการอยู่ในเมืองท่าซิงเทา ถูกเผาและพ่อค้า 15 ตนบนเรือเสียชีวิต รวมไปถึงการจมเรือ
ลาดตระเวนเบาของรัสเซียและเรือพิฆาตฝรั่งเศสอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ด้วยขนาดใหญ่โตของกองเรือ
เอเชียตะวันออกของเยอรมัน-ซึ่งประกอบด้วยเรือลาดตระเวนหุ้มเกราะ Scharnhorst และ Gneisenau
เรือลาดตระเวนเบา Nürnberg และ Leipzig และเรือบรรทุกอีกสองลา- นั้นมิได้รับคาสั่งให้เข้าปล่นเรือ
สินค้าฝ่ายพันธมิตรแต่อย่างใด
และกาลังเดินทางกลับสู่เยอรมนีเมื่อกองเรือเหล่านี้ปะทะเข้ากับกองเรืออังกฤษ กองเรือ
เล็กเยอรมัน พร้อมด้วยเรือเดรสเดน ได้จมเรือลาดตระเวนหุ้มเกราะไปสองลาในยุทธนาวีโค
โรเนลแต่ว่ากองเรือดังกล่าวก็เกือบจะถูกทาลายจนสิ้นในยุทธนาวีหมู่เกาะฟอล์คแลนด์ ในเดือน
ธันวาคม 1914 เหลือเพียงเรือเดรสเดนเท่านั้นที่สามารถหลบหนีได้

        ไม่นานหลังจากการรบทางทะเลเริ่มต้น อังกฤษก็ได้ทาการปิดล้อมทางทะเลกับเยอรมนี
ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่พิสูจน์ว่าได้ผลในสงครามครั้งนี้ การปิดล้อมได้ตัดเสบียงและทรัพยากรของ
เยอรมนี แม้ว่าการกระทาดังกล่าวจะเป็นการละเมิดประมวลกฤหมายนานาชาติซึ่งถูกร่างขึ้นโดย
ทั้งสองประเทศก็ตาม กองทัพเรืออังกฤษยังได้วางทุ่นระเบิดตามนานน้าสากลเพื่อป้องกันมิให้
กองเรือใดๆ เข้าออกเขตมหาสมุทร ซึ่งเป็นอันตรายแม้แต่กับเรือของประเทศที่เป็นกลางและ
เนื่องจากอังกฤษไม่ออกมารับผิดชอบต่อผลเสียที่เกิดจากยุทธวิธีนี้ เยอรมนีจึงได้กระทาแบบ
เดียวกันกับกลยุทธ์เรือดาน้าของตนเช่นกัน
ปี 1916ยุทธนาวีแห่งคาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเยอรมัน: "Skagerrakschlacht", หรือ
"Battle of the Skagerrak") ได้กลายเป็นยุทธนาวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในสงครามโลกครั้งนี้ ซึ่งเป็นการ
ปะทะกันเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ซึ่งกินเวลาตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม - 1
มิถุนายน 1916 บริเวณทะเลเหนือห่างจากคาบสมุทรจัตแลนด์ กองเรือทะเลหลวงของกองทัพเรือ
เยอรมันบัญชาการโดยพลเรือโท Reinhard Scheer เผชิญหน้ากับกองเรือหลวงของกองทัพเรือ
อังกฤษภายใต้การนาของพลเรือเอก เซอร์ John Jellicoe ผลชองยุทธนาการครั้งนี้คือเสมอกัน ฝ่าย
เยอรมันนั้นมีชัยชนะเชิงเล่ห์เหลี่ยมเหนือกองทัพอังกฤษที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งกองเรือเยอรมัน
วางแผนที่จะหลบหนีและได้สร้างความเสียหายต่อกองทัพเรืออังกฤษมากกว่าที่กองเรือเยอรมัน
ได้รับ แต่ทางยุทธศาสตร์แล้ว กองทัพเรืออังกฤษยังคงครองความเป็นเจ้าสมุทรเหนือมหาสมุทร
ต่อไป และกองทัพเรือบนผิวน้าก็ถูกกักให้อยู่แต่ในท่า (ไม่สามารถปฏิบัติการได้) อีกเลยตลอด
ช่วงเวลาของสงคราม
เรืออูของเยอรมันนั้นมีความพยายามที่จะตัดเส้นทางสนับสนุนระหว่างสหรัฐอเมริกากับ
อังกฤษ และเป็นธรรมชาติของกลยุทธ์เรือดาน้าที่จะทาการโจมตีโดยไม่มีการกล่าวตักเตือน เรือสินค้า
ที่ถูกจมจึงมีความหวังน้อยมากที่ลูกเรือจะมีชีวิตรอด สหรัฐอเมริกาจึงประท้วง เยอรมนีจึงปรับปรุง
รูปแบบการทาการรบภายหลังจากการจมเรือโดยสารลูซิทาเนียอันโด่งดัง ในปี 1915 เยอรมนีสัญญาว่า
จะไม่โจมตีเส้นทางของเรือพาณิชย์อีก ขณะที่อังกฤษได้ติดอาวุธให้กับเรือพาณิชย์ของตน ในที่สุดแล้ว
ต้นปี 1917 เยอรมนีได้กกนโยบายกลยุทธ์เรือดาน้าแบบไม่จากัด เนื่องจากกลัวว่าสหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่
                       ั
สงคราม ด้านแยอรมนีพยายามที่ค้นหาเส้นทางการเดินเรือของฝ่ายพันธมิตรก่อนที่สหรัฐอเมริกาจะ
ขนส่งกองทพขนาดใหญ่ข้ามทะเลมาได้
ภัยจากเรืออูนั้นเริ่มลดลงเมื่อปี 1917 เมื่อเรือพาณิชย์ของอังกฤษได้เข้าร่วมกับขบวนเรือ
คุ้มกันซึ่งประกอบไปด้วยเรือพิฆาต ยุทธวิธีดังกล่าวทาให้เป็นการยากที่เรืออูของเยอรมันจะ
สามารถค้นหาเป้าหมาย ทาให้เกิดความสูญเสียน้อยลง ภายหลังการเปิดตัวไฮโดรโฟนและ
ระเบิดน้าลึก ทาให้เรือพิฆาตมีความหวังที่จะโจมตีเรือดาน้าซึ่งยังปฏิบัติการอยู่ได้ แต่ว่าการใช้
ระบบขบวนเรือดังกล่าวก็ทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่งเสบียง เนื่องจากต้องใช้เวลานานใน
การรวบรวมเรือเข้าจัดตั้งเป็นขบวน เหตุการณ์ดังกล่าวได้นาไปสู่การสร้างเรือบรรทุกสินค้า
แบบใหม่ จากนั้นเรือทหารก็ไม่สามารถตกเป็นเป้าของเรือดาน้าเยอรมนีได้อีกต่อไป
ชัยชนะของฝ่ายพันธมิตร
       ฝ่ายพันธมิตรได้โจมตีโต้กลับ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าการรุกร้อยวัน เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม
1918 ในยุทธการแห่งอเมนส์ กองทัพพันธมิตรสามารถรุกเข้าไปในแนวรบเยอรมันได้ 12 กิโลเมตรใน
เวลาเพียง 7 ชั่วโมง นายพลอิริค ลูเดนดอร์ฟได้กล่าวถึงวันนี้ว่าเป็น "วันอันมืดมนของกองทัพเยอรมัน"

