SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
IEEE Project 802.11 กับมาตรฐานแหงเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
สุรพล ศรีบุญทรง
บทความป 1997
ปจจุบัน ตลาดของผลิตภัณฑในกลุมการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย (Wireless LANs) นับไดวา
เปนวงการที่มีความรอนแรงในการแขงขันเปนอยางมากวงการหนึ่ง เพราะเปนรูปแบบการสื่อสารชนิดใหมที่อนุญาตให
ผูใชคอมพิวเตอรสามารถติดตอกลับไปยังแหลงขอมูลของตนไดจากทุกแหงหนที่ตนเดินทางไปถึง ในทุกเวลา และเมื่อ
รวมเขากับอาการบูมสุดขีดของอุปกรณการสื่อสารมือถือถึงหลาย* ก็สงเลยพลอยสงผลใหตลาดการสื่อสารไรสาย
กลายเปนตลาดที่ฮ็อตที่สุดไปโดยปริยาย
(ซึ่งในเรื่องการบูมของอุปกรณการสื่อสารไรสายนี้จะดู
วาบูมขนาดไหนก็สังเกตุไดงายๆ จากอาการเหอโทรศัพทมือถือของ
พลเมืองในประเทศที่ยังไมมีการพัฒนาทั้งหลาย ที่มักจะเหอกันมากถึง
ขนาดที่วาเวลาจะไปดูคอนเสิรต, ภาพยนต, หรืองานแสดงตางๆ ที่ผูชม
สวนใหญตองการความบันเทิงจากงานแสดงอยางเต็มที่ และไมตองการใหมีการรบกวนจากผูชมขางเคียง ก็ยังทะลึ่งมี
เศรษฐีใหมพกพาเอาโทรศัพทมือถือเขาไปพูดคุยดวยความไมเกรงใจใคร)
การที่ตลาดการสื่อสารไรสายมีสภาพรอนแรงสุดขีตดังที่กลาวมานี้ สงผลใหใครๆ ตางก็อยากจะโดดเขา
รวมในสมรภูมิสงครามการตลาดนี้ ทุกคนอยากที่จะมีสวนแบงในเคกชิ้นโตนี้ดวยกันทั้งสิ้น ไมวาจะเปนเหลาบริษัทผูผลิต
ผลิตภัณฑดานฮารดแวร (Hardware manufacturer), บริษัทซอฟทแวร (software developers), ผูพัฒนาระบบการ
สื่อสาร (system integrators), หรือตัวเหลาผูผลิตคอมพิวเตอรทั้งหลาย (Computer manufacturers) ฯลฯ
ทีนี้ เมื่อมีคนโดดเขารวมวงไพบูลยในตลาดการสื่อสารไรสายนี้มากๆ เขา ปญหาอยางหนึ่งก็ติดตามมา
นั่นคือ เรื่องความสามารถในการทํางานรวมกันระหวางผลิตภัณฑที่อยูอยางหลากหลายเหลานั้น (Interoperability)
เพราะเมื่อเริ่มแรกเขามา ตางคนก็ตางวาเทคโนโลยีของตนแนแลว จึงตางก็ไมคอยยอมลงใหกับใคร พอมีอยางนี้มากๆ
เขา ผลรายก็ตกอยูกับผูบริโภค เพราะหากซื้อผลิตภัณฑจากบริษัทหนึ่งมาแลว ไมสามารถทํางานรวมกับระบบการ
สื่อสารอื่นๆ ที่ตนตองการได อุปกรณราคาแพงๆ เหลานั้นก็คงมีคาไมตางไปจากไมตีพริกสักเทาใดนัก (เผลอๆ ไมตีพริก
ยังจะมีคามากกวาดวยซ้ํา เพราะสามารถพกพาเข็นรถเข็นขายสมตําได)
ฉนั้น จึงตกเปนหนาที่ของตํารวจโลก เอยไมใช! คณะกรรมการมาตรฐานการสื่อสารสําหรับ
เครือขายเน็ตเวิรก the Wireless Local-Area Networks Standards Working Group ในสังกัดสถาบัน IEEE
(Institute of Electrical and Electronics Engineers) ตองทําตัวเปนทาวมาลีวราชกําหนดมาตรฐานที่เปนกลางขึ้นมา
สําหรับการสื่อสารแบบไรสาย โดยมาตรฐานที่ไดรับการกําหนดขึ้นมานี้มีชื่อวา IEEE Project 802.11 และไดเริ่ม
