SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
2012



   รายงานสถานการณ์ ปัญหา
   การค้ ามนุษย์ ประจํ าปี 2554
   หน่ วยประสานงานเพือต่อต้ านการค้ ามนุ ษย์ ภาคเหนื อตอนบน
   ประเทศไทย (TRAFCORD) มูลนิ ธเพือความเข้ าใจเด็ก (FOCUS)
                                ิ
   สถานการณ์การค้ ามนุ ษย์ - ผลการดําเนิ นงานของหน่วยงาน - ความรุนแรงและ
   ผลกระทบต่อผู้ เสียหาย - สรุปแนวโน้มและสถานการณ์ปัญหา - ความท้ าทาย
   และข้ อเสนอแนะ




                                                   Duean Wongsa
                                              TRAFCORD by FOCUS
                                                      3/23/2012
บทนํา

       การจัดทํารายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการเผยแพรขอมูลเรื่องสถานการณปญหาการคา
มนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนและผลการดําเนินงานของหนวยประสานงานเพื่อตอตานการคามนุษย
ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย (โครงการ TRAFCORD) ใหแกบคคลทั่วไป หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
                                                  ุ
องคกรชุมชนที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามการคามนุษย เพื่อใหรับทราบ
และเกิดความเขาใจถึงสถานการณปญหาการคามนุษยในรอบป พ.ศ.2554 ที่แสดงใหเห็นถึงสภาพปญหา
การคามนุษยที่ยังคงรุนแรงและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของโดยเฉพาะ
อยางยิ่งศูนยปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษยระดับจังหวัดและหนวยงานหลักที่มีหนาที่
เกี่ยวของ ไดใชประโยชนจากขอมูลในรายงานฉบับนี้ในการประกอบการวางแผนการทํางานในระดับจังหวัด
เพื่อชวยในการออกแบบและจัดทําโครงการหรือกิจกรรมทั้งดานการปองกัน การปราบปรามและการ
ชวยเหลือผูเสียหายใหมีความเหมาะสมและมีความสอดคลองกับสภาพปญหาในแตละพื้นที่

       ที่มาของขอมูลในรายงานฉบับนี้ มาจากผลการดําเนินกิจกรรมของโครงการ TRAFCORD ซึ่งได
รวมมือกับหนวยงานเครือขายภาครัฐและเอกชน ดําเนินการรับแจงเหตุ การสํารวจสถานการณในพื้นที่
เสี่ยง การเขาชวยเหลือผูเสียหายและกลุมเสี่ยงโดยดําเนินการรวมกับหนวยงานสหวิชาชีพทั้งภาครัฐและ
เอกชนในแตละจังหวัด การติดตามดําเนินคดีและการใหความชวยเหลือผูเสียหายทางดานกฎหมาย การ
ฟนฟูและเยียวยา การสงกลับและคืนผูเสียหายสูสังคม การทําโครงการดานการพัฒนาศักยภาพ
ผูปฏิบัติงานในระดับจังหวัดและระดับชุมชน การสรางเครือขายในชุมชนรวมถึงการเผยแพรและ
ประชาสัมพันธ

       โครงการ TRAFCORD ภายใตการดําเนินงานของมูลนิธิเพื่อความเขาใจเด็ก (FOCUS) ขอขอบคุณ
องคกรเครือขายและประชาชนทั่วไปที่ใหความรวมมือและสนับสนุนการดําเนินงานมาโดยตลอด รวมถึง
องคกรทุนผูสนับสนุนใหการดําเนินการประสบความสําเร็จและสามารถใหการคุมครองและชวยเหลือ
ผูเสียหายและผูที่ประสบปญหาไดเปนอยางดี




                                                                                                     2
1.สถานการณการคามนุษย

1.1 สถานการณการคามนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

สถานการณในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังคงเปนพื้นที่ที่มีปญหาการคามนุษยเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ในปที่
ผานมามีการคามนุษยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ มีการอพยพเขามาของแรงงานขามชาติ จากประเทศพมา และลาว
ซึ่งมีบุคคลจํานวนหนึ่งที่ถูกชักชวนและลอลวงเขาสูกระบวนการคามนุษย พบการแสวงประโยชนทางเพศ
ไดแกการคาประเวณีเด็กและผูหญิงในสถานคาประเวณี สถานบริการที่เปดในลักษณะแอบแฝงคาประเวณี
ซึ่งมีทั้งเด็กหญิงและเด็กชาย รวมถึงกลุมผูหญิง ดานแรงงานพบวามีการนําเด็กตางชาติทั้งเด็กหญิงและ
เด็กชายชาวลาวจากชายแดนภาคเหนือและภาคอิสานเขามาคาแรงงานในพื้นที่ภาคเหนือ มีการบังคับและ
เอาเปรียบแรงงาน โดยทํางานเปนคนรับใชในบานและใชแรงงานในสถานที่กอสราง นอกจากนั้นยังมี
ขบวนการติดตอชักชวนและจัดหาเด็กจากประเทศพมาเขามาขอทาน นอกจากนั้นแรงงานไทยยังคง
หลั่งไหลไปทํางานตางประเทศซึ่งแรงงานจํานวนหนึ่งถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกบังคับใหทํางานโดยผิด
เงื่อนไขหรือผิดสัญญาทั้งในภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและการแสวงประโยชนจากการคาประเวณี
ซึ่งจากการทํางานในชุมชนในปที่ผานมาพบวายังคงมีความตองการและมีการตอบสนองของแรงงานไทย
เดินทางไปตางประเทศอยางตอเนื่อง

1.2 รูปแบบของการคามนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน

การคาประเวณี ยังพบปญหาการคาประเวณีเด็กรวมถึงมีลักษณะการลอลวงหรือบังคับใหคาประเวณี
โดยสามารถแยกได คือ เด็กเชื้อชาติลาว จะเขามาคาประเวณีในพื้นที่ จ.แพร จ.นาน เด็กเชื้อชาติไทใหญ
จะเขามาคาประเวณีที่ จ.เชียงราย จ.เชียงใหม เด็กเชื้อชาติกะเหรี่ยงและพมา จะเขามาคาประเวณีที่ จ.
ตาก โดยเฉพาะในอําเภอตามแนวชายแดน รวมทั้งมีเด็กไทยทีเ่ ขาสูวงจรการคาประเวณีทุกจังหวัดในพื้นที่
ภาคเหนือตอนบน

มีธุรกิจเพศพาณิชยที่เปดกิจการประกอบดวยสถานคาประเวณี มีลักษณะเปนบานหรือหองเชา รานคารา
โอเกะ รานอาหาร ผับ สถานนวดแผนโบราณ อาบอบนวด สถานที่เหลานี้ลวนมีการแอบแฝงการคา
ประเวณีทั้งสิ้น พบไดในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.ตาก

มีเด็กทํางานในรานเตนระบําโปเปลือยหรือเตนโคโยตีและนําไปสูการขายบริการทางเพศ มีการเพิ่มขึ้นของ
                                                  ้
รานนวดเพื่อสําเร็จความใคร (นวดกะปู) พบไดในพื้นที่ จ.เชียงใหม
                                                                                                      3
มีการนําเด็กชายและเยาวชนชาย อายุระหวาง 15-25 ป เขาสูกระบวนการคาประเวณีเพิ่มมากขึ้น ในสถาน
รานคาราโอเกะ ผับ และสถานบริการสําหรับลูกคาซึ่งเปนผูชายนอกจากนั้นยังมีขอมูลที่ชี้วามีนักทองเที่ยว
ชาวตางชาติซึ่งชักชวนเด็กผูชายไปถายภาพอนาจารและนําภาพเด็กลงในเว็ปไซดซึ่งมีลักษณะที่สอไป
ในทางเพศ พบที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย

มีการเปดเว็บไซดนําเขาภาพและขอมูลสวนตัวของเด็กและเยาวชนชายหญิงเพื่อโฆษณาขายบริการทางเพศ
หรือเรียกวาการคาประเวณีออนไลน บางครั้งจะใหเด็กเขาไปโพสภาพและขอมูลติดตอดวยตัวเอง จากนั้น
ใหลูกคาที่ตองการซื้อบริการทางเพศเขาไปยังเว็ปไซดเพื่อติดตอนัดหมายซื้อบริการทางเพศ มีระบบการ
เขาถึงขอมูล ลูกคาตองจายคาสมัครสมาชิกเพื่อเลือกเด็กหรือหญิง โดยมีการแบงรายไดจากการทํางาน
ใหแกผดูแลเว็ปไซดหรือผูติดตอจัดหาดวย พบที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย
       ู

มีขบวนการนายหนาที่ติดตอชักชวน ยุยงสงเสริมใหเด็กและเยาวชนเขาสูกระบวนการคาประเวณี และมี
การติดตอลูกคาเพื่อซื้อบริการทางเพศ พบในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.ลําพูน จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.แพร
จ.นาน จ.แมฮองสอน จ.ตาก จ.ลําปาง

สถานที่ที่มีเอเยนตติดตอและเปนธุระจัดหาเพื่อคาประเวณี คือ รานเสริมสวย รานขายของชํา โรงแรมและ
พนักงานโรงแรม เกสเฮาส รถสาธารณะหรือรถรับจาง

กลุมลูกคาผูซื้อบริการทางเพศสวนใหญ คือ แรงงานทั่วไป นักธุรกิจ ขาราชการบางกลุม นักทองเที่ยวชาว
ไทยและตางประเทศ โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวเอเชียและประเทศตะวันออกกลาง

ขบวนการขอทาน มีการนําเด็กชาวพมามาขอทาน พบตามสถานที่ทองเที่ยว ตลาดกลางคืน ตลาดนัด
ถนนคนเดิน พบเด็กที่ถูกนํามาขอทานตั้งแตวัยทารกจนถึงอายุประมาณ 10 ป เด็กสวนมากเขาสู
กระบวนการโดยการติดตามมากับครอบครัวหรือญาติ มีเอเยนตเขาไปติดตอชักชวนมาจาก จ.ทาขี้เหล็ก
ประเทศพมาเขามาทาง อ.แมสาย จ.เชียงราย บางครั้งมีการหลบเลี่ยงดานตรวจของเจาหนาที่โดยการเดิน
ปาออมจุดตรวจแลวขึ้นรถโดยสารประจําทาง จากนั้นเขามาพักในบานเชาใน อ.เมือง จ.เชียงใหม นายหนา
จะมีการจัดสรรพื้นที่และบางครั้งจะตองจายคาเชาที่สําหรับการขอทานดวย ขอทานมีรายไดจากการ
ขอทานระหวาง 150 – 1,000 บาท/วัน ถาเปนเด็กจะมีรายไดตอวันโดยเฉลี่ยตั้งแต 500 บาทขึ้นไป พบ
สถานการณในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย สวนที่ อ.แมสอด จ.ตากมีการสงเด็กไปขอทานที่กรุงเทพฯ


                                                                                                      4
ดานแรงงาน มีการนําเด็กสัญชาติลาว สัญชาติพมา เด็กกลุมชาติพันธุมาใชแรงงานโดยผิดกฎหมาย ให
ทํางานรับใชในบาน รานขายอาหาร ขายดอกไมและพวงมาลัย รวมทั้งทํางานในสถานที่กอสราง เด็ก
สวนมากเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ถูกบังคับใหทํางาน ถูกเอาเปรียบคาจางคาแรง พบในพื้นที่ จ.เชียงใหม
จ.พะเยา จ.ลําปาง จ.ตาก

มีการลอลวงแรงงานชายจากพื้นที่ อ.แมสอด ไปทํางานบนเรือประมง มีเอเยนตเปนธุระจัดหาเด็กและ
ผูใหญจากพื้นที่พักพิงชั่วคราวสําหรับผูอพยพโดยติดตอและนําพาผูอพยพ และสงไปทํางานในเรือประมง
โรงงาน แรงงานในบานและคาประเวณี พื้นที่ปลายทางคือ กรุงเทพฯ จ.สมุทรสาคร จ.ชลบุรี

การเดินทางไปทํางานตางประเทศ จากการดําเนินกิจกรรมดานการปองกัน โดยใหความรูแกชุมชนและ
ประชาชนซึงเปนกลุมเสี่ยงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบวามีขอมูลเกี่ยวกับการเดินทางไปทํางาน
         ่
ตางประเทศของชุมชนไทยในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.ลําปาง จ.ลําพูน จ.นาน จ.แพร และ
จ.แมฮองสอน พบวามีสถานการณที่เปนความเสี่ยงเกี่ยวของกับขบวนการหลอกลวงแรงงานไทยดังนี้

1.ขบวนการคาแรงงานไปตางประเทศ แรงงานไทยที่เดินทางและมีความตองการไปทํางานใน
ตางประเทศสวนหนึ่งไปโดยถูกกฎหมายตามชองทางซึ่งกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานไดกําหนดไว
แตมีแรงงานจํานวนหนึ่งซึ่งถูกกลุมนายหนาหรือบริษัทจัดหางานผิดกฎหมายเรียกเก็บคานายหนาเปน
จํานวนเงินที่สูง เชนไปทํางานที่ประเทศไตหวันตองเสียคานายหนาประมาณ 100,000 – 150,000 บาท มี
การหลอกลวงแรงงานโดยอางวาจะพาไปทํางานที่ประเทศญี่ปุนและเกาหลีใตและเรียกเก็บคาธรรมเนียม
ในอัตราที่สูงเกินความเปนจริง ทําใหแรงงานมีหนี้สินจากการกูเงินและครอบครัวไดรับความเดือนรอน มี
การหลอกเรียกเก็บเงินคาใชจายในการเดินทางไปทํางานตางประเทศแตความเปนจริงไมมีการพาไปทํางาน
หรือมีบางกรณีที่เมื่อแรงงานเดินทางไปถึงประเทศปลายทางแลวถูกบังคับใหทําสัญญาอยางไมเปนธรรม
ชวงที่ผานมามีแรงงานไทยจํานวนหนึ่งตัดสินใจเดินทางไปทํางานตางประเทศ เชนประเทศในแถบตะวันออก
กลาง ประเทศลิเบีย แลวถูกเอาเปรียบแรงงาน แรงงานบางคนที่เจ็บปวยจากการทํางานถูกสงกลับและไม
สามารถเรียกรองคาชดเชยหรือคาตอบแทนทางแรงงาน