       กองทัพฝ่ายพันธมิตรนาโดยกองทัพผสมออสเตรเลีย-แคนาดาที่อเมนส์ และสนับสนุนการ
เดินทัพของกองทัพอังกฤษไปทางทิศเหนือ และกองทัพฝรั่งเศสไปทางทิศใต้ ขณะที่การต้านทานของ
ฝ่ายเยอรมันที่มีต่อแนวรบกองทัพอังกฤษที่สี่ที่อเมนส์ หลังจากที่กองทัพอังกฤษสามารถรุกเข้าไปได้
23 กิโลเมตร และสามารถยุติการรบลงได้ ส่วนกองทัพฝรั่งเศสที่สามได้ขยายแนวรบที่อเมนส์ในวันที่
10 สิงหาคม ขณะที่อยู่ทางปีกขวาของกองทัพฝรั่งเศสที่หนึ่ง และสามารถรุกเข้าไปได้ 6 กิโลเมตร เข้า
ปลดปล่อยเมืองลาร์ชิญี ในการรบที่ดาเนินต่อไปจนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม ส่วนทางตอนใต้ นาย
พลมานแชงได้นากองทัพฝรั่งเศสที่สิบมุ่งหน้าไปยังเมืองชัวสซอนส์ในวันที่ 20 สิงหาคม และสามารถ
จับทหารข้าศึกเป็นเชลยได้กว่าแปดพันคน ปืนใหญ่สองร้อยกระบอกและที่ราบสูงแอเนอ ซึ่งเป็นการ
กดดันทหารเยอรมันซึ่งประจาอยู่ทางตอนเหนือของเวสเลอ ซึ่งเป็น "วันอันมืดมน" อีกวันหนึ่งที่นาย
พลลูเดนดอร์ฟได้กล่าวถึง
ขณะที่กองทัพอังกฤษที่สามภายใต้การบัญชาการของนายพลบีนง พบว่าแนวรบ
ของข้าศึกเปราะบางลงเนื่องจากมีการถอนกาลังออกไป จึงได้โจมตีด้วยรถถัง 200 คันไปยัง
เมืองบาโปม และในยุทธการแห่งอัลเบิร์ต กองทัพดังกล่าวได้รับคาสั่งเฉพาะว่า "ทาลาย
แนวรบของข้าศึก เพื่อที่จะโอบหลังแนวรบของศัตรู ณ เวลานี้" (ซึ่งตั้งอยู่ตรงข้ามกับ
กองทัพอังกฤษที่สี่ที่เมืองอเมนส์) ผู้บัญชาการทหารฝ่ายพันธมิตรพบว่าการโจมตีทางจุด
ต้านทานของศัตรูทาให้เกิดการสูญเสียชีวิต และเห็นว่าควรจะผ่านจุดเหล่านี้ไป จากนั้นจึงมี
การโจมตีอย่างรวดเร็วเพื่อชิงความได้เปรียบจากการโจมตีที่ประสบความสาเร็จ และยกเลิก
การโจมตีหากพบว่าความเร็วในการรุกลดลงจากเดิมแล้ว
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1


       ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้แผนที่ยุโรปเปลี่ยนไปเนื่องจากการล่มสลายของ
จักรวรรดิใหญ่ทั้งสี่ ก่อให้เกิดประเทศใหม่ ๆ อีกหลายประเทศ เศรษฐกิจตกต่าครั้งใหญ่ทั่วโลก
ประเทศยุโรปหลายแห่งต่างเป็นลูกหนี้ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเติบโตจนกลายเป็นประเทศมหาอานาจ
ของโลกหลังจากสงครามนี้
         สงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากจะจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายพันธมิตรแล้ว ยังส่งผลกระทบ
สาคัญ อื่น ๆ ตามมาอีกหลายประการ ประการแรก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมรบและ
ประกาศศักดาในสงครามครั้งนี้ให้เป็นที่ประจักร ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ก้าวเข้ามาเป็นหนึ่งใน
มหาอานาจโลกเสรีบนเวทีโลกเคียงคู่กับอังกฤษและฝรั่งเศส
รัสเซียกลายเป็นมหาอานาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) หลังจากเลนินทาการ
ปฏิวัติยึดอานาจในปี ค.ศ. 1917 (ช่วงก่อนที่สงครามครั้งที่ 1 จะยุติ) และต่อมาเมื่อสามารถขยาย
อานาจไปผนวกแคว้นต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จึงประกาศจัดตั้งสหภาพโซเวียต
(Union of Soviet Republics -USSR) ในปี ค.ศ. 1922
             การร่างสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ (The Treaty of Veraailles) โดยฝ่ายชนะ
สงครามสาหรับเยอรมนี และสนธิสัญญาสันติภาพอีก 4 ฉบับสาหรับพันธมิตรของเยอรมนี
เพื่อให้ฝ่ายผู้แพ้ยอมรับผิดในฐานะเป็นผู้ก่อให้เกิดสงคราม ในสนธิสัญญาดังกล่าวฝ่ายผู้แพ้ต้อง
เสียค่าปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดนทั้งในยุโรปและอาณานิคม ต้องลดกาลังทหาร อาวุธ และ
ต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครองดินแดนจนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อย
อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุที่ประเทศผู้แพ้ไม่ได้เข้าร่วมในการร่างสนธิสัญญา แต่ถูกบีบบังคับให้ลง
นามยอมรับข้อตกลงของสนธิสัญญา จึงก่อให้เกิดภาวะตึงเครียดขึ้น
เกิดการก่อตัวของลัทธิฟาสซิสต์ในอิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารใน
ญี่ปุ่น ซึ่งท้ายสุดประเทศมหาอานาจเผด็จการทั้งสามได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรระหว่างกัน เพื่อ
ต่อต้านโลกเสรีและคอมมิวนิสต์ เรียกกันว่าฝ่ายอักษะ (Axis)
             ความสูญเสียจากสงครามโลกครั้งนี้ทาให้เกิดการตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้อง
มีความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อรักษาความมั่นคง ปลอดภัยและสันติภาพในโลก ดังนั้น
จึงมีการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นเป็นองค์กรกลางในการเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ระหว่างประเทศ กระนั้นความพยายามดังกล่าวก็ดูจะล้มเหลว เพราะในปี ค.ศ. 1939ได้เกิด
สงครามที่รุนแรงขึ้นอีกครั้ง นั่นคือ สงครามโลกครั้งที่ 2

         (สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งเป็นไปตามหลัก 14 ประการ ของประธานาธิบดีวิลสัน
ของสหรัฐฯ ซึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายส์ข้อที่ 1 ทาให้เกิด "สันนิบาตแห่งประชาชาติ")
ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะและเกิดสนธิสัญญาสันติภาพที่บีบบังคับประเทศผู้แพ้สงคราม 3
ประการ คือ

       1. จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล

       2. ถูกจากัดกาลังทหารและห้ามสะสมอาวุธ

       3. เสียดินแดนที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
สนธิสัญญาสันติภาพที่สัมพันธมิตรทากับประเทศผู้แพ้สงคราม 5 ประเทศ ได้แก่
       - สนธิสญญาแวร์ซายส์ (Versailles Treaty) ทากับเยอรมัน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919
              ั
       - สนธิสญญาแซงต์แยร์แมง ทากับออสเตรีย
                    ั
       - สนธิสญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย
                ั
       - สนธิสญญาตริอานอง ทากับฮังการี
                  ั
       - สนธิสญญาแซฟส์ ทากับตุรกี ภายหลังตุรกีขอแก้ไขสัญญาใหม่เป็นสนธิสัญญาโลซานน์
                      ั
ผลกระทบของสงคราม

       1. ความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลางและความหายนะของมนุษยชาติ ทาให้ประเทศ
ต่างๆ มีแนวคิดร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ โดยสันติวิธโดยการก่อตั้ง
                                                                   ี
องค์การสันนิบาตชาติ

      2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ

      3. สภาพเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก

      4. ความสูญเสียทางสังคมและทางจิตวิทยา
ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 1

         เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นในยุโรปใน พ.ศ.
2457 นั้น ประเทศไทยยังคงยึดมั่นอยู่ในความ เป็นกลางแต่
พระ บาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสังเกต
ความเคลื่อนไหวของคู่สงคราม อย่างใกล้ชิดการสงคราม
ได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่าย
รุกรานจึงทรงตัดสินพระ ทัยประกาศสงครามกับเยอรมนี
และออสเตรีย -ฮังการี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460
แล้วประกาศเรียกพลทหารอาสาสาหรับกองบินและกอง
ยานยนต์ทหารบก เพื่อส่งไปช่วย สงครามยุโรป การส่ง
ทหารไปรบครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์ เพราะเท่ากับได้
เรียนรู้วิชาการทางเทคนิคการรบและการช่างในสมรภูมิ
จริงๆ
เมื่อเสร็จสงครามสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ประเทศไทย
ได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ พระราชวังแวร์ซาย ด้วยผลพลอยได้
จากการเข้าสงครามนี้ ก็คือสัญญาต่างๆ ที่ไทยทากับเยอรมนีและ
ออสเตรีย -ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลงตั้งแต่ไทยประกาศสงครามกับ
ประเทศนั้น และไทยก็ได้พยายามขอเจรจาข้อแก้ไขสนธิสัญญา
ฉบับเก่า ซึ่งทาไว้กับอังกฤษ ฝรั่งเศส และ ชาติอื่นๆ แต่ก็ประสบ
ความยากลาบากอย่างมาก อาศัยที่ไทยได้ความช่วยเหลือจาก ดร.
ฟราน ซิส บี แซยร์ (Dr. Francis B. Sayre)
ชาวอเมริกาซึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาต่างประเทศจนได้รับ
พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยาณไมตรี ในที่สุด
ประเทศต่างๆ 13 ประเทศ รวมทั้งอังกฤษ ตามสนธิสัญญา
พ.ศ. 2468 และ ฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2467 ตกลง
ยอมแก้ ไขสัญญาโดยมีเงื่อนไขบางประการ เช่น จะยอม
ยกเลิกอานาจศาลกงสุล เมื่อไทยมีประมวลกฎหมาย
ครบถ้วน และยอมให้อิสรภาพในการเก็บภาษีอาการ
ยกเว้นบางอย่างที่อังกฤษขอลดหย่อนต่อไปอีก 10 ปี
เช่น ภาษีสินค้าฝ้ายเป็น เหล็ก ไทยพยายามเร่งชาระประมวล
กฎหมายต่างๆ ต่อมาจนแล้วเสร็จ และเปิดการเจรจาอีกครั้ง
หนึ่งในที่สุด ประเทศต่างๆ ก็ยอมทาสัญญาใหม่กับไทย เมื่อ
พ.ศ. 2480 ไทย ได้อิสรภาพทางอานาจศาล และภาษีอากรคืน
มาโดยสมบูรณ์
QuickTime™ and a
             decompressor
     are needed to see this picture.




• สงครามโลกครั้งที่ 1
ขอบคุณครับ


                                   จัดทาโดย

นายกิตติพงศ์   จันทวีสมบูรณ์   ม.6/2 เลขที่ 1

นายบุญยภัทร    อินต๊ะสิน       ม.6/2 เลขที่ 2

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
Szo'k JaJar
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
280125399
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
Pannaray Kaewmarueang
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
social602
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
social602
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
New Nan
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
fsarawanee
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
supasit2702
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1 (20)

สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 

สงครามโลกครั้งที่1

  • 2. สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นความขัดแย้งระดับโลก เริ่ม ใน ค.ศ. 1914 สิ้นสุดในค.ศ.1918 เป็นความขัดแย้งระหว่าง มหาอานาจ 2 ค่าย คือ ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และอิตาลี (ผู้นาสาคัญ คือบิสมาร์ค แห่งเยอรมนี) กับ ฝ่าย ประกอบด้วย Triple Entente ได้แก่ บริเตนใหญ่ ( อังกฤษ ) ฝรั่งเศส และรัสเซีย การรบเริ่มขึ้นหลังการลอบ สังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และสิ้นสุดลง ด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance มีการทาสนธิสัญญาแวร์ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและ แผนที่สงครามโลครั้งที่ 1 แสดง พันธมิตรเสียค่าปฏิกรรมสงครามชดใช้จานวนมหาศาลและ การรบในยุโรปและตะวันออก กลาง เสียดินแดนที่เป็นอาณานิคมให้แก่ฝ่าย Triple Entente
  • 3. สาเหตุสงครามโลกครั้งที่ 1 1.ลัทธิชาตินยม ิ การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิดระบบรวมรัฐชาติ สร้างระบบรวมอานาจเข้าสู่ ส่วนกลาง รัฐชาติในประเทศยุโรปต่างแสวงหาความเป็น มหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ รัฐชาติหมายถึง รัฐหรือ ประเทศที่ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี ภาคภูมิใจในความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ความรักชาติที่รุนแรงจนเป็นลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตน เหนือกว่าชาติอื่น ผลักดันชาติของตนได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่าด้าน เศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การแข่งขันอานาจกัน จน กลายเป็นสงคราม เช่น สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
  • 4. 2.ลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิชาตินิยมนาไปสู่ลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิจักรวรรดินิยม หมายถึงประเทศที่พัฒนา แล้วประสบความสาเร็จด้านเศรษฐกิจ การทหาร และวิทยาศาสตร์ เข้าครอบครอง ที่ด้อยพัฒนา กว่า ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้ ต้องการวัตถุดิบและตลาด มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรัสเซีย ( เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกันขยายอานาจในการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชียอเมริกากลาง และอัฟริกาโดยครอบงาทาวัฒนธรรม และวิถีชีวิต เป็นแหล่งเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ให้เมืองแม่
  • 5. 3.การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป นโยบายการรวมกลุ่มที่มีผลประโยชน์ตรงกัน เริ่มต้นใน ค.ศ. 1907 เมื่อ เยอรมัน และออสเตรีย-ฮังการีลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรไตรมิตร (Triple Alliance ) ประจันหน้ากับรุสเซีย เนืองจากเยอรมนี ต้องการไม่ให้รัสเซียเป็นใหญ่ในชนเผ่าสลาฟ ่ แหลมสมุทรบอลข่าน ต่อมามีอิตาลีมาร่วมประเทศ เพราะไม่พอใจฝรั่งเศสที่แย่ง ครอบครองตูนิเซีย ในฐานะรัฐในอารักขา ฝ่ายออสเตรีย – ฮังการีซึ่งต้องการเป็นใหญ่ ในแหลมบอลข่านเช่นกัน โดยได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อังกฤษ ฝรั่งเศส และ รัสเซียลงนามในสนธิสัญญาฉันทไมตรีไตรมิตร (Triple Entente ) ค.ศ. 1907และเป็น พันธมิตรกับญี่ปุ่นด้วย
  • 6. 4. ความขัดแย้งเรื่องแหลมบอลข่าน สาเหตุสาคัญเกิดจากการที่ออสเตรีย – ฮังการีขัดแย้ง กับเซอร์เบีย เรื่องการสร้างเขตอิทธิพลในแหลมบอลข่าน เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย – ฮังการี ขณะที่รัสเซีย สนับสนุนเซอร์เบีย ความขัดแย้งขยายความรุนแรงเป็น สงครามระหว่างรัฐในแหลมบอลข่าน มหาอานาจจึงมี โอกาสแทรกแซงและตั้งกลุ่มพันธมิตร
  • 7. จุดระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่ง ออสเตรีย-ฮังการีคือ อาร์ค ฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ กับพระชายา โซเฟีย ถูกลอบปลงพระชนม์ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1914ที่เมือง ซาราเจโว ขณะเสด็จเยือนเมืองหลวงของบอสเนีย โดยคนร้ายชื่อ กาฟริโล ปรินซิพ นักศึกษาชาวบอสเนียสัญชาติเซอร์เบีย ออสเตรียเรียกร้องให้เซอร์เบียปฏิบัติตามข้อเรียกร้อง เซอร์เบีย ปฏิเสธออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย 28 กรกฎาคม 1914 รัสเซียแสดงตนว่าเป็นผู้พิทักษ์เผ่าสลาฟจึงระดม พล เยอรมนีประกาศสงครามกับฝรั่งเศสและรัสเซีย ต่อมาอังกฤษ เข้าสู่สงครามเมื่อเยอรมนีบุกเบลเยียม และญี่ปุ่นได้ประกาศสงคราม ต่อเยอรมนี เพราะมุ่งหวังในอาณานิคมของเยอรมนีในจีน ภายหลังจากอาร์คดยุกแห่งออสเตรียถูกลอบปลงประชนม์ ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นอริกันต่างกล่าวหาซึ่งกันและกัน ในที่สุดจึงประกาศ สงครามต่อกันเป็นลูกโซ่ กลายเป็นสงครามใหญ่
  • 8. ฝ่ายไตรพันธมิตร/พันธมิตร ฝ่ายไตรภาคี/มหาอานาจกลาง Triple Alliance/ Triple Entente/ Allied Central Powers/Triple Entente (Entente) Powers อังกฤษ เยอรมันนี ฝรั่งเศส ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย (เกิดปฏิวัติของเปลี่ยนแปลงการ ปกครองในประเทศ ปี ค.ศ. 1917 จึงถอนตัว ออตโตมานเติร์ก ออกไป) อเมริกา (เข้ามาร่วมตอนหลัง ค.ศ. 1917) บัลแกเรีย จีน ญี่ปุ่น ไทย .. อิตาลี (เข้ามาร่วมทีหลัง)
  • 9. การแข่งขันการสะสมอาวุธ การแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลระหว่างอังกฤษและเยอรมนีนั้นเริ่มรุนแรงขึ้นเมื่อ กองทัพเรืออังกฤษสร้างเรือประจัญบานชั้นเดรตนอท ซึ่งเป็นเรือประจัญบานขนาดหนักได้สาเร็จ ในปี ค.ศ. 1906 การคิดค้นเรือดังกล่าวนับเป็นการปฏิวัติทั้งขนาดและพลังอานาจที่เหนือกว่าเรือ ประจัญบานธรรมดาอย่างยิ่ง ยิ่งไปกว่านั้น อังกฤษยังคงสามารถรักษาความเป็นผู้นาทางทะเลได้ เหนือกว่าเยอรมนีและอิตาลี พอล เคเนดี้ได้ชี้ว่าทั้งสองประเทศมีความเชื่อว่า แนวคิดของอัลเฟรด เทย์เลอร์ มาฮานเกี่ยวกับการบัญชาการรบทางทะเลว่าเป็นความสาคัญต่อสถานภาพของประเทศ อย่างมาก แต่การผ่านการจารกรรมทางพาณิชย์อาจพิสูจน์ว่าแนวคิดของเขาอาจจะผิดก็เป็นได้ เดวิด สตีเวนสัน นักประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ชาวบริเตน ได้กล่าวถึงการ แข่งขันการสะสมอาวุธว่าเป็น "การสร้างเสริมตัวเองเป็นวงกลมแห่งการเตรียมความพร้อมด้าน การทหารอย่างแรงกล้า" เดวิด เฮอร์มันน์ได้มองการแข่งขันแสนยานุภาพทางทะเลว่าเป็นหลักที่ จะชี้ชะตาทิศทางของสงคราม