ดําเนินการมาตั้งแตป ค.ศ. 1990 เปนตนมา
2
จนเมื่อเร็วๆ ทางคณะกรรมการ Project IEEE 802.11 ก็ไดขอสรุปเปนเอกฉันทที่จะตกลงใชมาตรการ
การสื่อสาร DFWMAC (distributed foundation
wireless media access control) จาก AT&T Global
Information/NCR Microelectronic Products
Division's Wireles Communication and
Networking Division, Symbol Technologies, และ
Xircom เปนโปรโตคอลพื้นฐานสําหรับที่จะพัฒนา
ตอไปเปนมาตรฐานสําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
(Wireless LANs standard) ในอนาคต
ความตองการพื้นฐานของมาตรฐาน IEEE Project 802.11
อุปสรรคขั้นตนที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ตองเผชิญในการกําหนดมาตรฐานกลางสําหรับ
เครือขายเน็ตเวิรกไรสายก็คือ การที่ตองระบุออกมาวาโปรแกรมประยุกต และสภาพเอนวิรอนเมนทใดจึงจะเปน
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมที่สุดสําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย (suitable applications & environments) ซึ่งทาง
คณะกรรมการก็ไดทําการวิเคราะหหาสภาพแวดลอมตางๆ ที่คิดวาเหมาะสําหรับการสื่อสารภายในเครือขายเน็ตเวิรกไร
สาย และระบุเปนขีดความตองการพื้นฐาน (functional requirements) ออกมาในเดือนมีนาคมสองปที่แลว (ค.ศ.
1992)
ขีดความตองการพื้นฐานที่ไดรับการระบุโดยคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 นั้น ก็ไดแกขีดขั้น
ระดับแบนดวิดทต่ําสุดที่เครือขายเน็ตเวิรกไรสายตองใช (minimum functional bandwidth) โดยจะตองมีขนาดไมนอย
กวา 1 Mbps เพราะเปนขีดขั้นที่จําเปนสําหรับการทํางานพื้นฐานทั่วๆ ไป ไมวาจะเปนการสงผานไฟลลขอมูล (file
transfer), การโหลดโปรแกรม (program loading), การทํา transaction processing, งานดานมัลติมีเดีย, และงาน
ควบคุมกระบวนทางดานอุตสาหกรรม (manufacturing process control) ฯลฯ
สวนโปรแกรมประยุกตประเภทที่เกี่ยวของกับสัญญาณเสียงระบบดิจิตัล (digital voice) หรือการ
ควบคุมกระบวนการ (process control) ซึ่งจําเปนตองมีการสงผานขอมูลไปมาอยางทันทีทันควัน (real-time data
transmission) นั้น ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ระบุใหใชเครือขายบริการแบบ time-bounded
services ซึ่งจํากัดจํานวน packet delay variance ไว, รวมทั้งยังไดมีการระบุถึงระดับการทํางานที่ยังคงความเชื่อถือได
(reliable operation environments) ของการสงผานขอมูลประเภทตางๆ อยางกวางๆ
เชน คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 จะมีการระบุวา ถาเปนขอมูลดานการเงินการธนาคาร
(finacial) จะตองการสภาพแวดลอมเพื่อการสื่อสารอยางหนึ่ง, หากเปนขอมูลประเภทคาปลีก (retail), หรือขอมูลใน