2.การแสวงประโยชนจากการคาประเวณี ผูหญิงไทยจากภาคเหนือจํานวนหนึ่งเดินทางไปทํางาน
ตางประเทศดวยความสมัครใจ โดยมีขบวนการเปนผูติดตอและจัดการเรื่องการเดินทางและนําพาไป
นายหนาไดชักชวนผูหญิงใหไปทํางานนวดที่ประเทศมาเลเซียโดยหลอกวาจะออกใบอนุญาตทํางานให

                                                                                                    5
มีการเก็บคาใชจาย แตเมื่อไปถึงปลายทางกลับยึดหนังสือเดินทางซึ่งผูหญิงจะตกเปนหนี้ ถูกบังคับให
คาประเวณี บางกรณีมีการกักขัง ขมขูและทํารายรางกาย มีนายหนาทั้งชาวไทยและชาวตางชาติติดตอ
ชักชวนผูหญิงเพื่อแตงงานกับชาวตางชาติและนําไปสูการใชแรงงานและคาประเวณี

1.3 เสนทางการคามนุษย
การคาประเวณีเด็กและผูหญิงตางชาติ
เสนทางที่ 1 : ชายแดน จ.ทาขี้เหล็ก – อ.แมสาย จ.เชียงราย ผูเสียหายเดินทางมาจากเมืองเชียงตุง
ประเทศพมา เขามาทางจังหวัดทาขี้เหล็ก แตบางสวนมาทํางานรับจางทั่วไปหรือมาอาศัยกับญาติอยูที่ อ.
แมสาย จ.เชียงรายอยูกอนแลว จากนั้นถูกเพื่อนหรือคนรูจักหรือนายหนาชักชวนหรือลอลวงใหมา
คาประเวณีที่จังหวัดเชียงใหม ผูเสียหายเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง และมีนายหนาขับรถไปรับ
เสนทางที่ 2 : ชายแดน จ.เมียวดี – อ.แมสอด จ.ตาก ผูเสียหายเดินทางมาจากเมืองพะอาง ยางกุง
เมียวดี โดยเขามาทางฝง จ.เมียวดี นั่งเรือขามมายัง อ.แมสอด บางสวนถูกหลอกลวงวาใหมาทํางานรับจาง
เสริฟอาหารและมีบางสวนที่ตั้งใจมาคาประเวณีโดยเขามาทํางานที่สถานคาประเวณีใน อ.แมสอด
มีผูเสียหายบางสวนทั้งเด็ก ผูหญิงและผูชาย ถูกนายหนาชักชวนและเสนอวาสามารถพาไปทํางานไดโดย
พาออกจากคายพักพิงชั่วคราว เดินทางโดยรถยนตสวนตัวของนายหนา กรณีเปนผูชายจะพาไปทํางานใน
โรงงานคัดแยกอาหารทะเล สวนผูหญิงพาไปคาประเวณีที่ จ.สมุทรสาคร
เสนทางที่ 3 : ชายแดนแขวงเวียงจันทน - จ.หนองคาย ผูเสียหายซึ่งเปนชาวลาวเดินทางเขามายัง
ประเทศไทย โดยถูกพาไปคาประเวณีที่ จ.แพร ตามชองทางตอไปนี้
   o เมืองมื้น แขวงเวียงจันทน – สถานีขนสงเวียงจันทน – ดานตรวจคนเขาเมืองลาว – นั่งรถทัวรขาม
       ไปดานตรวจคนเขาเมืองหนองคาย – นั่งรถยนตสวนตัวของนายหนามุงตรงไปยังสถานคาประเวณี
   o เมืองมื้น แขวงเวียงจันทน – ทาเรือบานวัง ประเทศลาว – นั่งเรือโดยสารขามมา อ.ปากชม จ.เลย –
       นั่งรถไปยังสถานีขนสง จ.เลย – นั่งรถยนตสวนตัวของนายหนามุงตรงไปยังสถานคาประเวณี
   o เมืองเวียงคํา แขวงหลวงพระบาง – แขวงเวียงจันทน – ขึ้นรถโดยสารประจําทางไปยังดานตรวจคน
       เขาเมือง จ.หนองคาย - สถานีขนสง จ.อุดรธานี – นั่งรถทัวรไปยังสถานคาประเวณี
นายหนาไดนําเด็กหญิงสัญชาติไทยจาก จ.หนองบัวลําภู และสงมาคาประเวณีดวย

กรณีหญิงไทยถูกพาไปยังเขตปกครองพิเศษมาเกาเพื่อบังคับใหคาประเวณี ผูประสบปญหามีความ
ประสงคจะเดินทางเขาประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรับการเสนอจากนายหนาวาสามารถพาเดินทางเขา

                                                                                                     6
ประเทศสหรัฐอเมริกาได โดยตองไปแวะที่ประเทศมาเกากอน เพื่อตอไปยังประเทศอื่นๆ เมื่อผูเสียหาย
เดินทางไปถึงประเทศมาเกา ไดถูกสงไปกักตัวที่บานของเอเยนตซึ่งมีหญิงไทยจํานวนหนึ่งพักอยูและบอกวา
ตองไปทํางานที่สถานอาบอบนวดและจะตองคาประเวณี แตไดติดตอขอความชวยเหลือจากญาติและ
นําไปสูการชวยเหลือของหนวยงานและปลอดภัยในที่สุด

กรณีการบังคับคาประเวณีในภาคกลางและภาคใตตอนบน มีการดําเนินการชวยเหลือเด็กและหญิง
ชาวลาวและชาวไทใหญซึ่งถูกบังคับใหคาประเวณีที่ จ.นครปฐม และ จ.ชุมพร
   o ผูเสียหายสัญชาติลาว เดินทางมาจาก แขวงเวียงจันทนเขาเมืองโดยผานสะพานมิตรภาพไทย -
       ลาว จ.หนองคาย มีนายหนาซึ่งเปนชาวลาวไดชักชวนไปทํางานเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มที่
       ประเทศไทย โดยไดจัดการเรื่องการเดินทางและใหใชหนังสือเดินทางปลอม จากนั้นสงไป
       คาประเวณียังรานคาราโอเกะที่ จ.ชุมพร ผูเสียหายบางสวนเดินทางมาจากเมืองปากเซ แขวงจําปา
       ศักดิ์ ทําหนังสือเดินทางที่เมืองปากเซจากนั้นนายหนาพาขามผานดานชองเม็ก จ.อุบลราชธานี
       และตอรถยนตสวนตัวไปยังรานคาราโอเกะเพื่อคาประเวณีที่ จ.ฉะเชิงเทรากอน จากนั้นสงตอมา
       ยัง จ.ชุมพร ผูเสียหายบางคนทํางานขายของทีแนวชายแดนไทย-ลาวมากอน จากนั้นนายหนามา
                                                ่
       ติดตอชักชวนใหไปทํางานเสิรฟอาหารแตถูกบังคับใหคาประเวณีในที่สุด

   o ผูเสียหายเปนชาวไทใหญ เดินทางมาจากรัฐฉาน ประเทศพมา ถูกนายหนาซึ่งเปนคนไทใหญติดตอ
       และชักชวนใหมาทํางานเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มและกลับพามายังสถานคาประเวณีที่ โดยบังคับ
       ใหขายบริการทางเพศและขมขูวาหากผูเสียหายไมยอมทํางานจะสงไปขายที่รานอื่นและไดเรียกเงิน
       (คาไถ) จากญาติของผูเสียหายดวย ภายหลังจากการชวยเหลือเจาหนาที่ไดซักถามขอเท็จจริง ทํา
       ใหทราบวามีขบวนการนํากลุมเด็กและหญิงชาวไทใหญมาพักทีโ่ รงแรมใน จ.ทาขี้เหล็กกอน จากนั้น
       นายหนาไดไปรับตัวเด็กแลผูหญิง พามุงตรงไปยังสถานคาประเวณีใน จ.นครปฐม เดินทางโดยรถ
       ตูสวนบุคคล ผูเสียหายใหขอมูลวาระหวางการเดินทางคนขับรถถูกตรวจและสอบสวนโดย
       เจาหนาที่แตหลังจากนั้นมีการเจรจาผานทางโทรศัพทและเจาหนาที่ไดปลอยตัวทุกคนใหเดินทาง
       ตอไป

ขบวนการขอทาน ผูเสียหายมีภูมิลําเนาอยูประเทศพมา โดยเดินทางมากับนายหนาและครอบครัวมาที่
ชายแดนไทย จังหวัดทาขี้เหล็ก เขามาทาง อ.แมสาย จ.เชียงราย นั่งรถโดยสารประจําทางมาถึง จ.


                                                                                                    7
เชียงใหม ถูกครอบครัวของตนบังคับใหขอทานโดยมีการเอื้อประโยชนและดูแลโดยกลุมขอทานชาวชาว
พมาซึ่งอาศัยอยูในพื้นที่ อ.เมือง เชียงใหมกอนแลว

การใชแรงงานเด็กซึ่งเปนความเสี่ยงและเกี่ยวของกับการคามนุษย กรณีแรงงานเด็กชาวลาว
ผูเสียหายเดินทางมาจากแขวงจําปาศักดิ์ ประเทศลาว โดยมีนายหนาชักชวนใหเขามาทํางานบาน เดินทาง
ดวยเรือขามแมน้ําและพานั่งรถยนตสวนบุคคลเดินทางไปทํางานบานที่กรุงเทพฯกอน จากนั้นนายจางสง
ตอมายัง จ.เชียงใหม โดยใหทํางานบาน มีการหนวงเหนี่ยวเสรีภาพ นายจางไมจายคาจางแรงงานและมี
การทํารายรางกายเด็กดวย

                                    แผนที่แสดงเสนทางการคามนุษย




                                                                                                  8
2.ผลการดําเนินงานของหนวยงาน
ในป พ.ศ.2554 โครงการ TRAFCORD ไดดําเนินโครงการดานการปองกัน การคุมครอง การดําเนินคดีและ
การสงกลับและคืนสูสังคม โดยรวมมือกับหนวยงานเครือขายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
ดังตอไปนี้

2.1 ดานการปองกัน (Prevention)
2.1.1 การใหความรูและพัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
ดําเนินการรวมกับ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย จ.เชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคม
                                              ่
และความมั่นคงของมนุษย จ.ตาก มูลนิธิศุภนิมิต แมสอด องคการระหวางประเทศเพือการโยกยายถิ่นฐาน
                                                                           ่
(IOM) ดําเนินการจัดฝกอบรมดังนี้
ก) การประชุมและการฝกอบรมระดับผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ จํานวน 4 ครั้ง
    o โครงการฝกอบรมลามภาษาถิ่นสําหรับผูปฏิบัติงานในการสัมภาษณขอเท็จจริงผูเสียหายจาก
         การคามนุษย
    o โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับผูปฏิบติงานสหวิชาชีพจังหวัดตากเรื่อง แนวทางและ
                                            ั
         กระบวนการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย
    o โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ 9 จังหวัดภาคเหนือเรื่อง แนวทาง
         และกระบวนการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย
    o การประชุมเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษยจังหวัดเชียงใหม
ข) จัดการประชุมและการฝกอบรมระดับชุมชน จํานวน 28 ครั้ง โดยรวมมือ กองคุมครองและดูแล
ผลประโยชนคนไทยในตางประเทศ กรมการกงสุล กระทรวงการตางประเทศ บานพักเด็กและครอบครัว
สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล ผูนําชุมชน กลุม
พัฒนาสตรีประจําตําบล จัดทําโครงการ “เวทีชุมชนเรื่องเดินทางไปตางประเทศอยางไรใหปลอดภัยจาก
การคามนุษย” จํานวน 23 ครั้ง โดยไดดําเนินการในพื้นที่ อ.จุน อ.ปง อ.ภูซาง อ.ดอกคําใต จ.พะเยา, อ.แม
แตง อ.กัลยาณิวัฒนา อ.เมือง จ.เชียงใหม อ.ปางมะผา อ.ปาย จ.แมฮองสอน อ.งาว อ.แมพริก อ.เกาะคา
อ.เมือง อ.หางฉัตร อ.เมืองปาน อ.สบปราบ อ.เถิน อ.เสริมงาม จ.ลําปาง, อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นาน และ
“โครงการสรางความรูสูชุมชนเพื่อปองกันปญหาการคามนุษย” จํานวน 5 ครั้ง โดยไดดําเนินการในพื้นที่
อ.ปาย จ.แมฮองสอน, อ.ฝาง อ.เมือง จ.เชียงใหม, อ.แมสาย อ.แมสรวย จ.เชียงราย