  • 10. อย่างไรก็ตาม ไนอัล เฟอร์กูสัน นักประวัติศาสตร์ชาวสก็อต ได้โต้แย้งว่า ความสามารถของ อังกฤษที่จะรักษาความเป็นผู้นาทางการทหารไว้มิได้เป็นปัจจัยของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน เวลาต่อมา อังกฤษและเยอรมนีต่างใช้จ่ายเงินในการแข่งขันสะสมอาวุธเป็นจานาวนมาก จากสถิติแล้ว หกชาติมหาอานาจยุโรป อันได้แก่ อังกฤษ จักรวรรดิรัสเซีย ฝรั่งเศส เยอรมนี จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี ได้ใช้งบประมาณเพื่อการแข่งขันการสะสมอาวุธเพิ่มขึ้นถึง 50% เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีค.ศ. 1908กับปี ค.ศ. 1913
  • 11. แผนการ ความไม่ไว้วางใจและการประกาศระดมพล แนวคิดดังกล่าวถูกเสนอโดยนักปกครองจานวนมากว่า แผนการระดมพลของเยอรมนี ฝรั่งเศสและรัสเซียนั้นได้ทาให้ความขัดแย้งขยายไปกว้างขึ้น ฟริทซ์ ฟิสเชอร์ได้กล่าวถึงความ รุนแรงโดยเนื้อหาของแผนการชลีฟเฟ็นซึ่งได้แบ่งเอากองทัพเยอรมันต้องทาการรบทั้งสองด้าน การ ทาศึกทั้งสองด้านหมายความว่ากองทัพเยอรมันจาเป็นที่จะต้องรบให้ชนะศัตรูจากทางด้านหนึ่งอย่าง รวดเร็วก่อนที่จะทาการรบกับศัตรูที่เหลือได้ แผนการดังกล่าวเรียกว่าเป็น "อุบายการตีกระหนาบ" เพื่อที่จะทาลายเบลเยี่ยมและทาให้กองทัพฝรั่งเศสกลายเป็นอัมพาตโดยการโจมตีอย่างรวดเร็วก่อนที่ ฝรั่งเศสจะพร้อมระดมพล หลังจากได้ชัยชนะแล้ว กองทัพเยอรมันจะเคลื่อนไปยังทิศตะวันออกโดย ทางรถไฟและทาลายกองทัพรัสเซียซึ่งระดมพลได้อย่างเชื่องช้า แผนการที่สิบเจ็ดของฝรั่งเศสมีจุดประสงค์ที่จะส่งกองทัพของตนเข้าเป็นยึดครองหุบเขารูร์ อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมของเยอรมนี ซึ่งทางทฤษฏีแล้วจะเป็นการทาให้ เยอรมนีหมดสภาพที่จะทาสงครามสมัยใหม่ต่อไป
  • 12. ส่วนแผนการที่สิบเก้าของจักรวรรดิรัสเซียมีเป้าหมายที่จะมองการณ์ไกลและระดม กองทัพของตนเพื่อต่อต้านทั้งจักรรวรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรรวรดิเยอรมนี แผนการของทั้งสามประเทศได้ก่อให้เกิดบรรยากาศซึ่งต้องทาให้ได้มาซึ่งชัยชนะ อย่างรวดเร็วเพื่อที่จะสามารถกุมชัยชนะได้ ทุกฝ่ายต่างมีตารางเวลาซึ่งถูกคานวณอย่าง ละเอียดลออ เมื่อมีการระดมพลเกิดขึ้น โอกาสที่จะถอยหลังก็หมดสิ้นไปแล้ว ความล่าช้า ทางการทูตและการคมนาคมขนส่งที่เลวส่งผลทาให้แผนการเหล่านี้ประสบความติดขัด หรือหยุดชะงัก และเหตุผลอีกประการหนึ่งก็คือ แผนการของทั้งสามประเทศนี้เป็น ปฏิบัติการเชิงรุก ซึ่งทาให้ต้องมีการพัฒนาความสามารถในการป้องกันและการขุดสนาม เพลาะเพื่อการป้องกันประเทศ
  • 13. ลัทธินิยมทหารและเอกาธิปไตย ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสันแห่งสหรัฐอเมริกาและคนอื่น ๆ ได้มีความเห็นว่าสงครามโลก ครั้งที่หนึ่งอาจเกิดจากลัทธินิยมทหาร บางคนอาจโต้เถียงว่าเป็นเพราะการปกครองแบบอภิชนาธิป ไตย และสาหรับพวกนายทหารชั้นสูงในกองทัพมีอานาจมากมายดังเช่นในประเทศอย่างเยอรมนี รัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ผู้ซึ่งเห็นว่าสงครามเป็นโอกาสทองที่พวกเขาจะสามารถได้รับ ตอบสนองความต้องการเพื่ออานาจทางการทหารและดูถูกการปกครองแบบประชาธิปไตย โดย เหตุการณ์ดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นอย่างโดดเด่นในโฆษณาต่อต้านเยอรมนี เนื่องจากว่าผู้สนับสนุน แนวคิดดังกล่าวได้เรียกร้องให้มีการสละราชสมบัติของผูนาประเทศ อย่างเช่น สมเด็จพระ จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี รวมไปถึงการกาจัดพวกชนชั้นสูงซึ่งมีส่วนร่วมในการ ปกครองของยุโรปมาหลายศตวรรษรวมไปถึงลัทธินิยมทหารด้วย เวทีนี้ได้ให้เหตุผลอันสมควรแก่ สหรัฐอเมริกาที่เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเมื่อจักรวรรดิรัสเซียยอมจานนเมื่อปี 1917
  • 14. ฝ่ายพันธมิตรซึ่งประกอบด้วยสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส มีการปกครองระบบ ประชาธิปไตย ได้ต่อสู้กบฝ่ายมหาอานาจกลางซึ่งประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและ ั จักรวรรดิออตโตมาน รวมไปถึงรัสเซีย พันธมิตรของอังกฤษและฝรั้งเศสเอง ยังคงมีการปกครอง ระบบจักรวรรดิจนกระทั่งถึงปี 1917-1918 แต่ก็ตรงกันข้ามกับการปราบปรามเชื้อชาติสลาฟของ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี โดยหลังฉากนี้ มุมมองของสงครามของหนึ่งในกลุมประชาธิปไตยกับการปกครองแบบ ่ เผด็จการมาตั้งแต่ก่อนสงครามนั้นดูสมเหตุสมผลและมีน้าหนักพอสมควร แต่มุมมองเหล่านั้นได้ สูญเสียความน่าเชื่อถือไปเรื่อย ๆ ขณะที่ความขัดแย้งยังคงดาเนินต่อไป วิลสันนั้นหวังว่าสันนิบาตชาติและการปลดอาวุธนั้นจะช่วยให้สามารถธารงสันติภาพให้ คงอยู่กาลนาน โดยยืมแนวคิดมาจากเอช.อี.เวลส์ เขาได้อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งว่า เป็น "สงครามเพื่อที่จะยุติสงครามทั้งมวล" เขายังหวังที่จะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตรของอังกฤษ และฝร่งเศสตั้งแต่ต้นจนจบ แม้ว่าทั้งสองประเทศจะมีลัทธินิยมทหารอยู่บ้าง
  • 15. สมดุลแห่งอานาจ หนึ่งในเป้าหมายของประเทศมหาอานาจก่อนที่จะเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็คือ การ รักษา "สมดุลแห่งอานาจ" ในทวีปยุโรป ทาให้ต่อมาได้กลายเป็นระบบที่ประณีตของข้อตกลงและ สนธิสัญญาต่าง ๆ ทั้งต่อหน้า (เผยแพร่ต่อสาธารณชน) และลับหลัง (เป็นความลับ) ตัวอย่างเช่น หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย อังกฤษก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่เยอรมนีอันแข็งแกร่ง ซึ่ง อังกฤษหวังว่าจะช่วยรักษาสมดุลกับศัตรูทางวัฒนธรรมของอังกฤษ นั่นคือ ฝรั่งเศส แต่ว่าภายหลัง จากที่เยอรมนีเริ่มที่จะสร้างกองทัพเรือขึ้นมาแข่งขันกับอังกฤษ ก็ทาให้สถานภาพนี้เปลี่ยนไป ฝรั่งเศสผู้กาลังหาพันธมิตรใหม่เพื่อรักษาความปลอดภัยจากอันตรายของเยอรมนี คือ จักรวรรดิ รัสเซีย ส่วนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งเผชิญกับภัยจากรัสเซีย ได้รับความช่วยเหลือจากเยอรมนี
  • 16. เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งปะทุ สนธิสัญญาเหล่านี้เป็นแค่ตัวตัดสินว่าพวกเขาจะเข้าร่วม สงครามกับฝ่ายใด อังกฤษผู้ไม่มีสนธิสัญญาผูกพันกับฝรั่งเศสและรัสเซีย แต่ก็เข้าร่วมสงครามกับ ฝ่ายพันธมิตร ทางด้านอิตาลีมีทั้งสนธิสัญญาผูกพันกับทั้งเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี แต่ก็ไม่ได้ เข้าร่วมสงครามกับฝ่ายมหาอานาจกลาง กลับเป็นฝ่ายพันธมิตร บางที สนธิสัญญาที่น่าสังเกต ที่สุดน่าจะเป็นสนธิสัญญาการป้องกันร่วมกันระหว่างเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งเยอรมนี ได้ร่างขึ้นในปี 1909 โดยได้กล่าวไว้ว่า เยอรมนีจะยืนเคียงข้างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แม้ว่า พวกเขาจะเป็นฝ่ายเริ่มสงครามก่อนก็ตาม