สํานักงาน (office) ก็ตองใชสภาพแวดลอมอีกอยางหนึ่ง, และถาเปนขอมูลภายในสถานศึกษา (school) หรืองาน
อุตสาหกรรม (idustrial) ก็ตองใชสภาพแวดลอมในการสงผานขอมูลอีกแบบหนึ่ง ฯลฯ นอกจากนั้น ยังมีการระบุลึกลง
ไปในรายละเอียดดวยวาการสื่อสารดวยเครื่องคอมพิวเตอรพกพา (mobile computing) นั้น ควรจะรองรับการเคลื่อนไป
3
มาดวยความเร็วขนาดคนเดินได และถาเปนการใชในงานอุตสาหกรรมก็ควรจะรองรับการเคลื่อนที่ดวยยานพาหนะไดอีก
ตางหาก
โครงสรางทางสถาปตยการสื่อสาร 802.11
เพื่อกําหนดรูปแบบความตองการพื้นฐานสําหรับการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายใหอยูใน
รูปแบบที่สามารถเขาใจได
โดยงาย ทางคณะกรรมการ
IEEE Project 802.11 จึงได
จัดสรางแบบโครงสรางพื้นฐาน
สําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไร
สาย (Wireless LANs basic
architecture) ขึ้นมา โดย
จัดแบงระบบเครือขายเน็ตเวิรก
ไรสายออกเปนสองชนิด
เครือขายเน็ต
เวิรกไรสายชนิดแรกเปนเน็ต
เวิรกแบบ Infrastructure-based networks ซึ่งอนุญาตใหผูติดตอสื่อสารกับเน็ตเวิรกสามารถเคลื่อนยายตัวเองไปมาใน
สวนตางๆ ของสํานักงานได (เชนจาก แผนกสโตรไปหนวยแพทยไปหนวยผลิต ฯลฯ) โดยที่ยังคงสภาพการเชื่อมโยง
สัญญาณไวกับศูนยการควบคุมขอมูลสวนกลางไดอยูตลอดเวลา สวนใหญของเครือขายเน็ตเวิรกไรสายประเภทนีจะ
มีเน็ตเวิรกประเภทมีสายเปนตัวรองรับโครงสรางพื้นฐานของมัน สวนเครือขายเน็ตเวิรกไรสายประเภทที่สองเปน ad-
hoc networks ซึ่งสามารถจัดตั้งขึ้นชั่วขณะเพื่องานใดงานหนึ่งไดโดยกลุมผูใชคอมพิวเตอรไมจํากัดจํานวน เชนผูที่เขา
รวมประชุมกันอาจจะจัดตั้ง ad-hoc networks ขึ้นมาในชั่วขณะที่มีการประชุมเพื่อการสื่อสารขอมูลในชวงเวลานั้นๆ
อยางไรก็ตาม ถึงแมวาเราจะจําแนกเครือขายเน็ตเวิรกไรสายออกเปนสองชนิด แตโครงสรางพื้นฐาน
802.11 architecture ก็อนุญาตใหมีการใชงานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายสองประเภทนี้ซอนทับกันไดโดยอาศัยโปรโตคอล
การสื่อสารชนิดเดียวกัน (overlap by same basic access protocol) อีกทั้งยังอนุญาตใหเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
มากกวาหนึ่งเน็ตเวิรกใชชองทางนําสัญญาณเดียวกันไดอีกดวย (multiple networks in one channel) จึงเปนการ
รับประกันวาจะสามารถใชงานทรัพยากรคลื่นนําสัญญาณไดอยางมีประสิทธิผลมากที่สุด
นอกจากนั้น ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ยังไดมีการจําแนกแจกแจงรายละเอียดลงไปใน
องคประกอบตางๆ ภายในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายอีกดวย มีการระบุใหแตละพื้นที่หนึ่งหนวย (single cell) ของแตละ
เครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ infrastructure-based network มีชื่อเรียกวา "พื้นที่บริการหนวยพื้นฐาน (BSA, Basic