                                                                                                      9
ค) จัดการฝกอบรมระดับเยาวชน จํานวน 6 ครั้ง
    o โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนไรรัฐไรสัญชาติเพื่อปองกันและเฝาระวังปญหาการคา
        มนุษย อ.แมสอด จ.ตาก
    o โครงการฝกอบรมและศึกษาดูงานพัฒนาผูนําเยาวชนเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในโรงเรียนและ
        ชุมชนในพื้นที่ จ.เชียงใหม จัดทําในพื้นที่ 5 อําเภอ ประกอบดวย อ.เมือง อ.เชียงดาว อ.อมกอย อ.
        แมแจม อ.แมอาย

2.1.2 การสรางเครือขาย รวมมือกับบานพักเด็กและครอบครัว สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล ผูนําชุมชน กลุมพัฒนาสตรีประจําตําบล ไดมีการจัดตั้ง
คณะทํางานในระดับชุมชน เพื่อชวยเหลือผูประสบปญหาความรุนแรงในครอบครัว เด็กและสตรีซึ่งถูก
ทารุณกรรมและละเมิดทางเพศ และบุคคลผูตกเปนกลุมเสี่ยงของการคามนุษย โดยดําเนินการจัดตั้ง “
ศูนยสํารวจและปองกันปญหาการคามนุษยและการละเมิดสิทธิเด็กและสตรี” จํานวน 5 ศูนย ไดแก
อ.เชียงของ อ.พาน อ.แมสาย จ.เชียงราย อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม อ.ปาย จ.แมฮองสอน
2.1.3 การรณรงคและประชาสัมพันธ
ก) การเผยแพรผานสื่อ ดําเนินการพัฒนาและผลิตสื่อสิงพิมพ ไดแก โปสเตอร แผนพับ สติ๊กเกอร ปฏิทิน
สื่อพรีเมียม ผลิตสปอตวิทยุและเผยแพรออกอากาศเพื่อใหความรูและเตือนภัยการคามนุษยในภาษาไทย
และภาษาถิ่น
ข) การจัดการรณรงคในพื้นที่เสี่ยงและชุมชนชายขอบตางๆ โดยจัดกิจกรรมโรดโชวและนิทรรศการ
เคลื่อนที่ จํานวน 10 ครั้ง ในพื้นที่ อ.ทาสองยาง จ.ตาก, อ.เมือง จ.ระนอง, อ.เมือง จ.เชียงใหม 4 ครั้ง, อ.
แมสอด จ.ตาก, อ.เมือง จ.เชียงราย 2 ครั้ง

2.2 ดานการชวยเหลือคุมครอง (Protection)
ภาพรวมของการดําเนินการคุมครองและชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยในปที่ผานมา ไดรับความ
รวมมือและการสนับสนุนเปนอยางดีจากหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก หนวยงานภายใตกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย ประกอบดวย สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในระดับ
จังหวัด บานพักเด็กและครอบครัวประจําจังหวัด สถานคุมครองและพัฒนาอาชีพ สํานักปองกันและแกไข
ปญหาการคาเด็กและหญิง (สปป.) หนวยงานภายใตกระทรวงแรงงานและเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย
เชน ตํารวจภูธรภาค 5 กองบังคับการตํารวจภูธรประจําจังหวัด สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการ
                                                                                                       10
ปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย (ปคม.) กรมสืบสวนคดีพิเศษ (DSI) สํานักงาน
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน สํานักงานอัยการ กองคุมครองและดูแลผลประโยชนคนไทยใน
ตางประเทศ กรมการกงสุล กระทรวงการตางประเทศ รวมทั้งไดรับความชวยเหลือจากเครือขายองคกร
พัฒนาเอกชน เชน มูลนิธิศูนยชีวิตใหม มูลนิธิโซเอ อินเตอรแนชั่นแนล มูลนิธิศุภนิมิต ประเทศไทย มูลนิธิ
กระจกเงา มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก LPN IRC FACE UNIAP เปนตน

2.2.1 การรับแจงแหตุ สายดวน 08-7174-5797 ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2554 ไดรับแจงเหตุ
ทั้งหมด 113 กรณี จําแนกประเภทไดดังนี้
   o กรณีที่เขาขายเปนการคามนุษย จํานวน 50 กรณี ในจํานวนนี้แยกประเภทเปนรูปแบบการคา
       ประเวณี 29 กรณี รูปแบบแรงงาน 11 กรณี รูปแบบขอทาน 4 กรณี กลุมเสี่ยงคามนุษย 6 กรณี
       (กลุมเสี่ยงคือ กรณีคนหายซึ่งมีสภาพเหตุการณที่บงชี้วาอาจนําไปสูการคามนุษย)
   o กรณีการคาประเวณีทั่วไป จํานวน 3 กรณี
   o กรณีขอทาน จํานวน 4 กรณี
   o กรณีเอาเปรียบแรงงาน จํานวน 11 กรณี
   o กรณีละเมิดทางเพศเด็ก จํานวน 16 กรณี
   o กรณีทํารายรางกาย/ทารุณกรรมทั่วไป จํานวน 8 กรณี
   o กรณีอื่นๆ เชน ความรุนแรงในครอบครัว ติดตามบุคคลสูญหาย จํานวน 21 กรณี

จากการรับแจงเหตุ ไดตรวจสอบขอเท็จจริงและประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของและรวมวางแผน
ปฏิบัติการ นําไปสูการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยและผูประสบปญหาทั้งหมด 32 กรณี ใน
จํานวนนี้แยกเปน

   o กรณีการคามนุษย จํานวน 12 กรณี TRAFCORD ดําเนินการชวยเหลือรวมกับทีมสหวิชาชีพและ
       ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อเขาชวยเหลือ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.แพร จ.ตาก
       จ.นครปฐม จ.ชุมพร จ.สุพรรณบุรี จ.พิจิตร (กรณีจังหวัดพิจิตรเปนการชวยเหลือผูเสียหายดาน
       สังคมสงเคราะหและการดําเนินคดีในขณะที่ผูเสียหายรับการคุมครองที่บานพัก)
   o กรณีทารุณกรรมเด็ก(ละเมิดทางเพศ ทางรางกายและจิตใจ) จํานวน 10 กรณี ดําเนินการ
       ชวยเหลือรวมกับทีมสหวิชาชีพ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม และ จ.เชียงราย


                                                                                                    11
o ชวยเหลือผูประสบปญหาทั่วไป จํานวน 10 กรณี ดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและประสานงาน
        หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหความชวยเหลือ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย และ จ. กาฬสินธุ
2.2.2 การเขาชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย ในที่นี้หมายถึง”ผูเสียหายจากการคามนุษย”
ซึ่งผานกระบวนการคัดแยกผูเสียหายโดยพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบคดีและทีมสหวิชาชีพ โดยได
จําแนกแลววาเปนบุคคลซึ่งเปนผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.
2551 มีจํานวนทั้งสิ้น 38 คน แยกเปนรูปแบบการคาประเวณี 37 คน เปนรูปแบบการขอทาน 1 คน
                  อายุ                           เพศ                              สัญชาติ

 ต่ํากวา 18 ป      มากกวา 18 ป      หญิง              ชาย           พมา        ไทย        ลาว

      23                  15             38                0             22          4         12

สรุป ผูเสียหายสวนมากเปนเด็กผูหญิง และสวนมากเขาเมืองโดยผิดกฎหมายและมีภูมิลําเนาอยูประเทศ
พมา ลาว และไทยตามลําดับ บางสวนเปนผูถือบัตรประจําตัวบุคคลซึ่งไมมีสัญชาติไทย และบัตรผูไมมี
สถานะทางทะเบียน พื้นที่ซึ่งมีการดําเนินการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย คือ จ.เชียงใหม จ. แพร
จ.ตาก จ.พิจิตร จ.นครปฐม จ.สุพรรณบุรี จ.สมุทรสาคร จ.ชุมพร

2.2.3 การเยียวยาดานรางกาย จิตใจ และสังคม ใหความชวยเหลือแกผูเสียหายและครอบครัวรวมทั้ง
ผูประสบปญหาทางสังคม โดยใหความชวยเหลือดานการใหคําปรึกษา ดานรางกาย ดานจิตใจ จัดหา
บานพักฉุกเฉิน ติดตามครอบครัวและสงกลับภูมิลําเนา ติดตามเยี่ยมผูเสียหาย และสนับสนุนผูเสียหาย
และครอบครัวดานเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ผลการดําเนินงานมีดังนี้
                               การดําเนินงาน                                  จํานวนผูรับบริการ(คน)

   ใหคําปรึกษา                                                                          225

   ใหความชวยเหลือดานสุขภาพกาย                                                         62

   ใหความชวยเหลือดานจิตใจ                                                             37

   จัดหาบานพัก สงตัวผูเสียหายเขารับการคุมครองในบานพัก                              107

                                                                                                       12
การดําเนินงาน                                 จํานวนผูรับบริการ(คน)

  ติดตามครอบครัว                                                                   36

  ติดตามเยี่ยมครอบครัว                                                             30


2.3 ดานการดําเนินคดี
มีการใหความชวยเหลือดานกฎหมาย โดยเตรียมความพรอมผูเสียหายเพื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรม เชน
กอนแจงความดําเนินคดี กอนใหการในชั้นพนักงานสอบสวน กอนเบิกความในชั้นศาล การชวยใหผูเสียหาย
ไดรับสิทธิตามกฎหมาย ประกอบดวยสิทธิในการไดรับคาสินไหมทดแทน คาตอบแทนผูเสียหาย สิทธิไดรับ
คาตอบแทนและคาชดเชยดานแรงงาน จัดหาทนายความเพื่อชวยเหลือดานการดําเนินคดี รวมทั้งติดตาม
การบังคับใชกฎหมายทั้งทางอาญาและตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ผลการติดตามและใหความชวยเหลือทางดานกฎหมายมีดังนี้
ก) ผลและความคืบหนาการดําเนินคดี มีการแจงความดําเนินคดีกรณีการคามนุษย จํานวนทั้งหมด 10
คดี พนักงานสอบสวนไดตั้งขอหาแกผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคา
มนุษย พ.ศ.2551 ประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ.
2539 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.2522
 เวลาที่ดําเนินคดี              กรณี                             พื้นที่เกิดเหตุ

 มกราคม              คาประเวณีเด็กและหญิง        อ.เมือง จ.เชียงใหม

 กุมภาพันธ          คาประเวณีเด็กและหญิง        อ.เมือง จ.เชียงใหม

 มีนาคม              คาประเวณีเด็กหญิง           อ.แมสอด จ.ตาก(ดําเนินคดีที่บก.ปคม.)

 เมษายน              คาประเวณีเด็กและหญิง        อ.เมือง จ.เชียงใหม

                     คาประเวณีเด็กและหญิง        อ.เมือง จ.ชุมพร (ดําเนินคดีที่ บก.ปคม.)

 กรกฎาคม             บังคับใหขอทาน               อ.เมือง จ.เชียงใหม

                     คาประเวณีเด็กและหญิง        อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี

                                                                                                 13
เวลาที่ดําเนินคดี               กรณี                                 พื้นที่เกิดเหตุ

 สิงหาคม              คาประเวณีเด็กและหญิง           อ.เมือง จ.นครปฐม (ดําเนินคดีที่ บก.ปคม.)

                      คาประเวณีเด็กและหญิง           อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

 กันยายน              คาประเวณีเด็กและหญิง           อ.เมือง จ.แพร


ข) ผลคําพิพากษาในศาลชั้นตน ไดติดตามผลการพิพากษาคดีการคามนุษยซึ่งดําเนินการตอเนื่องมา
กอนป 2554 มีการตัดสินคดี จํานวน 2 คดี ดังนี้
   o กรณีเด็กหญิงมีภูมิลําเนาอยู จ.เชียงใหม ถูกลอลวงไปคาประเวณีที่ประเทศมาเลเซีย ดําเนิน
       คดีอาญาในป 2552 ผล ศาลอาญาพิพากษายกฟองคดี
   o กรณีเด็กชาย 6 คน ถูกจัดหาและบังคับคาประเวณี อ.เมือง จ.เชียงใหม ดําเนินคดีอาญาในป พ.ศ.
       2553 ผล ศาลจังหวัดเชียงใหมพิพากษาจําคุกจําเลยที่ 1 จํานวน 41 ป ใหชดใชคาสินไหมทดแทน
       100,000 บาทใหผูเสียหาย 3 คน จําคุกจําเลยที่ 2 จํานวน 24 ป จําเลยที่ 3 เสียชีวิต ศาลสั่ง
       จําหนายคดี

2.4 ดานการสงกลับและคืนสูสังคม ดําเนินการประสานงานและรวมมือกับหนวยงานเครือขาย ประกอบ
กอบดวย สถานคุมครองและพัฒนาอาชีพ บานพักเด็กและครอบครัว สํานักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย หนวยพัฒนาสังคมในพื้นที่ และองคกรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ตนทางและปลายทาง สงกลับ
ผูเสียหายจากการคามนุษยทั้งหมด จํานวน 12 คน และผูประสบปญหาทางสังคมอื่นๆ จํานวน 32 คน
รวมเปน 44 คน

3. ความรุนแรงและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผูเสียหายจากการคามนุษย
หนวยงานที่ดําเนินการหลักในการดูแลผูเสียหายคือบานพักเด็กและครอบครัวประจําจังหวัด และสถาน
คุมครองและพัฒนาอาชีพ ผูเสียหายสวนมากเปนเด็กและผูหญิง จากการติดตามพบวาผูเสียหายไดรับ
ผลกระทบจากการถูกกระทําดังนี้
   o ผูเสียหายจากธุรกิจทางเพศไดรับความทุกขทรมานทางรางกาย เด็กและผูหญิงบางคนเปน
       โรคติดตอทางเพศสัมพันธจากการที่ตองทํางานขายบริการทางเพศ เชน โรคซิฟลิส เด็กหญิงบาง
       คนเปนโรคหูดหงอนไกซึ่งเกิดจากการรับแขกจํานวนมากและตองทํางานหนักไมสามารถปฏิเสธ
                                                                                                    14
ลูกคาที่มาซื้อบริการได เนื่องจากยังเปนเด็กจึงเปนทีตองการของลูกคา ภายหลังจากไดรับการ
                                                             ่
       ชวยเหลือผูเสียหายตองเขารับการรักษาที่โรงพยาบาล รวมถึงผูหญิงบางคนซึ่งตั้งครรภในขณะที่
       กําลังจะทํางาน นับเปนความเสี่ยงและเปนอันตรายดานสุขภาพ
   o ผูเสียหายที่เปนเด็กถูกพามาคาประเวณีตั้งแตอายุเพียง 13 ป การตองขายบริการทางเพศเปน
       ระยะเวลาตอเนื่องทําใหเด็กขาดโอกาสในการพัฒนา มีผลตอพัฒนาการทางรางกายและจิตใจ
       จากผลการประเมินพบวาผูเสียหายมีระดับสติปญญาทึบ มีปญหาบุคลิกภาพ ขาดทักษะในการ
       ดํารงชีวิต อานและเขียนหนังสือไดนอยมากและขาดความรูสึกมั่นใจในตนเอง
   o ผูเสียหายมีความรูสึกไมมั่นคงและหวาดกลัวอิทธิพลจากฝายผูกระทําความผิด สวนมากผูเสียหาย
       เขามาคาประเวณีดวยความสมัครใจโดยที่ครอบครัวไมทราบ ผูเสียหายมีความวิตกกังวลกลัววา
       ครอบครัวจะรูวาตนเองมาคาประเวณี ผูเสียหายจึงรูสึกกดดันและเปนทุกขจากเหตุการณที่เกิดขึ้น
       ภายใตสภาวะที่ครอบครัวมีความคาดหวังวาจะตองสงเงินกลับบานอยางตอเนื่อง ประกอบกับใน
       บางกรณีผูเสียหายไมไดรับขอมูลที่เพียงพอและไมเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการดําเนินคดีและ
       ขั้นตอนการชวยเหลือของเจาหนาที่ จึงทําใหผูเสียหายสวนใหญมีความกังวลและไมตองการ
       รวมมือในกระบวนการดําเนินคดีและการชวยเหลือ

4.สรุปแนวโนมและสถานการณปญหา
พื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังคงมีความรุนแรงของสถานการณปญหาการคามนุษยอยางตอเนื่องเนื่องจาก
สภาพสังคม วัฒนธรรม การเมืองและความแตกตางทางเศรษฐกิจที่เปนปจจัยเอื้อ วิธีการและรูปแบบมี
การซอนเรน มีการนําเด็กและผูหญิงเขาสูธุรกิจทางเพศมากขึ้น สวนมากไมปรากฎสภาพการบังคับกักขัง
หรือทํารายรางกาย แตมีการขมขูและคุกคามเสรีภาพของผูเสียหาย และหนวงเหนี่ยวดวยหนี้สิน ถูก
นายหนานําพาเปนเครื่องมือทําใหตกอยูในสภาวะจํายอมและไมกลารองขอความชวยเหลือ ปจจัยที่เปน
สาเหตุผลักดันใหผูเสียหายเขาสูกระบวนการคือความตองการมีรายได ความยากจน ภาวะการเปนหนี้สิน
มีปญหาในครอบครัวและความไมรูเทาทัน ทําใหเขาสูกระบวนการคามนุษย ถูกแสวงประโยชนและถูกเอา
รัดเอาเปรียบในที่สุด กลุมเสี่ยงของการคามนุษยรวมถึงผูมฐานะทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง แตพา
                                                         ี
ตัวเองเขาสูวงจรความเสี่ยง เนื่องจากตองการมีรายไดเพิ่มมากขึ้นหรือตองการไปทํางานตางประเทศ มี
เด็กไทยที่เขาสูกระบวนการคาประเวณีเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง มีชวงอายุระหวาง 13 – 18 ป การคา
มนุษยที่มีเด็กไทยเปนผูเสียหาย ไดรับความสนใจจากหนวยงานที่เกี่ยวของนอยกวาเด็กตางชาติ เนื่องจาก
สังคมมองวาเด็กสมัครใจเขาสูกระบวนการคาประเวณี ประเด็นนี้ถูกละเลยจากองคกรที่มีหนาที่เกี่ยวของ
                                                                                                     15
ซึ่งสิ่งที่นาเปนหวงคือหากไมมีการแกไขปญหาหรือดึงเด็กออกจากวงจรเด็กกลุมนี้เด็กอาจพัฒนาเปนผูเปน
ธุระจัดหาและกระทําความผิดเสียเองดังที่เคยปรากฎมาแลว

5. ความทาทายและขอเสนอแนะ
ภาพรวมของการชวยเหลือและการดําเนินคดีที่ผานมา มีจุดออนและขอจํากัดบางประการซึ่งเปนผลมาจาก
การลงมือปฏิบัติงาน สงผลทําใหยังไมสามารถบรรลุเปาหมายเทาที่ควร ไดแก
1. การคัดแยกผูเสียหาย ผูปฏิบัติงานบางสวนยังขาดทักษะในการสัมภาษณเพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงที่
สอดคลองกับองคประกอบการคามนุษย ในขณะที่ผูเสียหายไมตระหนักวาตัวเองเปนผูเสียหายหรือถูก
กระทํา การมีทัศนคติดานลบตอพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกสัมภาษณทําใหเจาหนาทีไมไดรับความไววางใจ
                                                                          ่
และไมไดรับความรวมมือ บางครั้งขาดความตระหนักถึงความละเอียดออนตอสภาพการณของคดีการคา
มนุษยและขาดการบริหารจัดการทีมที่มีประสิทธิภาพ ทําใหกลุมเปาหมายมีความกังวลเกี่ยวกับผูกระทํา
ความผิดและไมไววางใจเจาหนาที่ จึงไมใหความรวมมือเทาที่ควร การคัดแยกผูเสียหายที่ผานมาจึงยังไม
สามารถเขาถึงขอเท็จจริงเพื่อใชประกอบการดําเนินการชวยเหลือและการดําเนินคดีไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

2. การดําเนินการตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551
2.1 การสืบพยานไวกอนลวงหนา ในกรณีผูเสียหายเปนชาวตางชาติ บางกรณียังมีความลาชา ผูเสียหาย
ตองอยูในสถานคุมครองเปนเวลาหลายเดือน ซึ่งบางครั้งเกิดจากมุมมองในการดําเนินคดีและแนวปฏิบัติที่
แตกตางกันของพนักงานอัยการและผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ จึงเปนความทาทายที่ตองพิจารณาระหวาง
ประเด็นเรื่องแนวทางการสัมฤทธิ์ผลทางคดี กับระยะเวลาที่ผูเสียหายตองรอกระบวนการในประเทศไทย
ขอเสนอแนะ : ควรมีการจัดทํากรอบระยะเวลาการดําเนินการแตละขั้นตอน เชนกรอบเวลาการยื่นขอ
สืบพยานไวกอนลวงหนา เนนการประชุมทีมสหวิชาชีพและการติดตามผลการดําเนินงานแตละขั้นตอน
เสนอใหมีการจัดตั้งคณะทํางานกลางในระดับภาคหรือระดับประเทศ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญและมี
ประสบการณดานกฎหมายจากภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อใหคําแนะนํา หรือชี้แนะแกผูปฏิบัติงานเมื่อเกิด
ปญหาหรือมีความเห็นที่ไมตรงกันเกี่ยวกับการตีความกฎหมายหรือการแกไขปญหาบางอยางที่เกิดจาก
การทํางานเพื่อเปนการสนับสนุนการทํางานในระดับพื้นที่
2.2 การเรียกคาสินไหมทดแทน ที่ผานมากระทรวงการพัฒนาสังคมฯไดมีการออกอนุบัญญัติใหทีมสห
วิชาชีพในพื้นที่รวมกันประเมินความเสียหายทางแพงเพื่อดําเนินการเรียกคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหาย
                                                                                                        16
ซึ่งยังมีขอติดขัดในทางปฏิบัติ เนื่องจากการทํางานของทีมสหวิชาชีพยังขาดแนวทางสําหรับการกําหนด
คาเสียหาย สงผลใหการดําเนินการลาชาและการดําเนินคดีใชเวลานาน
ขอเสนอแนะ : กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ควรรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของกําหนดเกณฑการคิด
คํานวณคาสินไหมทดแทนจากการถูกกระทําละเมิดแกผูเสียหายในรูปแบบตางๆ และกรอบระยะเวลาการ
ดําเนินการ เพื่อเปนแนวทางแกทีมสหวิชาชีพในการกําหนดคาเสียหายใหแกผูเสียหาย ทั้งนี้พนักงานอัยการ
สามารถนําเกณฑดังกลาวเสนอแกศาลประกอบคําขอในสวนแพงจะทําใหผูปฏิบัติงานในพื้นที่มีความ
ชัดเจนจะสามารถดําเนินการไดรวดเร็วมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. แมวาจะมีความพยายามในการสืบสวนและดําเนินคดีกับสถานคาประเวณีหรือสถานบริการแอบแฝง
การคาประเวณีแลวแตมักพบวาสวนใหญสถานที่ดังกลาวจะกลับมาเปดกิจการเหมือนเดิมภายในเวลาไม
นาน ยังคงจัดใหมีการคาประเวณีโดยไมเกรงกลัวกฎหมาย ผูตองหาและเจาของกิจการบางคนไดรับการ
ประกันตัวในชั้นพนักงานสอบสวนหรือชั้นศาลแลวกลับไปกระทําความผิดเหมือนเดิม ซึ่งทําใหเห็นวาการ
จับกุมและดําเนินคดีอาญากับผูกระทําความผิดเพียงอยางเดียวอาจไมไดผลเนื่องจากตองรอการพิสูจนใน
ชั้นศาลซึ่งตองใชระยะเวลานาน กระบวนการเหลานี้มักเกิดขึ้นซ้ําๆ ทําใหการคามนุษยยังคงอยูและไมมีการ
จัดการกับตนตอของปญหาอยางแทจริง
ขอเสนอ : ขอใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย พิจารณาทบทวนในประเด็นดังกลาว
โดยเฉพาะเรื่องการสั่งปดสถานประกอบการหรือสถานบริการทีมีการกระทําความผิดการคามนุษยและ
                                                     ่
กําหนดมาตรการดานการปองกันและปราบปรามใหมีการบังคับใชและดําเนินการอยางเขมงวดเพื่อให
สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรและสามารถยุติขบวนการคามนุษยไดอยางจริงจังและทําใหการปองกันและ
การปราบปรามมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. แนวทางปฏิบัติดานการคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยคือการทํางานเปนทีม ซึ่งที่ผานมาภาคสวน
ที่เกี่ยวของมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอยางตอเนื่อง แตปญหาที่พบคือบุคลากรที่ผานการฝกอบรม
ไมสามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานได สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากโครงสรางการทํางานภายใน
หนวยงานที่ไมเอื้อใหบุคลากรทําหนาที่ เพราะหนวยงานมีภารกิจที่ใหบุคลากรทําภารกิจอื่นๆ ในขณะที่การ
ทํางานเปนทีมตองอาศัยความรวมมือและทุมเท รัฐบาลควรควรทบทวนถึงการจัดวางกําลังคนให
สอดคลองกับภารกิจ


                                                                                                   17
5. รัฐบาลควรตรวจสอบและติดตามการทํางานขององคกรพัฒนาเอกชนรวมทั้งเสริมสรางศักยภาพองคกร
เอกชนเพื่อใหสามารถเขามาเปนกําลังเสริม สนับสนุนและอุดชองวางในการทํางาน เชน บานพักฉุกเฉิน
หรือบานพักสําหรับการฟนฟูเยียวยา เนื่องจากผูเสียหายบางคนมีความจําเปนตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ
ไมสามารถดูแลรวมในบานพักหรือสถานดูของรัฐบาลได รวมทั้งควรมีการตรวจสอบและติดตามการ
ทํางานขององคกรพัฒนาเอกชนอยางสม่ําเสมอโดยเฉพาะในสวนของบานพักหรือสถานดูแลเด็กกลุมเสี่ยง
ของการคามนุษยและเด็กดอยโอกาสเพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกันและมีหลักประกันวาเด็กจะไดรับการ
ดูแลดีไมเสี่ยงตอการถูกละเมิดสิทธิ หนวยงานภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนควรมีการ บูรณาการการ
ทํางานรวมกันใหมากขึ้น สรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานรวมกันรวมทั้งปรับทิศทางการทํางานให
สอดคลองและมีความเปนเอกภาพมากยิ่งขึ้น