  • 17. เศรษฐกิจลัทธิจักรวรรดินิยม วลาดีมีร์ เลนินได้ยืนยันว่าสาเหตุของสงครามนั้นตั้งอยู่บนจักรวรรดินิยม เขาได้กล่าว พรรณาถึงแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ และนักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ จอห์น เอ. ฮอบสัน ซึ่งได้ทานายว่าการแข่งขันอย่างไม่สิ้นสุดเพื่อการขยายตลาดการค้านั้นจะนาไปสู่ ความขัดแย้งในระดับโลก โดยเหตุผลดังกล่าวนั้นมีผู้เชื่อถือเป็นจานวนมากและได้สนับสนุน การเจริญเติบโตของลัทธิคอมมิวนิสต์ เลนินยังได้กล่าวว่าความสนใจในการเงินของมหาอานาจ ลัทธิทุนนิยม-จักรวรรดินิยมจานวนมากได้ก่อให้เกิดสงคราม
  • 18. การแข่งขันทางการเมืองและมนุษยชาติ สงครามบนคาบสมุทรบอลข่านระหว่างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเซอร์เบียนั้นถูก พิจารณาว่าไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ด้วยอิทธิพลของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้เสื่อมถอยและการ เจริญเติบโตของลัทธิรวมเชื้อชาติสลาฟ และความเจิรญขึ้นของลัทธิชาตินิยมภายในประจวบกับการ เจริญเติบโตของเซอร์เบีย ซึ่งความรู้สึกต่อต้านชาวออสเตรียอาจจะมีความรุนแรงมากที่สุด จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้นได้ยึดครองแคว้นบอลเนีย-เฮอร์เซโกวิเนียของจักรวรรดิออตโตมาน ซึ่งมีจานวนประชากรชาวเซิร์บเป็นจานวนมากในปี 1878 และจากนั้นก็ได้ถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่ง ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในปี 1908 ความรู้สึกรักชาติที่เพิ่มมากขึ้นพร้อมกับที่จักรวรรดิออต โตมาน รัสเซียนั้นได้สนับสนุนการเคลื่อนไหวเพื่อการรวมเชื้อชาติสลาฟ และกระตุ้นโดย มนุษยธรรมและความจงรักภักดีต่อศาสนาและการแข่งขันกับจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีย้อนกลับ ไปยังสงครามไครเมีย เหตุการณ์ปัจจุบันอย่างเช่น สนธิสัญญาล้มเหลวระหว่างออสเตรีย-ฮังการีกับ รัสเซีย และความฝันเก่าตั้งแต่ต้นศตวรรษเรื่องท่าเรือน้าอุ่นก็ได้ถูกกระตุนในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ้
  • 19. นอกจากในบอสเนียแล้ว ก็ยังมีเจตนาอยู่ในสถานที่อื่น ๆ อีกเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่นการสูญเสีย แคว้นอัลซาซและแคว้นลอร์เรนภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียได้ก่อให้เกิดความรู้สึกต่อต้านใน กลุ่มประชากรไปโดยปริยาย ในที่สุด ฝรั่งเศสก็ได้รัสเซียเป็นพันธมิตร และได้สร้างสิ่งที่ตั้งเค้าว่าจะ กลายเป็นบศึกสองด้านกับเยอรมนี วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคมและการประกาศสงคราม รัฐบาลของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ได้ยกเอาเหตุผล ของการลอบปลงพระชนม์ อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย เป็นการตั้งคาถามกับ เซอร์เบีย เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ออสเตรีย-ฮังการีได้ยื่นคาขาดแก่เซอร์เบียโดยมีความ ต้องการสิบข้อ ซึ่งบางข้อนั้นเซอร์เบียเห็นว่ารุนแรงเกินไป จึงปฏิเสธคาขาดข้อที่หก เซอร์เบียนั้น ไว้ใจว่าตนจะได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอจากรัสเซีย จึงทาให้เกิดการปฏิเสธคาขาดบางกรณี
  • 20. และหลังจากนั้นก็มีการออกคาสั่งระดมพล จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้ตอบสนอง โดยการประกาศสงครามเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ในตอนเริ่มต้น กองทัพรัสเซียได้สั่งระดมพล เป็นบางส่วน มุ่งตรงมายังชายแดนของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม หลังจากที่กองเสนาธิการทั่วไปของรัสเซียได้ทูลแก่พระเจ้าซาร์ว่า การส่งกาลังบารุงแก่ทหาร เกณฑ์นันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ จึงได้เปลี่ยนเป็นการระดมพลเต็มขนาดแทน แผนการชลีฟ เฟ็นซึ่งมีเป้าหมายที่จะโจมตีสายฟ้าแลบต่อฝรั่งเศสนั้น ไม่สามารถให้รัสเซียสามารถระดมพล ได้ นอกจากภายหลังกองทัพเยอรมันได้เข้าโจมตีแล้ว ดังนั้น เยอรมนีจึงประกาศสงครามกับ รัสเซียเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม และฝรั่งเศสในอีกสองวันต่อมา หลังจากนั้นเยอรมนีก็ได้ฝ่าฝืนต่อ ความเป็นกลางของเบลเยี่ยมโดยการเดินทัพผ่านเพื่อไปโจมตีกรุงปารีส ซึ่งส่งผลให้จักรวรรดิ อังกฤษเข้าสู่สงคราม ด้วยสาเหตุนี้ ห้าในหกประเทศมหาอานาจของยุโรป จึงเข้ามาพัวพันอยู่ ในความขัดแย้งวงกว้างภายในทวีปยุโรปครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่สงครามนโปเลียน
  • 21. เส้นทางของสงคราม กระสุนนัดแรก ความสับสนภายในฝ่ายมหาอานาจกลางแผนการทางยุทธศาสตร์ของฝ่ายมหาอานาจกลาง ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความไร้ประสิทธิภาพของการคมนาคมและการสื่อสารระหว่างกัน เยอรมนีให้คามั่นแก่ออสเตรีย-ฮังการีว่าตนจะช่วยสนับสนุนในการรุกรานเซอร์เบีย จึงทาให้เกิด ความผิดใจกันในฝ่ายมหาอานาจกลาง ออสเตรีย-ฮังการีนั้นเชื่อว่าเยอรมนีจะช่วยส่งกองทัพเข้า มาป้องกันประเทศทางชายแดนด้านทิศเหนือซึ่งติดกับรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ออสเตรีย-ฮังการีได้มี ความเห็นที่จะส่งกองทัพหลักของตนพุ่งเป้าไปยังรัสเซีย ขณะที่เยอรมนีจัดการกับประเทศ ฝรั่งเศส จากสาเหตุดังกล่าวได้สร้างความสับสนให้แก่กองทัพออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งจาเป็นต้อง แบ่งกองทัพของตนเพื่อรบกับทั้งเซอร์เบียและรัสเซียทั้งสองด้านเขตสงครามทวีปแอฟริกาดู บทความหลักได้ที่ เขตปฏิบัติการทวีปแอฟริกา (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
  • 22. ประกายแรกของสงครามก็ได้เข้ามาพัวพันกับอาณานิคมทั้งหลายของอังกฤษ ฝรั่งเศสและเยอรมนีในทวีปแอฟริกา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1914 กองทัพอาณานิคมของ อังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีรัฐในอารักขาของเยอรมนี โตโกแลนด์ อีกสองวันต่อมา กองทัพเยอรมันในนามิเบียได้เข้าโจมตีแอฟริกาใต้ การรบในทวีปแอฟริกายังมีขึ้นอย่าง ประปรายและรุนแรงตลอดช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
  • 23. สงครามทางทะเล ในตอนเริ่มต้นของสงคราม จักรวรรดิเยอรมนีนนมีเรือลาดตระเวนเป็นจานวนประปราย แต่อยู่ ั้ ทั่วทั้งโลก ในภายหลังกองทัพเรือเยอรมันได้ใช้เรือรบดังกล่าวเพื่อการจมเรือพาณิชย์ของฝ่ายพันธมิตร กองทัพเรืออังกฤษนั้นได้พยายามตามล่าเรือรบเหล่านี้อย่างเป็นระบบ แต่ว่ากองเรือเหล่านี้มีความอับ อายเนื่องจากเรือรบเหล่านี้ไม่สามารถป้องกันเรือพาณิชย์ได้ จึงได้มีการกระทาบางประการ เช่น มีเรือ ลาดตระเวนเบาอันสันโดษของเยอรมัน "เอมเดน" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกองเรือเอชียตะวันออก ประจาการอยู่ในเมืองท่าซิงเทา ถูกเผาและพ่อค้า 15 ตนบนเรือเสียชีวิต รวมไปถึงการจมเรือ ลาดตระเวนเบาของรัสเซียและเรือพิฆาตฝรั่งเศสอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ด้วยขนาดใหญ่โตของกองเรือ เอเชียตะวันออกของเยอรมัน-ซึ่งประกอบด้วยเรือลาดตระเวนหุ้มเกราะ Scharnhorst และ Gneisenau เรือลาดตระเวนเบา Nürnberg และ Leipzig และเรือบรรทุกอีกสองลา- นั้นมิได้รับคาสั่งให้เข้าปล่นเรือ สินค้าฝ่ายพันธมิตรแต่อย่างใด