Service Area)" โดยพื้นที่ครอบคลุมของหนวย BSA นี้จะมีขนาดแตกตางกันไปขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมที่สงผาน
สัญญาณ และกําลังแรงของอุปกรณสงผานสัญญาณไรสาย (wireless transciever)
4
ในแตละหนึ่งพื้นที่ BSA นั้น สามารถจะติดตั้งไวดวยสถานีชุมสายสัญญาณแบบไรสาย (wireless
station) ไวไดหลายชุมสาย เมื่อประกอบหนวยพื้นที่ BSA หลายๆ หนวยเขาดวยกัน มันก็จึงสามารถครอบคลุมพื้นที่ได
อยางกวางขวางไมจํากัด โดยอาศัยการเชื่อมโยงเขากับตําแหนง APs (Access Points) และระบบ distribution system
(ซึ่งมักจะเปนเครือขายเน็ตเวิรกแบบมีสาย) และดวยการเชื่อมโยงกันระหวางหลายๆ หนวยพื้นที่ BSA ดังกลาวก็ทําให
เกิดเปนพื้นที่การสื่อสารขนาดใหญซึ่งมีชื่อเรียกวา ESA (Extended Service Area)
สําหรับกลุมของสถานีชุมสายที่เชื่อมโยงเขากับตําแหนง AP เดียวกันนั้น ก็จะไดรับการเรียกขานไปใน
อีกชื่อหนึ่งเปน "กลุมบริการ BSS" (Bussiness Service Set) และกลุมของสถานีชุมสายของกลุมบริการ BSS หลายๆ
กลุมซึ่งเชื่อมโยงเขาดวยกันผานระบบการสื่อสาร distribution system ก็จะฟอรมตัวเปนกลุมบริการที่มีขนาดขยายใหญ
ออกไป ชื่อวา ESS, Extended Service Set (รูปลักษณการเชื่อมโยงสัญญาณของกลุมบริการ BSS นี้อาจจะเขาใจไดดี
ขึ้นหากทานผูอานจะดูจากแผนผังในรูปที่ 1 ซึ่งแสดงโครงสรางอยางคราวๆ ของโครงสรางทางสถาปตยของเครือขายเน็ต
เวิรกไรสาย)
รูปที่ 1 โครงสรางทางสถาปตยของ
เครือขายเน็ตเวิรกไรสายอยางคราวๆ แสดง
ใหเห็นวากลุมบริการ BSS สองกลุมถูกเชื่อมโยง
เขาไวดวยกันผานทางระบบการสื่อสาร
Distribution system เดียวกัน (ระบบการ
สื่อสาร distribution system นี้ไมเพียงแตจะ
เชื่อมโยงระหวาง BSS ภายในพื้นที่เดียวกัน
เทานั้น ยังทําหนาที่เปนเกตเวยติดตอออกไป
ยังเครือขายเน็ตเวิรกที่อยูหางออกไปอีกดวย)
นอกจากนี้ ในภาพยังแสดงใหเห็นการซอนทับ
กัน (coexist) และการทํางานรวมกัน
(interoperate) รวมกันระหวางเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ ad-hoc network กับเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ
Infrastructure network
แบบจําลองอางอิงของมาตรฐาน IEEE Project 802.11
คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ใชแบบจําลองอางอิง (reference model) ซึ่งแบงโปรโตคอล
การสื่อสารไรสายออกเปนสองกลุมใหญๆ กลุมของโปรโตคอลสื่อสารกลุมแรกเปนขอกําหนดกลางสําหรับเหลา
เครือขายเน็ตเวิรกไรสายทั้งหมด "common MAC (media access control) specificaton"เปนโปรโตคอลสื่อสารที่ไม
ขึ้นตอชนิดของสื่อพาหะตัวกลางที่ใช (medium-independent MAC) และหนึ่งโปรโตคอลสื่อสาร MAC ก็จะจัดกําหนด
หนึ่งรูปแบบของการอินเทอรเฟซระหวางเน็ตเวิรกมีสายกับเน็ตเวิรกไรสาย
5