6.ประเทศไทยซึ่งเปนศูนยกลางทางดานเศรษฐกิจโดยเฉพาะในภูมิภาคลุมน้ําโขง และทางภาคเหนือมี
พรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบาน จึงเปนตนทางและทางผานของการคามนุษยซึ่งมีแนวโนมเกิดขึ้นอยาง
ตอเนื่อง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเขาสูอาเซียนในป พ.ศ.2558 จะมีการสรางความรวมมือทางการคาและ
เศรษฐกิจโดยเฉพาะตามแนวชายแดนของไทย อาจนํามาซึ่งความตองการแรงงานมากขึ้น คาดหมายไดวา
การลักลอบคามนุษยอาจเติบโตเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งปญหานี้จะกระทบตอการเมืองและความมั่นคง
รวมทั้งเปนประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน จึงเปนความทาทายวารัฐบาลและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของจะมี
มาตรการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงดังกลาวอยางไร เพื่อตอบโตกับขบวนการคามนุษยที่นับวันทวีความ
รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ




                                                                                                 18

Contenu connexe

En vedette

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

TRAFFICKING IN PERSONS_FOCUS by TRAFCORD

  • 1. 2012 รายงานสถานการณ์ ปัญหา การค้ ามนุษย์ ประจํ าปี 2554 หน่ วยประสานงานเพือต่อต้ านการค้ ามนุ ษย์ ภาคเหนื อตอนบน ประเทศไทย (TRAFCORD) มูลนิ ธเพือความเข้ าใจเด็ก (FOCUS) ิ สถานการณ์การค้ ามนุ ษย์ - ผลการดําเนิ นงานของหน่วยงาน - ความรุนแรงและ ผลกระทบต่อผู้ เสียหาย - สรุปแนวโน้มและสถานการณ์ปัญหา - ความท้ าทาย และข้ อเสนอแนะ Duean Wongsa TRAFCORD by FOCUS 3/23/2012
  • 2. บทนํา การจัดทํารายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการเผยแพรขอมูลเรื่องสถานการณปญหาการคา มนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนและผลการดําเนินงานของหนวยประสานงานเพื่อตอตานการคามนุษย ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย (โครงการ TRAFCORD) ใหแกบคคลทั่วไป หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ุ องคกรชุมชนที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามการคามนุษย เพื่อใหรับทราบ และเกิดความเขาใจถึงสถานการณปญหาการคามนุษยในรอบป พ.ศ.2554 ที่แสดงใหเห็นถึงสภาพปญหา การคามนุษยที่ยังคงรุนแรงและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของโดยเฉพาะ อยางยิ่งศูนยปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษยระดับจังหวัดและหนวยงานหลักที่มีหนาที่ เกี่ยวของ ไดใชประโยชนจากขอมูลในรายงานฉบับนี้ในการประกอบการวางแผนการทํางานในระดับจังหวัด เพื่อชวยในการออกแบบและจัดทําโครงการหรือกิจกรรมทั้งดานการปองกัน การปราบปรามและการ ชวยเหลือผูเสียหายใหมีความเหมาะสมและมีความสอดคลองกับสภาพปญหาในแตละพื้นที่ ที่มาของขอมูลในรายงานฉบับนี้ มาจากผลการดําเนินกิจกรรมของโครงการ TRAFCORD ซึ่งได รวมมือกับหนวยงานเครือขายภาครัฐและเอกชน ดําเนินการรับแจงเหตุ การสํารวจสถานการณในพื้นที่ เสี่ยง การเขาชวยเหลือผูเสียหายและกลุมเสี่ยงโดยดําเนินการรวมกับหนวยงานสหวิชาชีพทั้งภาครัฐและ เอกชนในแตละจังหวัด การติดตามดําเนินคดีและการใหความชวยเหลือผูเสียหายทางดานกฎหมาย การ ฟนฟูและเยียวยา การสงกลับและคืนผูเสียหายสูสังคม การทําโครงการดานการพัฒนาศักยภาพ ผูปฏิบัติงานในระดับจังหวัดและระดับชุมชน การสรางเครือขายในชุมชนรวมถึงการเผยแพรและ ประชาสัมพันธ โครงการ TRAFCORD ภายใตการดําเนินงานของมูลนิธิเพื่อความเขาใจเด็ก (FOCUS) ขอขอบคุณ องคกรเครือขายและประชาชนทั่วไปที่ใหความรวมมือและสนับสนุนการดําเนินงานมาโดยตลอด รวมถึง องคกรทุนผูสนับสนุนใหการดําเนินการประสบความสําเร็จและสามารถใหการคุมครองและชวยเหลือ ผูเสียหายและผูที่ประสบปญหาไดเปนอยางดี 2
  • 3. 1.สถานการณการคามนุษย 1.1 สถานการณการคามนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน สถานการณในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังคงเปนพื้นที่ที่มีปญหาการคามนุษยเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ในปที่ ผานมามีการคามนุษยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ มีการอพยพเขามาของแรงงานขามชาติ จากประเทศพมา และลาว ซึ่งมีบุคคลจํานวนหนึ่งที่ถูกชักชวนและลอลวงเขาสูกระบวนการคามนุษย พบการแสวงประโยชนทางเพศ ไดแกการคาประเวณีเด็กและผูหญิงในสถานคาประเวณี สถานบริการที่เปดในลักษณะแอบแฝงคาประเวณี ซึ่งมีทั้งเด็กหญิงและเด็กชาย รวมถึงกลุมผูหญิง ดานแรงงานพบวามีการนําเด็กตางชาติทั้งเด็กหญิงและ เด็กชายชาวลาวจากชายแดนภาคเหนือและภาคอิสานเขามาคาแรงงานในพื้นที่ภาคเหนือ มีการบังคับและ เอาเปรียบแรงงาน โดยทํางานเปนคนรับใชในบานและใชแรงงานในสถานที่กอสราง นอกจากนั้นยังมี ขบวนการติดตอชักชวนและจัดหาเด็กจากประเทศพมาเขามาขอทาน นอกจากนั้นแรงงานไทยยังคง หลั่งไหลไปทํางานตางประเทศซึ่งแรงงานจํานวนหนึ่งถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกบังคับใหทํางานโดยผิด เงื่อนไขหรือผิดสัญญาทั้งในภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและการแสวงประโยชนจากการคาประเวณี ซึ่งจากการทํางานในชุมชนในปที่ผานมาพบวายังคงมีความตองการและมีการตอบสนองของแรงงานไทย เดินทางไปตางประเทศอยางตอเนื่อง 1.2 รูปแบบของการคามนุษยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน การคาประเวณี ยังพบปญหาการคาประเวณีเด็กรวมถึงมีลักษณะการลอลวงหรือบังคับใหคาประเวณี โดยสามารถแยกได คือ เด็กเชื้อชาติลาว จะเขามาคาประเวณีในพื้นที่ จ.แพร จ.นาน เด็กเชื้อชาติไทใหญ จะเขามาคาประเวณีที่ จ.เชียงราย จ.เชียงใหม เด็กเชื้อชาติกะเหรี่ยงและพมา จะเขามาคาประเวณีที่ จ. ตาก โดยเฉพาะในอําเภอตามแนวชายแดน รวมทั้งมีเด็กไทยทีเ่ ขาสูวงจรการคาประเวณีทุกจังหวัดในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน มีธุรกิจเพศพาณิชยที่เปดกิจการประกอบดวยสถานคาประเวณี มีลักษณะเปนบานหรือหองเชา รานคารา โอเกะ รานอาหาร ผับ สถานนวดแผนโบราณ อาบอบนวด สถานที่เหลานี้ลวนมีการแอบแฝงการคา ประเวณีทั้งสิ้น พบไดในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.ตาก มีเด็กทํางานในรานเตนระบําโปเปลือยหรือเตนโคโยตีและนําไปสูการขายบริการทางเพศ มีการเพิ่มขึ้นของ ้ รานนวดเพื่อสําเร็จความใคร (นวดกะปู) พบไดในพื้นที่ จ.เชียงใหม 3
  • 4. มีการนําเด็กชายและเยาวชนชาย อายุระหวาง 15-25 ป เขาสูกระบวนการคาประเวณีเพิ่มมากขึ้น ในสถาน รานคาราโอเกะ ผับ และสถานบริการสําหรับลูกคาซึ่งเปนผูชายนอกจากนั้นยังมีขอมูลที่ชี้วามีนักทองเที่ยว ชาวตางชาติซึ่งชักชวนเด็กผูชายไปถายภาพอนาจารและนําภาพเด็กลงในเว็ปไซดซึ่งมีลักษณะที่สอไป ในทางเพศ พบที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย มีการเปดเว็บไซดนําเขาภาพและขอมูลสวนตัวของเด็กและเยาวชนชายหญิงเพื่อโฆษณาขายบริการทางเพศ หรือเรียกวาการคาประเวณีออนไลน บางครั้งจะใหเด็กเขาไปโพสภาพและขอมูลติดตอดวยตัวเอง จากนั้น ใหลูกคาที่ตองการซื้อบริการทางเพศเขาไปยังเว็ปไซดเพื่อติดตอนัดหมายซื้อบริการทางเพศ มีระบบการ เขาถึงขอมูล ลูกคาตองจายคาสมัครสมาชิกเพื่อเลือกเด็กหรือหญิง โดยมีการแบงรายไดจากการทํางาน ใหแกผดูแลเว็ปไซดหรือผูติดตอจัดหาดวย พบที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย ู มีขบวนการนายหนาที่ติดตอชักชวน ยุยงสงเสริมใหเด็กและเยาวชนเขาสูกระบวนการคาประเวณี และมี การติดตอลูกคาเพื่อซื้อบริการทางเพศ พบในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.ลําพูน จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.แพร จ.นาน จ.แมฮองสอน จ.ตาก จ.ลําปาง สถานที่ที่มีเอเยนตติดตอและเปนธุระจัดหาเพื่อคาประเวณี คือ รานเสริมสวย รานขายของชํา โรงแรมและ พนักงานโรงแรม เกสเฮาส รถสาธารณะหรือรถรับจาง กลุมลูกคาผูซื้อบริการทางเพศสวนใหญ คือ แรงงานทั่วไป นักธุรกิจ ขาราชการบางกลุม นักทองเที่ยวชาว ไทยและตางประเทศ โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวเอเชียและประเทศตะวันออกกลาง ขบวนการขอทาน มีการนําเด็กชาวพมามาขอทาน พบตามสถานที่ทองเที่ยว ตลาดกลางคืน ตลาดนัด ถนนคนเดิน พบเด็กที่ถูกนํามาขอทานตั้งแตวัยทารกจนถึงอายุประมาณ 10 ป เด็กสวนมากเขาสู กระบวนการโดยการติดตามมากับครอบครัวหรือญาติ มีเอเยนตเขาไปติดตอชักชวนมาจาก จ.ทาขี้เหล็ก ประเทศพมาเขามาทาง อ.แมสาย จ.เชียงราย บางครั้งมีการหลบเลี่ยงดานตรวจของเจาหนาที่โดยการเดิน ปาออมจุดตรวจแลวขึ้นรถโดยสารประจําทาง จากนั้นเขามาพักในบานเชาใน อ.เมือง จ.เชียงใหม นายหนา จะมีการจัดสรรพื้นที่และบางครั้งจะตองจายคาเชาที่สําหรับการขอทานดวย ขอทานมีรายไดจากการ ขอทานระหวาง 150 – 1,000 บาท/วัน ถาเปนเด็กจะมีรายไดตอวันโดยเฉลี่ยตั้งแต 500 บาทขึ้นไป พบ สถานการณในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย สวนที่ อ.แมสอด จ.ตากมีการสงเด็กไปขอทานที่กรุงเทพฯ 4