  • 24. และกาลังเดินทางกลับสู่เยอรมนีเมื่อกองเรือเหล่านี้ปะทะเข้ากับกองเรืออังกฤษ กองเรือ เล็กเยอรมัน พร้อมด้วยเรือเดรสเดน ได้จมเรือลาดตระเวนหุ้มเกราะไปสองลาในยุทธนาวีโค โรเนลแต่ว่ากองเรือดังกล่าวก็เกือบจะถูกทาลายจนสิ้นในยุทธนาวีหมู่เกาะฟอล์คแลนด์ ในเดือน ธันวาคม 1914 เหลือเพียงเรือเดรสเดนเท่านั้นที่สามารถหลบหนีได้ ไม่นานหลังจากการรบทางทะเลเริ่มต้น อังกฤษก็ได้ทาการปิดล้อมทางทะเลกับเยอรมนี ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่พิสูจน์ว่าได้ผลในสงครามครั้งนี้ การปิดล้อมได้ตัดเสบียงและทรัพยากรของ เยอรมนี แม้ว่าการกระทาดังกล่าวจะเป็นการละเมิดประมวลกฤหมายนานาชาติซึ่งถูกร่างขึ้นโดย ทั้งสองประเทศก็ตาม กองทัพเรืออังกฤษยังได้วางทุ่นระเบิดตามนานน้าสากลเพื่อป้องกันมิให้ กองเรือใดๆ เข้าออกเขตมหาสมุทร ซึ่งเป็นอันตรายแม้แต่กับเรือของประเทศที่เป็นกลางและ เนื่องจากอังกฤษไม่ออกมารับผิดชอบต่อผลเสียที่เกิดจากยุทธวิธีนี้ เยอรมนีจึงได้กระทาแบบ เดียวกันกับกลยุทธ์เรือดาน้าของตนเช่นกัน
  • 25. ปี 1916ยุทธนาวีแห่งคาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเยอรมัน: "Skagerrakschlacht", หรือ "Battle of the Skagerrak") ได้กลายเป็นยุทธนาวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในสงครามโลกครั้งนี้ ซึ่งเป็นการ ปะทะกันเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย ซึ่งกินเวลาตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน 1916 บริเวณทะเลเหนือห่างจากคาบสมุทรจัตแลนด์ กองเรือทะเลหลวงของกองทัพเรือ เยอรมันบัญชาการโดยพลเรือโท Reinhard Scheer เผชิญหน้ากับกองเรือหลวงของกองทัพเรือ อังกฤษภายใต้การนาของพลเรือเอก เซอร์ John Jellicoe ผลชองยุทธนาการครั้งนี้คือเสมอกัน ฝ่าย เยอรมันนั้นมีชัยชนะเชิงเล่ห์เหลี่ยมเหนือกองทัพอังกฤษที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งกองเรือเยอรมัน วางแผนที่จะหลบหนีและได้สร้างความเสียหายต่อกองทัพเรืออังกฤษมากกว่าที่กองเรือเยอรมัน ได้รับ แต่ทางยุทธศาสตร์แล้ว กองทัพเรืออังกฤษยังคงครองความเป็นเจ้าสมุทรเหนือมหาสมุทร ต่อไป และกองทัพเรือบนผิวน้าก็ถูกกักให้อยู่แต่ในท่า (ไม่สามารถปฏิบัติการได้) อีกเลยตลอด ช่วงเวลาของสงคราม
  • 26. เรืออูของเยอรมันนั้นมีความพยายามที่จะตัดเส้นทางสนับสนุนระหว่างสหรัฐอเมริกากับ อังกฤษ และเป็นธรรมชาติของกลยุทธ์เรือดาน้าที่จะทาการโจมตีโดยไม่มีการกล่าวตักเตือน เรือสินค้า ที่ถูกจมจึงมีความหวังน้อยมากที่ลูกเรือจะมีชีวิตรอด สหรัฐอเมริกาจึงประท้วง เยอรมนีจึงปรับปรุง รูปแบบการทาการรบภายหลังจากการจมเรือโดยสารลูซิทาเนียอันโด่งดัง ในปี 1915 เยอรมนีสัญญาว่า จะไม่โจมตีเส้นทางของเรือพาณิชย์อีก ขณะที่อังกฤษได้ติดอาวุธให้กับเรือพาณิชย์ของตน ในที่สุดแล้ว ต้นปี 1917 เยอรมนีได้กกนโยบายกลยุทธ์เรือดาน้าแบบไม่จากัด เนื่องจากกลัวว่าสหรัฐอเมริกาจะเข้าสู่ ั สงคราม ด้านแยอรมนีพยายามที่ค้นหาเส้นทางการเดินเรือของฝ่ายพันธมิตรก่อนที่สหรัฐอเมริกาจะ ขนส่งกองทพขนาดใหญ่ข้ามทะเลมาได้
  • 27. ภัยจากเรืออูนั้นเริ่มลดลงเมื่อปี 1917 เมื่อเรือพาณิชย์ของอังกฤษได้เข้าร่วมกับขบวนเรือ คุ้มกันซึ่งประกอบไปด้วยเรือพิฆาต ยุทธวิธีดังกล่าวทาให้เป็นการยากที่เรืออูของเยอรมันจะ สามารถค้นหาเป้าหมาย ทาให้เกิดความสูญเสียน้อยลง ภายหลังการเปิดตัวไฮโดรโฟนและ ระเบิดน้าลึก ทาให้เรือพิฆาตมีความหวังที่จะโจมตีเรือดาน้าซึ่งยังปฏิบัติการอยู่ได้ แต่ว่าการใช้ ระบบขบวนเรือดังกล่าวก็ทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่งเสบียง เนื่องจากต้องใช้เวลานานใน การรวบรวมเรือเข้าจัดตั้งเป็นขบวน เหตุการณ์ดังกล่าวได้นาไปสู่การสร้างเรือบรรทุกสินค้า แบบใหม่ จากนั้นเรือทหารก็ไม่สามารถตกเป็นเป้าของเรือดาน้าเยอรมนีได้อีกต่อไป
  • 28. ชัยชนะของฝ่ายพันธมิตร ฝ่ายพันธมิตรได้โจมตีโต้กลับ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าการรุกร้อยวัน เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1918 ในยุทธการแห่งอเมนส์ กองทัพพันธมิตรสามารถรุกเข้าไปในแนวรบเยอรมันได้ 12 กิโลเมตรใน เวลาเพียง 7 ชั่วโมง นายพลอิริค ลูเดนดอร์ฟได้กล่าวถึงวันนี้ว่าเป็น "วันอันมืดมนของกองทัพเยอรมัน" กองทัพฝ่ายพันธมิตรนาโดยกองทัพผสมออสเตรเลีย-แคนาดาที่อเมนส์ และสนับสนุนการ เดินทัพของกองทัพอังกฤษไปทางทิศเหนือ และกองทัพฝรั่งเศสไปทางทิศใต้ ขณะที่การต้านทานของ ฝ่ายเยอรมันที่มีต่อแนวรบกองทัพอังกฤษที่สี่ที่อเมนส์ หลังจากที่กองทัพอังกฤษสามารถรุกเข้าไปได้ 23 กิโลเมตร และสามารถยุติการรบลงได้ ส่วนกองทัพฝรั่งเศสที่สามได้ขยายแนวรบที่อเมนส์ในวันที่ 10 สิงหาคม ขณะที่อยู่ทางปีกขวาของกองทัพฝรั่งเศสที่หนึ่ง และสามารถรุกเข้าไปได้ 6 กิโลเมตร เข้า ปลดปล่อยเมืองลาร์ชิญี ในการรบที่ดาเนินต่อไปจนกระทั่งถึงวันที่ 16 สิงหาคม ส่วนทางตอนใต้ นาย พลมานแชงได้นากองทัพฝรั่งเศสที่สิบมุ่งหน้าไปยังเมืองชัวสซอนส์ในวันที่ 20 สิงหาคม และสามารถ จับทหารข้าศึกเป็นเชลยได้กว่าแปดพันคน ปืนใหญ่สองร้อยกระบอกและที่ราบสูงแอเนอ ซึ่งเป็นการ กดดันทหารเยอรมันซึ่งประจาอยู่ทางตอนเหนือของเวสเลอ ซึ่งเป็น "วันอันมืดมน" อีกวันหนึ่งที่นาย พลลูเดนดอร์ฟได้กล่าวถึง
  • 29. ขณะที่กองทัพอังกฤษที่สามภายใต้การบัญชาการของนายพลบีนง พบว่าแนวรบ ของข้าศึกเปราะบางลงเนื่องจากมีการถอนกาลังออกไป จึงได้โจมตีด้วยรถถัง 200 คันไปยัง เมืองบาโปม และในยุทธการแห่งอัลเบิร์ต กองทัพดังกล่าวได้รับคาสั่งเฉพาะว่า "ทาลาย แนวรบของข้าศึก เพื่อที่จะโอบหลังแนวรบของศัตรู ณ เวลานี้" (ซึ่งตั้งอยู่ตรงข้ามกับ กองทัพอังกฤษที่สี่ที่เมืองอเมนส์) ผู้บัญชาการทหารฝ่ายพันธมิตรพบว่าการโจมตีทางจุด ต้านทานของศัตรูทาให้เกิดการสูญเสียชีวิต และเห็นว่าควรจะผ่านจุดเหล่านี้ไป จากนั้นจึงมี การโจมตีอย่างรวดเร็วเพื่อชิงความได้เปรียบจากการโจมตีที่ประสบความสาเร็จ และยกเลิก การโจมตีหากพบว่าความเร็วในการรุกลดลงจากเดิมแล้ว