สวนกลุมของโปรโตคอลสื่อสารประเภทที่สองก็คือ "PHY (Physical) specification" อันเปนโปรโตคอล
สื่อสารที่ขึ้นกับชนิดของสื่อพาหะตัวกลางที่ใช (medium-dependent protocol) ซึ่งสําหรับการสื่อสารประเภทไรสาย
สื่อพาหะที่ใชเปนตัวกลางในการสงผานสัญญาณขอมูลก็จะถูกกําหนดจําแนกออกเปนหลายๆ ชวงความถี่ตามความ
เหมาะสมของตัวคลื่นสัญญาณเอง ดังนั้น ตัวโปรโตคอลสื่อสาร PHY specifications จึงตองมีความหลากหลายไปตาม
ชวงความถี่สัญญาณที่มาตรฐาน IEEE Project 802.11 รองรับดวย เชน คลื่นตัวกลางแบนดวิท 915 MHz, 2.4 GHz,
5.2 GHz และ infrared ก็ตางจะมีรูปแบบโปรโตคอลสื่อสาร PHY specification ที่แตกตางกันออกไป (ดังแสดงในรูปที่
2)
รูปที่ 2 แสดงโปรโตคอลสื่อสารไรสาย PHY specifications ซึ่งจะสังเกตุไดวามีความแตกตางกันออกไปตามชวง
แบนดวิดทของคลื่นพาหะตัวนํา อีกทั้งยังมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่ของโลกอีกดวย
การกําหนดรูปลักษณของแบบจําลองอางอิงของคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 สงผลใหเกิดเปน
ลิสตรายการขอกําหนด (criteria lists) ซึ่งขอเสอโปรโตคอลสื่อสาร MAC proposal ทั้งหลายตองใชเพื่อจะไดรองรับ
โปรโตคอลสื่อสาร PHY specification สําคัญๆ ไดอยางครบถวน และเนื่องจากรูปแบบการสื่อสารของบริษัท NCR,
Symbol Technologies, และ Xircom ตางก็เปนไปในระดับ PHY layer ที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นขอเสนอ
โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC proposal จึงตองประกอบไปดวยเทคโนโลยีโปรโตคอลสื่อสาร PHY ในหลายๆ ระดับ
นอกจากนั้น ยังตองมีขอกําหนดพิเศษ (important criteria) ที่ครอบคลุมไปถึงการบริหาร Power management และ
การบริการ time-bounded services ดวย
การควบคุมการสื่อสารใน
เครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
โปรโตคอล
สื่อสารระดับลางสุดของ
DFWMAC คือ การทํางาน
DCF (Distributed
Coordination Function)
ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารแบบ
asynchronous
communication ระหวางสถานีชุมสาย โดยการทํางาน DCF นี้จะมีการเขาถึงตัวกลาง basic medium access ที่
อนุญาตใหมีการแชรตัวกลางรวมกันไดอยางอัตโนมัติระหวางระบบการสื่อสาร ไมวาจะระบบการสื่อสารที่วานั้นจะเปน
ระบบประเภทเดียวกัน หรือตางกัน และถาจะเกิดมีสถานีชุมสายมากกวาหนึ่งสถานีเกิดจะสงผานสัญญาณขอมูลพรอม
6
กันขึ้นมา โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ก็สามารถแกไขและหลีกเลี่ยงไดโดยเทคนิคที่เรียกวา CSMA/CA (carrier-sense
multiple access/collision avoidance) ซึ่งเทคนิคเปนที่รูจักกันดีในหมูผูใชเน็ตเวิรกอยูแลว
เทคนิคการทํางาน CSMA ของโปรโตคอลสื่อสารไรสาย DFWMAC นั้นมีลักษณะไมตางไปจากที่ใชกันใน