  • 5. ดานแรงงาน มีการนําเด็กสัญชาติลาว สัญชาติพมา เด็กกลุมชาติพันธุมาใชแรงงานโดยผิดกฎหมาย ให ทํางานรับใชในบาน รานขายอาหาร ขายดอกไมและพวงมาลัย รวมทั้งทํางานในสถานที่กอสราง เด็ก สวนมากเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย ถูกบังคับใหทํางาน ถูกเอาเปรียบคาจางคาแรง พบในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.พะเยา จ.ลําปาง จ.ตาก มีการลอลวงแรงงานชายจากพื้นที่ อ.แมสอด ไปทํางานบนเรือประมง มีเอเยนตเปนธุระจัดหาเด็กและ ผูใหญจากพื้นที่พักพิงชั่วคราวสําหรับผูอพยพโดยติดตอและนําพาผูอพยพ และสงไปทํางานในเรือประมง โรงงาน แรงงานในบานและคาประเวณี พื้นที่ปลายทางคือ กรุงเทพฯ จ.สมุทรสาคร จ.ชลบุรี การเดินทางไปทํางานตางประเทศ จากการดําเนินกิจกรรมดานการปองกัน โดยใหความรูแกชุมชนและ ประชาชนซึงเปนกลุมเสี่ยงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน พบวามีขอมูลเกี่ยวกับการเดินทางไปทํางาน ่ ตางประเทศของชุมชนไทยในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.พะเยา จ.ลําปาง จ.ลําพูน จ.นาน จ.แพร และ จ.แมฮองสอน พบวามีสถานการณที่เปนความเสี่ยงเกี่ยวของกับขบวนการหลอกลวงแรงงานไทยดังนี้ 1.ขบวนการคาแรงงานไปตางประเทศ แรงงานไทยที่เดินทางและมีความตองการไปทํางานใน ตางประเทศสวนหนึ่งไปโดยถูกกฎหมายตามชองทางซึ่งกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานไดกําหนดไว แตมีแรงงานจํานวนหนึ่งซึ่งถูกกลุมนายหนาหรือบริษัทจัดหางานผิดกฎหมายเรียกเก็บคานายหนาเปน จํานวนเงินที่สูง เชนไปทํางานที่ประเทศไตหวันตองเสียคานายหนาประมาณ 100,000 – 150,000 บาท มี การหลอกลวงแรงงานโดยอางวาจะพาไปทํางานที่ประเทศญี่ปุนและเกาหลีใตและเรียกเก็บคาธรรมเนียม ในอัตราที่สูงเกินความเปนจริง ทําใหแรงงานมีหนี้สินจากการกูเงินและครอบครัวไดรับความเดือนรอน มี การหลอกเรียกเก็บเงินคาใชจายในการเดินทางไปทํางานตางประเทศแตความเปนจริงไมมีการพาไปทํางาน หรือมีบางกรณีที่เมื่อแรงงานเดินทางไปถึงประเทศปลายทางแลวถูกบังคับใหทําสัญญาอยางไมเปนธรรม ชวงที่ผานมามีแรงงานไทยจํานวนหนึ่งตัดสินใจเดินทางไปทํางานตางประเทศ เชนประเทศในแถบตะวันออก กลาง ประเทศลิเบีย แลวถูกเอาเปรียบแรงงาน แรงงานบางคนที่เจ็บปวยจากการทํางานถูกสงกลับและไม สามารถเรียกรองคาชดเชยหรือคาตอบแทนทางแรงงาน 2.การแสวงประโยชนจากการคาประเวณี ผูหญิงไทยจากภาคเหนือจํานวนหนึ่งเดินทางไปทํางาน ตางประเทศดวยความสมัครใจ โดยมีขบวนการเปนผูติดตอและจัดการเรื่องการเดินทางและนําพาไป นายหนาไดชักชวนผูหญิงใหไปทํางานนวดที่ประเทศมาเลเซียโดยหลอกวาจะออกใบอนุญาตทํางานให 5
  • 6. มีการเก็บคาใชจาย แตเมื่อไปถึงปลายทางกลับยึดหนังสือเดินทางซึ่งผูหญิงจะตกเปนหนี้ ถูกบังคับให คาประเวณี บางกรณีมีการกักขัง ขมขูและทํารายรางกาย มีนายหนาทั้งชาวไทยและชาวตางชาติติดตอ ชักชวนผูหญิงเพื่อแตงงานกับชาวตางชาติและนําไปสูการใชแรงงานและคาประเวณี 1.3 เสนทางการคามนุษย การคาประเวณีเด็กและผูหญิงตางชาติ เสนทางที่ 1 : ชายแดน จ.ทาขี้เหล็ก – อ.แมสาย จ.เชียงราย ผูเสียหายเดินทางมาจากเมืองเชียงตุง ประเทศพมา เขามาทางจังหวัดทาขี้เหล็ก แตบางสวนมาทํางานรับจางทั่วไปหรือมาอาศัยกับญาติอยูที่ อ. แมสาย จ.เชียงรายอยูกอนแลว จากนั้นถูกเพื่อนหรือคนรูจักหรือนายหนาชักชวนหรือลอลวงใหมา คาประเวณีที่จังหวัดเชียงใหม ผูเสียหายเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง และมีนายหนาขับรถไปรับ เสนทางที่ 2 : ชายแดน จ.เมียวดี – อ.แมสอด จ.ตาก ผูเสียหายเดินทางมาจากเมืองพะอาง ยางกุง เมียวดี โดยเขามาทางฝง จ.เมียวดี นั่งเรือขามมายัง อ.แมสอด บางสวนถูกหลอกลวงวาใหมาทํางานรับจาง เสริฟอาหารและมีบางสวนที่ตั้งใจมาคาประเวณีโดยเขามาทํางานที่สถานคาประเวณีใน อ.แมสอด มีผูเสียหายบางสวนทั้งเด็ก ผูหญิงและผูชาย ถูกนายหนาชักชวนและเสนอวาสามารถพาไปทํางานไดโดย พาออกจากคายพักพิงชั่วคราว เดินทางโดยรถยนตสวนตัวของนายหนา กรณีเปนผูชายจะพาไปทํางานใน โรงงานคัดแยกอาหารทะเล สวนผูหญิงพาไปคาประเวณีที่ จ.สมุทรสาคร เสนทางที่ 3 : ชายแดนแขวงเวียงจันทน - จ.หนองคาย ผูเสียหายซึ่งเปนชาวลาวเดินทางเขามายัง ประเทศไทย โดยถูกพาไปคาประเวณีที่ จ.แพร ตามชองทางตอไปนี้ o เมืองมื้น แขวงเวียงจันทน – สถานีขนสงเวียงจันทน – ดานตรวจคนเขาเมืองลาว – นั่งรถทัวรขาม ไปดานตรวจคนเขาเมืองหนองคาย – นั่งรถยนตสวนตัวของนายหนามุงตรงไปยังสถานคาประเวณี o เมืองมื้น แขวงเวียงจันทน – ทาเรือบานวัง ประเทศลาว – นั่งเรือโดยสารขามมา อ.ปากชม จ.เลย – นั่งรถไปยังสถานีขนสง จ.เลย – นั่งรถยนตสวนตัวของนายหนามุงตรงไปยังสถานคาประเวณี o เมืองเวียงคํา แขวงหลวงพระบาง – แขวงเวียงจันทน – ขึ้นรถโดยสารประจําทางไปยังดานตรวจคน เขาเมือง จ.หนองคาย - สถานีขนสง จ.อุดรธานี – นั่งรถทัวรไปยังสถานคาประเวณี นายหนาไดนําเด็กหญิงสัญชาติไทยจาก จ.หนองบัวลําภู และสงมาคาประเวณีดวย กรณีหญิงไทยถูกพาไปยังเขตปกครองพิเศษมาเกาเพื่อบังคับใหคาประเวณี ผูประสบปญหามีความ ประสงคจะเดินทางเขาประเทศสหรัฐอเมริกา ไดรับการเสนอจากนายหนาวาสามารถพาเดินทางเขา 6
  • 7. ประเทศสหรัฐอเมริกาได โดยตองไปแวะที่ประเทศมาเกากอน เพื่อตอไปยังประเทศอื่นๆ เมื่อผูเสียหาย เดินทางไปถึงประเทศมาเกา ไดถูกสงไปกักตัวที่บานของเอเยนตซึ่งมีหญิงไทยจํานวนหนึ่งพักอยูและบอกวา ตองไปทํางานที่สถานอาบอบนวดและจะตองคาประเวณี แตไดติดตอขอความชวยเหลือจากญาติและ นําไปสูการชวยเหลือของหนวยงานและปลอดภัยในที่สุด กรณีการบังคับคาประเวณีในภาคกลางและภาคใตตอนบน มีการดําเนินการชวยเหลือเด็กและหญิง ชาวลาวและชาวไทใหญซึ่งถูกบังคับใหคาประเวณีที่ จ.นครปฐม และ จ.ชุมพร o ผูเสียหายสัญชาติลาว เดินทางมาจาก แขวงเวียงจันทนเขาเมืองโดยผานสะพานมิตรภาพไทย - ลาว จ.หนองคาย มีนายหนาซึ่งเปนชาวลาวไดชักชวนไปทํางานเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มที่ ประเทศไทย โดยไดจัดการเรื่องการเดินทางและใหใชหนังสือเดินทางปลอม จากนั้นสงไป คาประเวณียังรานคาราโอเกะที่ จ.ชุมพร ผูเสียหายบางสวนเดินทางมาจากเมืองปากเซ แขวงจําปา ศักดิ์ ทําหนังสือเดินทางที่เมืองปากเซจากนั้นนายหนาพาขามผานดานชองเม็ก จ.อุบลราชธานี และตอรถยนตสวนตัวไปยังรานคาราโอเกะเพื่อคาประเวณีที่ จ.ฉะเชิงเทรากอน จากนั้นสงตอมา ยัง จ.ชุมพร ผูเสียหายบางคนทํางานขายของทีแนวชายแดนไทย-ลาวมากอน จากนั้นนายหนามา ่ ติดตอชักชวนใหไปทํางานเสิรฟอาหารแตถูกบังคับใหคาประเวณีในที่สุด o ผูเสียหายเปนชาวไทใหญ เดินทางมาจากรัฐฉาน ประเทศพมา ถูกนายหนาซึ่งเปนคนไทใหญติดตอ และชักชวนใหมาทํางานเสิรฟอาหารและเครื่องดื่มและกลับพามายังสถานคาประเวณีที่ โดยบังคับ ใหขายบริการทางเพศและขมขูวาหากผูเสียหายไมยอมทํางานจะสงไปขายที่รานอื่นและไดเรียกเงิน (คาไถ) จากญาติของผูเสียหายดวย ภายหลังจากการชวยเหลือเจาหนาที่ไดซักถามขอเท็จจริง ทํา ใหทราบวามีขบวนการนํากลุมเด็กและหญิงชาวไทใหญมาพักทีโ่ รงแรมใน จ.ทาขี้เหล็กกอน จากนั้น นายหนาไดไปรับตัวเด็กแลผูหญิง พามุงตรงไปยังสถานคาประเวณีใน จ.นครปฐม เดินทางโดยรถ ตูสวนบุคคล ผูเสียหายใหขอมูลวาระหวางการเดินทางคนขับรถถูกตรวจและสอบสวนโดย เจาหนาที่แตหลังจากนั้นมีการเจรจาผานทางโทรศัพทและเจาหนาที่ไดปลอยตัวทุกคนใหเดินทาง ตอไป ขบวนการขอทาน ผูเสียหายมีภูมิลําเนาอยูประเทศพมา โดยเดินทางมากับนายหนาและครอบครัวมาที่ ชายแดนไทย จังหวัดทาขี้เหล็ก เขามาทาง อ.แมสาย จ.เชียงราย นั่งรถโดยสารประจําทางมาถึง จ. 7
  • 8. เชียงใหม ถูกครอบครัวของตนบังคับใหขอทานโดยมีการเอื้อประโยชนและดูแลโดยกลุมขอทานชาวชาว พมาซึ่งอาศัยอยูในพื้นที่ อ.เมือง เชียงใหมกอนแลว การใชแรงงานเด็กซึ่งเปนความเสี่ยงและเกี่ยวของกับการคามนุษย กรณีแรงงานเด็กชาวลาว ผูเสียหายเดินทางมาจากแขวงจําปาศักดิ์ ประเทศลาว โดยมีนายหนาชักชวนใหเขามาทํางานบาน เดินทาง ดวยเรือขามแมน้ําและพานั่งรถยนตสวนบุคคลเดินทางไปทํางานบานที่กรุงเทพฯกอน จากนั้นนายจางสง ตอมายัง จ.เชียงใหม โดยใหทํางานบาน มีการหนวงเหนี่ยวเสรีภาพ นายจางไมจายคาจางแรงงานและมี การทํารายรางกายเด็กดวย แผนที่แสดงเสนทางการคามนุษย 8
  • 9. 2.ผลการดําเนินงานของหนวยงาน ในป พ.ศ.2554 โครงการ TRAFCORD ไดดําเนินโครงการดานการปองกัน การคุมครอง การดําเนินคดีและ การสงกลับและคืนสูสังคม โดยรวมมือกับหนวยงานเครือขายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ดังตอไปนี้ 2.1 ดานการปองกัน (Prevention) 2.1.1 การใหความรูและพัฒนาศักยภาพผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ดําเนินการรวมกับ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย จ.เชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคม ่ และความมั่นคงของมนุษย จ.ตาก มูลนิธิศุภนิมิต แมสอด องคการระหวางประเทศเพือการโยกยายถิ่นฐาน ่ (IOM) ดําเนินการจัดฝกอบรมดังนี้ ก) การประชุมและการฝกอบรมระดับผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ จํานวน 4 ครั้ง o โครงการฝกอบรมลามภาษาถิ่นสําหรับผูปฏิบัติงานในการสัมภาษณขอเท็จจริงผูเสียหายจาก การคามนุษย o โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับผูปฏิบติงานสหวิชาชีพจังหวัดตากเรื่อง แนวทางและ  ั กระบวนการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย o โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสําหรับผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ 9 จังหวัดภาคเหนือเรื่อง แนวทาง และกระบวนการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย o การประชุมเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการคามนุษยจังหวัดเชียงใหม ข) จัดการประชุมและการฝกอบรมระดับชุมชน จํานวน 28 ครั้ง โดยรวมมือ กองคุมครองและดูแล ผลประโยชนคนไทยในตางประเทศ กรมการกงสุล กระทรวงการตางประเทศ บานพักเด็กและครอบครัว สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล ผูนําชุมชน กลุม พัฒนาสตรีประจําตําบล จัดทําโครงการ “เวทีชุมชนเรื่องเดินทางไปตางประเทศอยางไรใหปลอดภัยจาก การคามนุษย” จํานวน 23 ครั้ง โดยไดดําเนินการในพื้นที่ อ.จุน อ.ปง อ.ภูซาง อ.ดอกคําใต จ.พะเยา, อ.แม แตง อ.กัลยาณิวัฒนา อ.เมือง จ.เชียงใหม อ.ปางมะผา อ.ปาย จ.แมฮองสอน อ.งาว อ.แมพริก อ.เกาะคา อ.เมือง อ.หางฉัตร อ.เมืองปาน อ.สบปราบ อ.เถิน อ.เสริมงาม จ.ลําปาง, อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นาน และ “โครงการสรางความรูสูชุมชนเพื่อปองกันปญหาการคามนุษย” จํานวน 5 ครั้ง โดยไดดําเนินการในพื้นที่ อ.ปาย จ.แมฮองสอน, อ.ฝาง อ.เมือง จ.เชียงใหม, อ.แมสาย อ.แมสรวย จ.เชียงราย 9