  • 30. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้แผนที่ยุโรปเปลี่ยนไปเนื่องจากการล่มสลายของ จักรวรรดิใหญ่ทั้งสี่ ก่อให้เกิดประเทศใหม่ ๆ อีกหลายประเทศ เศรษฐกิจตกต่าครั้งใหญ่ทั่วโลก ประเทศยุโรปหลายแห่งต่างเป็นลูกหนี้ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเติบโตจนกลายเป็นประเทศมหาอานาจ ของโลกหลังจากสงครามนี้ สงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากจะจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายพันธมิตรแล้ว ยังส่งผลกระทบ สาคัญ อื่น ๆ ตามมาอีกหลายประการ ประการแรก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมรบและ ประกาศศักดาในสงครามครั้งนี้ให้เป็นที่ประจักร ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ก้าวเข้ามาเป็นหนึ่งใน มหาอานาจโลกเสรีบนเวทีโลกเคียงคู่กับอังกฤษและฝรั่งเศส
  • 31. รัสเซียกลายเป็นมหาอานาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) หลังจากเลนินทาการ ปฏิวัติยึดอานาจในปี ค.ศ. 1917 (ช่วงก่อนที่สงครามครั้งที่ 1 จะยุติ) และต่อมาเมื่อสามารถขยาย อานาจไปผนวกแคว้นต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จึงประกาศจัดตั้งสหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics -USSR) ในปี ค.ศ. 1922 การร่างสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ (The Treaty of Veraailles) โดยฝ่ายชนะ สงครามสาหรับเยอรมนี และสนธิสัญญาสันติภาพอีก 4 ฉบับสาหรับพันธมิตรของเยอรมนี เพื่อให้ฝ่ายผู้แพ้ยอมรับผิดในฐานะเป็นผู้ก่อให้เกิดสงคราม ในสนธิสัญญาดังกล่าวฝ่ายผู้แพ้ต้อง เสียค่าปฏิกรรมสงคราม เสียดินแดนทั้งในยุโรปและอาณานิคม ต้องลดกาลังทหาร อาวุธ และ ต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครองดินแดนจนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อย อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุที่ประเทศผู้แพ้ไม่ได้เข้าร่วมในการร่างสนธิสัญญา แต่ถูกบีบบังคับให้ลง นามยอมรับข้อตกลงของสนธิสัญญา จึงก่อให้เกิดภาวะตึงเครียดขึ้น
  • 32. เกิดการก่อตัวของลัทธิฟาสซิสต์ในอิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารใน ญี่ปุ่น ซึ่งท้ายสุดประเทศมหาอานาจเผด็จการทั้งสามได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรระหว่างกัน เพื่อ ต่อต้านโลกเสรีและคอมมิวนิสต์ เรียกกันว่าฝ่ายอักษะ (Axis) ความสูญเสียจากสงครามโลกครั้งนี้ทาให้เกิดการตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้อง มีความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อรักษาความมั่นคง ปลอดภัยและสันติภาพในโลก ดังนั้น จึงมีการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้นเป็นองค์กรกลางในการเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ระหว่างประเทศ กระนั้นความพยายามดังกล่าวก็ดูจะล้มเหลว เพราะในปี ค.ศ. 1939ได้เกิด สงครามที่รุนแรงขึ้นอีกครั้ง นั่นคือ สงครามโลกครั้งที่ 2 (สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ซึ่งเป็นไปตามหลัก 14 ประการ ของประธานาธิบดีวิลสัน ของสหรัฐฯ ซึ่งสนธิสัญญาแวร์ซายส์ข้อที่ 1 ทาให้เกิด "สันนิบาตแห่งประชาชาติ")
  • 33. ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับชัยชนะและเกิดสนธิสัญญาสันติภาพที่บีบบังคับประเทศผู้แพ้สงคราม 3 ประการ คือ 1. จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล 2. ถูกจากัดกาลังทหารและห้ามสะสมอาวุธ 3. เสียดินแดนที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
  • 34. สนธิสัญญาสันติภาพที่สัมพันธมิตรทากับประเทศผู้แพ้สงคราม 5 ประเทศ ได้แก่ - สนธิสญญาแวร์ซายส์ (Versailles Treaty) ทากับเยอรมัน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919 ั - สนธิสญญาแซงต์แยร์แมง ทากับออสเตรีย ั - สนธิสญญาเนยยี ทากับบัลแกเรีย ั - สนธิสญญาตริอานอง ทากับฮังการี ั - สนธิสญญาแซฟส์ ทากับตุรกี ภายหลังตุรกีขอแก้ไขสัญญาใหม่เป็นสนธิสัญญาโลซานน์ ั
  • 35. ผลกระทบของสงคราม 1. ความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลางและความหายนะของมนุษยชาติ ทาให้ประเทศ ต่างๆ มีแนวคิดร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ โดยสันติวิธโดยการก่อตั้ง ี องค์การสันนิบาตชาติ 2. เกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ 3. สภาพเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก 4. ความสูญเสียทางสังคมและทางจิตวิทยา
  • 36. ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นในยุโรปใน พ.ศ. 2457 นั้น ประเทศไทยยังคงยึดมั่นอยู่ในความ เป็นกลางแต่ พระ บาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสังเกต ความเคลื่อนไหวของคู่สงคราม อย่างใกล้ชิดการสงคราม ได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่าย รุกรานจึงทรงตัดสินพระ ทัยประกาศสงครามกับเยอรมนี และออสเตรีย -ฮังการี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 แล้วประกาศเรียกพลทหารอาสาสาหรับกองบินและกอง ยานยนต์ทหารบก เพื่อส่งไปช่วย สงครามยุโรป การส่ง ทหารไปรบครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์ เพราะเท่ากับได้ เรียนรู้วิชาการทางเทคนิคการรบและการช่างในสมรภูมิ จริงๆ
  • 37. เมื่อเสร็จสงครามสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ประเทศไทย ได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ พระราชวังแวร์ซาย ด้วยผลพลอยได้ จากการเข้าสงครามนี้ ก็คือสัญญาต่างๆ ที่ไทยทากับเยอรมนีและ ออสเตรีย -ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลงตั้งแต่ไทยประกาศสงครามกับ ประเทศนั้น และไทยก็ได้พยายามขอเจรจาข้อแก้ไขสนธิสัญญา ฉบับเก่า ซึ่งทาไว้กับอังกฤษ ฝรั่งเศส และ ชาติอื่นๆ แต่ก็ประสบ ความยากลาบากอย่างมาก อาศัยที่ไทยได้ความช่วยเหลือจาก ดร. ฟราน ซิส บี แซยร์ (Dr. Francis B. Sayre)
  • 38. ชาวอเมริกาซึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาต่างประเทศจนได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยาณไมตรี ในที่สุด ประเทศต่างๆ 13 ประเทศ รวมทั้งอังกฤษ ตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2468 และ ฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2467 ตกลง ยอมแก้ ไขสัญญาโดยมีเงื่อนไขบางประการ เช่น จะยอม ยกเลิกอานาจศาลกงสุล เมื่อไทยมีประมวลกฎหมาย ครบถ้วน และยอมให้อิสรภาพในการเก็บภาษีอาการ
  • 39. ยกเว้นบางอย่างที่อังกฤษขอลดหย่อนต่อไปอีก 10 ปี เช่น ภาษีสินค้าฝ้ายเป็น เหล็ก ไทยพยายามเร่งชาระประมวล กฎหมายต่างๆ ต่อมาจนแล้วเสร็จ และเปิดการเจรจาอีกครั้ง หนึ่งในที่สุด ประเทศต่างๆ ก็ยอมทาสัญญาใหม่กับไทย เมื่อ พ.ศ. 2480 ไทย ได้อิสรภาพทางอานาจศาล และภาษีอากรคืน มาโดยสมบูรณ์
  • 40. QuickTime™ and a decompressor are needed to see this picture. • สงครามโลกครั้งที่ 1
  • 41.
  • 42.
  • 43. ขอบคุณครับ จัดทาโดย นายกิตติพงศ์ จันทวีสมบูรณ์ ม.6/2 เลขที่ 1 นายบุญยภัทร อินต๊ะสิน ม.6/2 เลขที่ 2