  • 10. ค) จัดการฝกอบรมระดับเยาวชน จํานวน 6 ครั้ง o โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนไรรัฐไรสัญชาติเพื่อปองกันและเฝาระวังปญหาการคา มนุษย อ.แมสอด จ.ตาก o โครงการฝกอบรมและศึกษาดูงานพัฒนาผูนําเยาวชนเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนในโรงเรียนและ ชุมชนในพื้นที่ จ.เชียงใหม จัดทําในพื้นที่ 5 อําเภอ ประกอบดวย อ.เมือง อ.เชียงดาว อ.อมกอย อ. แมแจม อ.แมอาย 2.1.2 การสรางเครือขาย รวมมือกับบานพักเด็กและครอบครัว สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษยจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล ผูนําชุมชน กลุมพัฒนาสตรีประจําตําบล ไดมีการจัดตั้ง คณะทํางานในระดับชุมชน เพื่อชวยเหลือผูประสบปญหาความรุนแรงในครอบครัว เด็กและสตรีซึ่งถูก ทารุณกรรมและละเมิดทางเพศ และบุคคลผูตกเปนกลุมเสี่ยงของการคามนุษย โดยดําเนินการจัดตั้ง “ ศูนยสํารวจและปองกันปญหาการคามนุษยและการละเมิดสิทธิเด็กและสตรี” จํานวน 5 ศูนย ไดแก อ.เชียงของ อ.พาน อ.แมสาย จ.เชียงราย อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม อ.ปาย จ.แมฮองสอน 2.1.3 การรณรงคและประชาสัมพันธ ก) การเผยแพรผานสื่อ ดําเนินการพัฒนาและผลิตสื่อสิงพิมพ ไดแก โปสเตอร แผนพับ สติ๊กเกอร ปฏิทิน สื่อพรีเมียม ผลิตสปอตวิทยุและเผยแพรออกอากาศเพื่อใหความรูและเตือนภัยการคามนุษยในภาษาไทย และภาษาถิ่น ข) การจัดการรณรงคในพื้นที่เสี่ยงและชุมชนชายขอบตางๆ โดยจัดกิจกรรมโรดโชวและนิทรรศการ เคลื่อนที่ จํานวน 10 ครั้ง ในพื้นที่ อ.ทาสองยาง จ.ตาก, อ.เมือง จ.ระนอง, อ.เมือง จ.เชียงใหม 4 ครั้ง, อ. แมสอด จ.ตาก, อ.เมือง จ.เชียงราย 2 ครั้ง 2.2 ดานการชวยเหลือคุมครอง (Protection) ภาพรวมของการดําเนินการคุมครองและชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยในปที่ผานมา ไดรับความ รวมมือและการสนับสนุนเปนอยางดีจากหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก หนวยงานภายใตกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย ประกอบดวย สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในระดับ จังหวัด บานพักเด็กและครอบครัวประจําจังหวัด สถานคุมครองและพัฒนาอาชีพ สํานักปองกันและแกไข ปญหาการคาเด็กและหญิง (สปป.) หนวยงานภายใตกระทรวงแรงงานและเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมาย เชน ตํารวจภูธรภาค 5 กองบังคับการตํารวจภูธรประจําจังหวัด สํานักงานตรวจคนเขาเมือง กองบังคับการ 10
  • 11. ปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย (ปคม.) กรมสืบสวนคดีพิเศษ (DSI) สํานักงาน ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน สํานักงานอัยการ กองคุมครองและดูแลผลประโยชนคนไทยใน ตางประเทศ กรมการกงสุล กระทรวงการตางประเทศ รวมทั้งไดรับความชวยเหลือจากเครือขายองคกร พัฒนาเอกชน เชน มูลนิธิศูนยชีวิตใหม มูลนิธิโซเอ อินเตอรแนชั่นแนล มูลนิธิศุภนิมิต ประเทศไทย มูลนิธิ กระจกเงา มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก LPN IRC FACE UNIAP เปนตน 2.2.1 การรับแจงแหตุ สายดวน 08-7174-5797 ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2554 ไดรับแจงเหตุ ทั้งหมด 113 กรณี จําแนกประเภทไดดังนี้ o กรณีที่เขาขายเปนการคามนุษย จํานวน 50 กรณี ในจํานวนนี้แยกประเภทเปนรูปแบบการคา ประเวณี 29 กรณี รูปแบบแรงงาน 11 กรณี รูปแบบขอทาน 4 กรณี กลุมเสี่ยงคามนุษย 6 กรณี (กลุมเสี่ยงคือ กรณีคนหายซึ่งมีสภาพเหตุการณที่บงชี้วาอาจนําไปสูการคามนุษย) o กรณีการคาประเวณีทั่วไป จํานวน 3 กรณี o กรณีขอทาน จํานวน 4 กรณี o กรณีเอาเปรียบแรงงาน จํานวน 11 กรณี o กรณีละเมิดทางเพศเด็ก จํานวน 16 กรณี o กรณีทํารายรางกาย/ทารุณกรรมทั่วไป จํานวน 8 กรณี o กรณีอื่นๆ เชน ความรุนแรงในครอบครัว ติดตามบุคคลสูญหาย จํานวน 21 กรณี จากการรับแจงเหตุ ไดตรวจสอบขอเท็จจริงและประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของและรวมวางแผน ปฏิบัติการ นําไปสูการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษยและผูประสบปญหาทั้งหมด 32 กรณี ใน จํานวนนี้แยกเปน o กรณีการคามนุษย จํานวน 12 กรณี TRAFCORD ดําเนินการชวยเหลือรวมกับทีมสหวิชาชีพและ ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อเขาชวยเหลือ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.แพร จ.ตาก จ.นครปฐม จ.ชุมพร จ.สุพรรณบุรี จ.พิจิตร (กรณีจังหวัดพิจิตรเปนการชวยเหลือผูเสียหายดาน สังคมสงเคราะหและการดําเนินคดีในขณะที่ผูเสียหายรับการคุมครองที่บานพัก) o กรณีทารุณกรรมเด็ก(ละเมิดทางเพศ ทางรางกายและจิตใจ) จํานวน 10 กรณี ดําเนินการ ชวยเหลือรวมกับทีมสหวิชาชีพ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม และ จ.เชียงราย 11
  • 12. o ชวยเหลือผูประสบปญหาทั่วไป จํานวน 10 กรณี ดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและประสานงาน หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหความชวยเหลือ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม จ.เชียงราย และ จ. กาฬสินธุ 2.2.2 การเขาชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย ในที่นี้หมายถึง”ผูเสียหายจากการคามนุษย” ซึ่งผานกระบวนการคัดแยกผูเสียหายโดยพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบคดีและทีมสหวิชาชีพ โดยได จําแนกแลววาเปนบุคคลซึ่งเปนผูเสียหายตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 มีจํานวนทั้งสิ้น 38 คน แยกเปนรูปแบบการคาประเวณี 37 คน เปนรูปแบบการขอทาน 1 คน อายุ เพศ สัญชาติ ต่ํากวา 18 ป มากกวา 18 ป หญิง ชาย พมา ไทย ลาว 23 15 38 0 22 4 12 สรุป ผูเสียหายสวนมากเปนเด็กผูหญิง และสวนมากเขาเมืองโดยผิดกฎหมายและมีภูมิลําเนาอยูประเทศ พมา ลาว และไทยตามลําดับ บางสวนเปนผูถือบัตรประจําตัวบุคคลซึ่งไมมีสัญชาติไทย และบัตรผูไมมี สถานะทางทะเบียน พื้นที่ซึ่งมีการดําเนินการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย คือ จ.เชียงใหม จ. แพร จ.ตาก จ.พิจิตร จ.นครปฐม จ.สุพรรณบุรี จ.สมุทรสาคร จ.ชุมพร 2.2.3 การเยียวยาดานรางกาย จิตใจ และสังคม ใหความชวยเหลือแกผูเสียหายและครอบครัวรวมทั้ง ผูประสบปญหาทางสังคม โดยใหความชวยเหลือดานการใหคําปรึกษา ดานรางกาย ดานจิตใจ จัดหา บานพักฉุกเฉิน ติดตามครอบครัวและสงกลับภูมิลําเนา ติดตามเยี่ยมผูเสียหาย และสนับสนุนผูเสียหาย และครอบครัวดานเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพและการศึกษา ผลการดําเนินงานมีดังนี้ การดําเนินงาน จํานวนผูรับบริการ(คน) ใหคําปรึกษา 225 ใหความชวยเหลือดานสุขภาพกาย 62 ใหความชวยเหลือดานจิตใจ 37 จัดหาบานพัก สงตัวผูเสียหายเขารับการคุมครองในบานพัก 107 12
  • 13. การดําเนินงาน จํานวนผูรับบริการ(คน) ติดตามครอบครัว 36 ติดตามเยี่ยมครอบครัว 30 2.3 ดานการดําเนินคดี มีการใหความชวยเหลือดานกฎหมาย โดยเตรียมความพรอมผูเสียหายเพื่อเขาสูกระบวนการยุติธรรม เชน กอนแจงความดําเนินคดี กอนใหการในชั้นพนักงานสอบสวน กอนเบิกความในชั้นศาล การชวยใหผูเสียหาย ไดรับสิทธิตามกฎหมาย ประกอบดวยสิทธิในการไดรับคาสินไหมทดแทน คาตอบแทนผูเสียหาย สิทธิไดรับ คาตอบแทนและคาชดเชยดานแรงงาน จัดหาทนายความเพื่อชวยเหลือดานการดําเนินคดี รวมทั้งติดตาม การบังคับใชกฎหมายทั้งทางอาญาและตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน ผลการติดตามและใหความชวยเหลือทางดานกฎหมายมีดังนี้ ก) ผลและความคืบหนาการดําเนินคดี มีการแจงความดําเนินคดีกรณีการคามนุษย จํานวนทั้งหมด 10 คดี พนักงานสอบสวนไดตั้งขอหาแกผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ.2551 ประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคาประเวณี พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.2522 เวลาที่ดําเนินคดี กรณี พื้นที่เกิดเหตุ มกราคม คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.เชียงใหม กุมภาพันธ คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.เชียงใหม มีนาคม คาประเวณีเด็กหญิง อ.แมสอด จ.ตาก(ดําเนินคดีที่บก.ปคม.) เมษายน คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.เชียงใหม คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.ชุมพร (ดําเนินคดีที่ บก.ปคม.) กรกฎาคม บังคับใหขอทาน อ.เมือง จ.เชียงใหม คาประเวณีเด็กและหญิง อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี 13
  • 14. เวลาที่ดําเนินคดี กรณี พื้นที่เกิดเหตุ สิงหาคม คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.นครปฐม (ดําเนินคดีที่ บก.ปคม.) คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.สมุทรสาคร กันยายน คาประเวณีเด็กและหญิง อ.เมือง จ.แพร ข) ผลคําพิพากษาในศาลชั้นตน ไดติดตามผลการพิพากษาคดีการคามนุษยซึ่งดําเนินการตอเนื่องมา กอนป 2554 มีการตัดสินคดี จํานวน 2 คดี ดังนี้ o กรณีเด็กหญิงมีภูมิลําเนาอยู จ.เชียงใหม ถูกลอลวงไปคาประเวณีที่ประเทศมาเลเซีย ดําเนิน คดีอาญาในป 2552 ผล ศาลอาญาพิพากษายกฟองคดี o กรณีเด็กชาย 6 คน ถูกจัดหาและบังคับคาประเวณี อ.เมือง จ.เชียงใหม ดําเนินคดีอาญาในป พ.ศ. 2553 ผล ศาลจังหวัดเชียงใหมพิพากษาจําคุกจําเลยที่ 1 จํานวน 41 ป ใหชดใชคาสินไหมทดแทน 100,000 บาทใหผูเสียหาย 3 คน จําคุกจําเลยที่ 2 จํานวน 24 ป จําเลยที่ 3 เสียชีวิต ศาลสั่ง จําหนายคดี 2.4 ดานการสงกลับและคืนสูสังคม ดําเนินการประสานงานและรวมมือกับหนวยงานเครือขาย ประกอบ กอบดวย สถานคุมครองและพัฒนาอาชีพ บานพักเด็กและครอบครัว สํานักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย หนวยพัฒนาสังคมในพื้นที่ และองคกรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ตนทางและปลายทาง สงกลับ ผูเสียหายจากการคามนุษยทั้งหมด จํานวน 12 คน และผูประสบปญหาทางสังคมอื่นๆ จํานวน 32 คน รวมเปน 44 คน 3. ความรุนแรงและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผูเสียหายจากการคามนุษย หนวยงานที่ดําเนินการหลักในการดูแลผูเสียหายคือบานพักเด็กและครอบครัวประจําจังหวัด และสถาน คุมครองและพัฒนาอาชีพ ผูเสียหายสวนมากเปนเด็กและผูหญิง จากการติดตามพบวาผูเสียหายไดรับ ผลกระทบจากการถูกกระทําดังนี้ o ผูเสียหายจากธุรกิจทางเพศไดรับความทุกขทรมานทางรางกาย เด็กและผูหญิงบางคนเปน โรคติดตอทางเพศสัมพันธจากการที่ตองทํางานขายบริการทางเพศ เชน โรคซิฟลิส เด็กหญิงบาง คนเปนโรคหูดหงอนไกซึ่งเกิดจากการรับแขกจํานวนมากและตองทํางานหนักไมสามารถปฏิเสธ 14
  • 15. ลูกคาที่มาซื้อบริการได เนื่องจากยังเปนเด็กจึงเปนทีตองการของลูกคา ภายหลังจากไดรับการ ่ ชวยเหลือผูเสียหายตองเขารับการรักษาที่โรงพยาบาล รวมถึงผูหญิงบางคนซึ่งตั้งครรภในขณะที่ กําลังจะทํางาน นับเปนความเสี่ยงและเปนอันตรายดานสุขภาพ o ผูเสียหายที่เปนเด็กถูกพามาคาประเวณีตั้งแตอายุเพียง 13 ป การตองขายบริการทางเพศเปน ระยะเวลาตอเนื่องทําใหเด็กขาดโอกาสในการพัฒนา มีผลตอพัฒนาการทางรางกายและจิตใจ จากผลการประเมินพบวาผูเสียหายมีระดับสติปญญาทึบ มีปญหาบุคลิกภาพ ขาดทักษะในการ ดํารงชีวิต อานและเขียนหนังสือไดนอยมากและขาดความรูสึกมั่นใจในตนเอง o ผูเสียหายมีความรูสึกไมมั่นคงและหวาดกลัวอิทธิพลจากฝายผูกระทําความผิด สวนมากผูเสียหาย เขามาคาประเวณีดวยความสมัครใจโดยที่ครอบครัวไมทราบ ผูเสียหายมีความวิตกกังวลกลัววา ครอบครัวจะรูวาตนเองมาคาประเวณี ผูเสียหายจึงรูสึกกดดันและเปนทุกขจากเหตุการณที่เกิดขึ้น ภายใตสภาวะที่ครอบครัวมีความคาดหวังวาจะตองสงเงินกลับบานอยางตอเนื่อง ประกอบกับใน บางกรณีผูเสียหายไมไดรับขอมูลที่เพียงพอและไมเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการดําเนินคดีและ ขั้นตอนการชวยเหลือของเจาหนาที่ จึงทําใหผูเสียหายสวนใหญมีความกังวลและไมตองการ รวมมือในกระบวนการดําเนินคดีและการชวยเหลือ 4.สรุปแนวโนมและสถานการณปญหา พื้นที่ภาคเหนือตอนบนยังคงมีความรุนแรงของสถานการณปญหาการคามนุษยอยางตอเนื่องเนื่องจาก สภาพสังคม วัฒนธรรม การเมืองและความแตกตางทางเศรษฐกิจที่เปนปจจัยเอื้อ วิธีการและรูปแบบมี การซอนเรน มีการนําเด็กและผูหญิงเขาสูธุรกิจทางเพศมากขึ้น สวนมากไมปรากฎสภาพการบังคับกักขัง หรือทํารายรางกาย แตมีการขมขูและคุกคามเสรีภาพของผูเสียหาย และหนวงเหนี่ยวดวยหนี้สิน ถูก นายหนานําพาเปนเครื่องมือทําใหตกอยูในสภาวะจํายอมและไมกลารองขอความชวยเหลือ ปจจัยที่เปน สาเหตุผลักดันใหผูเสียหายเขาสูกระบวนการคือความตองการมีรายได ความยากจน ภาวะการเปนหนี้สิน มีปญหาในครอบครัวและความไมรูเทาทัน ทําใหเขาสูกระบวนการคามนุษย ถูกแสวงประโยชนและถูกเอา รัดเอาเปรียบในที่สุด กลุมเสี่ยงของการคามนุษยรวมถึงผูมฐานะทางเศรษฐกิจระดับปานกลาง แตพา ี ตัวเองเขาสูวงจรความเสี่ยง เนื่องจากตองการมีรายไดเพิ่มมากขึ้นหรือตองการไปทํางานตางประเทศ มี เด็กไทยที่เขาสูกระบวนการคาประเวณีเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง มีชวงอายุระหวาง 13 – 18 ป การคา มนุษยที่มีเด็กไทยเปนผูเสียหาย ไดรับความสนใจจากหนวยงานที่เกี่ยวของนอยกวาเด็กตางชาติ เนื่องจาก สังคมมองวาเด็กสมัครใจเขาสูกระบวนการคาประเวณี ประเด็นนี้ถูกละเลยจากองคกรที่มีหนาที่เกี่ยวของ 15
  • 16. ซึ่งสิ่งที่นาเปนหวงคือหากไมมีการแกไขปญหาหรือดึงเด็กออกจากวงจรเด็กกลุมนี้เด็กอาจพัฒนาเปนผูเปน ธุระจัดหาและกระทําความผิดเสียเองดังที่เคยปรากฎมาแลว 5. ความทาทายและขอเสนอแนะ ภาพรวมของการชวยเหลือและการดําเนินคดีที่ผานมา มีจุดออนและขอจํากัดบางประการซึ่งเปนผลมาจาก การลงมือปฏิบัติงาน สงผลทําใหยังไมสามารถบรรลุเปาหมายเทาที่ควร ไดแก 1. การคัดแยกผูเสียหาย ผูปฏิบัติงานบางสวนยังขาดทักษะในการสัมภาษณเพื่อใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงที่ สอดคลองกับองคประกอบการคามนุษย ในขณะที่ผูเสียหายไมตระหนักวาตัวเองเปนผูเสียหายหรือถูก กระทํา การมีทัศนคติดานลบตอพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกสัมภาษณทําใหเจาหนาทีไมไดรับความไววางใจ ่ และไมไดรับความรวมมือ บางครั้งขาดความตระหนักถึงความละเอียดออนตอสภาพการณของคดีการคา มนุษยและขาดการบริหารจัดการทีมที่มีประสิทธิภาพ ทําใหกลุมเปาหมายมีความกังวลเกี่ยวกับผูกระทํา ความผิดและไมไววางใจเจาหนาที่ จึงไมใหความรวมมือเทาที่ควร การคัดแยกผูเสียหายที่ผานมาจึงยังไม สามารถเขาถึงขอเท็จจริงเพื่อใชประกอบการดําเนินการชวยเหลือและการดําเนินคดีไดอยางมี ประสิทธิภาพ 2. การดําเนินการตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ.2551 2.1 การสืบพยานไวกอนลวงหนา ในกรณีผูเสียหายเปนชาวตางชาติ บางกรณียังมีความลาชา ผูเสียหาย ตองอยูในสถานคุมครองเปนเวลาหลายเดือน ซึ่งบางครั้งเกิดจากมุมมองในการดําเนินคดีและแนวปฏิบัติที่ แตกตางกันของพนักงานอัยการและผูปฏิบัติงานสหวิชาชีพ จึงเปนความทาทายที่ตองพิจารณาระหวาง ประเด็นเรื่องแนวทางการสัมฤทธิ์ผลทางคดี กับระยะเวลาที่ผูเสียหายตองรอกระบวนการในประเทศไทย ขอเสนอแนะ : ควรมีการจัดทํากรอบระยะเวลาการดําเนินการแตละขั้นตอน เชนกรอบเวลาการยื่นขอ สืบพยานไวกอนลวงหนา เนนการประชุมทีมสหวิชาชีพและการติดตามผลการดําเนินงานแตละขั้นตอน เสนอใหมีการจัดตั้งคณะทํางานกลางในระดับภาคหรือระดับประเทศ ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญและมี ประสบการณดานกฎหมายจากภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อใหคําแนะนํา หรือชี้แนะแกผูปฏิบัติงานเมื่อเกิด ปญหาหรือมีความเห็นที่ไมตรงกันเกี่ยวกับการตีความกฎหมายหรือการแกไขปญหาบางอยางที่เกิดจาก การทํางานเพื่อเปนการสนับสนุนการทํางานในระดับพื้นที่ 2.2 การเรียกคาสินไหมทดแทน ที่ผานมากระทรวงการพัฒนาสังคมฯไดมีการออกอนุบัญญัติใหทีมสห วิชาชีพในพื้นที่รวมกันประเมินความเสียหายทางแพงเพื่อดําเนินการเรียกคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหาย 16
  • 17. ซึ่งยังมีขอติดขัดในทางปฏิบัติ เนื่องจากการทํางานของทีมสหวิชาชีพยังขาดแนวทางสําหรับการกําหนด คาเสียหาย สงผลใหการดําเนินการลาชาและการดําเนินคดีใชเวลานาน ขอเสนอแนะ : กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ควรรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของกําหนดเกณฑการคิด คํานวณคาสินไหมทดแทนจากการถูกกระทําละเมิดแกผูเสียหายในรูปแบบตางๆ และกรอบระยะเวลาการ ดําเนินการ เพื่อเปนแนวทางแกทีมสหวิชาชีพในการกําหนดคาเสียหายใหแกผูเสียหาย ทั้งนี้พนักงานอัยการ สามารถนําเกณฑดังกลาวเสนอแกศาลประกอบคําขอในสวนแพงจะทําใหผูปฏิบัติงานในพื้นที่มีความ ชัดเจนจะสามารถดําเนินการไดรวดเร็วมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. แมวาจะมีความพยายามในการสืบสวนและดําเนินคดีกับสถานคาประเวณีหรือสถานบริการแอบแฝง การคาประเวณีแลวแตมักพบวาสวนใหญสถานที่ดังกลาวจะกลับมาเปดกิจการเหมือนเดิมภายในเวลาไม นาน ยังคงจัดใหมีการคาประเวณีโดยไมเกรงกลัวกฎหมาย ผูตองหาและเจาของกิจการบางคนไดรับการ ประกันตัวในชั้นพนักงานสอบสวนหรือชั้นศาลแลวกลับไปกระทําความผิดเหมือนเดิม ซึ่งทําใหเห็นวาการ จับกุมและดําเนินคดีอาญากับผูกระทําความผิดเพียงอยางเดียวอาจไมไดผลเนื่องจากตองรอการพิสูจนใน ชั้นศาลซึ่งตองใชระยะเวลานาน กระบวนการเหลานี้มักเกิดขึ้นซ้ําๆ ทําใหการคามนุษยยังคงอยูและไมมีการ จัดการกับตนตอของปญหาอยางแทจริง ขอเสนอ : ขอใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการคามนุษย พิจารณาทบทวนในประเด็นดังกลาว โดยเฉพาะเรื่องการสั่งปดสถานประกอบการหรือสถานบริการทีมีการกระทําความผิดการคามนุษยและ ่ กําหนดมาตรการดานการปองกันและปราบปรามใหมีการบังคับใชและดําเนินการอยางเขมงวดเพื่อให สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรและสามารถยุติขบวนการคามนุษยไดอยางจริงจังและทําใหการปองกันและ การปราบปรามมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4. แนวทางปฏิบัติดานการคุมครองผูเสียหายจากการคามนุษยคือการทํางานเปนทีม ซึ่งที่ผานมาภาคสวน ที่เกี่ยวของมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรอยางตอเนื่อง แตปญหาที่พบคือบุคลากรที่ผานการฝกอบรม ไมสามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานได สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากโครงสรางการทํางานภายใน หนวยงานที่ไมเอื้อใหบุคลากรทําหนาที่ เพราะหนวยงานมีภารกิจที่ใหบุคลากรทําภารกิจอื่นๆ ในขณะที่การ ทํางานเปนทีมตองอาศัยความรวมมือและทุมเท รัฐบาลควรควรทบทวนถึงการจัดวางกําลังคนให สอดคลองกับภารกิจ 17
  • 18. 5. รัฐบาลควรตรวจสอบและติดตามการทํางานขององคกรพัฒนาเอกชนรวมทั้งเสริมสรางศักยภาพองคกร เอกชนเพื่อใหสามารถเขามาเปนกําลังเสริม สนับสนุนและอุดชองวางในการทํางาน เชน บานพักฉุกเฉิน หรือบานพักสําหรับการฟนฟูเยียวยา เนื่องจากผูเสียหายบางคนมีความจําเปนตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ไมสามารถดูแลรวมในบานพักหรือสถานดูของรัฐบาลได รวมทั้งควรมีการตรวจสอบและติดตามการ ทํางานขององคกรพัฒนาเอกชนอยางสม่ําเสมอโดยเฉพาะในสวนของบานพักหรือสถานดูแลเด็กกลุมเสี่ยง ของการคามนุษยและเด็กดอยโอกาสเพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกันและมีหลักประกันวาเด็กจะไดรับการ ดูแลดีไมเสี่ยงตอการถูกละเมิดสิทธิ หนวยงานภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนควรมีการ บูรณาการการ ทํางานรวมกันใหมากขึ้น สรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานรวมกันรวมทั้งปรับทิศทางการทํางานให สอดคลองและมีความเปนเอกภาพมากยิ่งขึ้น 6.ประเทศไทยซึ่งเปนศูนยกลางทางดานเศรษฐกิจโดยเฉพาะในภูมิภาคลุมน้ําโขง และทางภาคเหนือมี พรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบาน จึงเปนตนทางและทางผานของการคามนุษยซึ่งมีแนวโนมเกิดขึ้นอยาง ตอเนื่อง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงเขาสูอาเซียนในป พ.ศ.2558 จะมีการสรางความรวมมือทางการคาและ เศรษฐกิจโดยเฉพาะตามแนวชายแดนของไทย อาจนํามาซึ่งความตองการแรงงานมากขึ้น คาดหมายไดวา การลักลอบคามนุษยอาจเติบโตเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งปญหานี้จะกระทบตอการเมืองและความมั่นคง รวมทั้งเปนประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน จึงเปนความทาทายวารัฐบาลและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของจะมี มาตรการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงดังกลาวอยางไร เพื่อตอบโตกับขบวนการคามนุษยที่นับวันทวีความ รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ 18