เครือขายเน็ตเวิรก Ethernet โดยการทํางาน CSMA ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จะตรวจสอบดูวามีพลังงาน
จากคลื่นสัญญาณ (signal energy) ในชวงแบนดวิดทใดสูงหรือต่ําไไปกวาขีดระดับการใชงาน (certain treshold) หรือ
เปลา และถามีชวงแบนดวิดทใดมีขนาดความแรงของคลื่นสัญญาณต่ํากวาขีดระดับการใชงานก็แสดงวาชองทางนั้นวางอยู
สามารถสงผานขอมูลออกไปในรูปคลื่นวิทยุความถี่ดังกลาวไดเลย (ขอมูลถูกสงออกไปเปนกลุมๆ เรียกวา frame)
แตถาคลื่นสัญญาณถูกตรวจพบวามีขนาดความแรงมากกวาขีดระดับการทํางาน เสนทางการสื่อสาร
ในชวงความถี่คลื่นดังกลาวก็จะถูกระบุเปนชองทางที่ไมวาง (busy) และแสดงวามีการเขามาใชเสนทางดังกลาวจากสถานี
ชุมสายมากกวาหนึ่งสถานี (multiple access) การทํางาน CSMA ก็จะกําหนดใหอุปกรณสงผานสัญญาณขอมูล
(transmitter) ของตน หยุดการสงผานสัญญาณขอมูลไปสักชั่วขณะหนึ่ง กอนที่จะเริ่มการสงใหมอีกครั้งหลังจากนั้นเมื่อ
ชองทางวาง
จังหวะที่แตละอุปกรณทรานสมิตเตอรหยุดการสงสัญญาณขอมูลไปชั่วขณะเพื่อรอใหชองทางนํา
สัญญาณวางนี้เรียกวา "Backoff" ในขณะที่จังหวะชวงวางเวลาระหวางการเขาถึงของแตละสถานีชุมสายที่จะเขาถึง
เสนทางนําสัญญาณกลางมีชื่อเรียกวา "Time gap" โดยชวงเวลา Time gap นี้จะแปรผันไปตามชวงเวลา backoff ซึ่งมี
ลักษณะสุมไมแนนอนตายตัว (random legths) เพื่อลดโอกาสในการชนกันระหวางคลื่นสัญญาณขอมูลที่มาจากตาง
สถานี และเพื่อใหเปนการยุติธรรมสําหรับผูใชบริการการสื่อสารแตละราย
เทคนิคการตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/CA ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC
และการตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/Cd ของเน็ตเวิรก Ethernet ตางก็มีวิธีตรวจสอบวามีใครกําลัง
ใชเสนทางอยูหรือไม? ในลักษณะเดียวกัน และเมื่อตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณวางอยู ทั้งสองเทคนิคก็จะจัดสง
ขอมูลในรูป Frame ออกไปทันที อยางไรก็ตาม ในกรณีที่ตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง เทคนิค
CSMA/CD และเทคนิค CSMA/CA จะมีการตอบสนองตอปญหาดังกลาวแตกตางกันออกไปเล็กนอย
CSMA/CD & CSMA/CA แตกตางในความคลายคลึง
ในเน็ตเวิรก Ethernetนั้น เมื่อกลไก
CSMA/CD ตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง
มันก็จะชลอการเขาถึงเสนทางการนําสัญญาณของมัน
ออกไปจนกวา เฟรมของขอมูลที่กําลังสงผานไปตาม
เสนทางนําสัญญาณ พรอมดวยชวงวางระหวางเฟรม IFS,
interframe space หรือชวงเวลาเงียบ silence peroid
ไดผานไปจนหมด (end of current frame + IFS or +
silence peroid) มันจึงเริ่มสงเฟรมสัญญาณขอมูลของ
7
มันเองออกไปบาง
อยางไรก็ตาม ในจังหวะที่ยังไมมีการสงผานสัญญาณขอมูลภายในเสนทางการสื่อสารนั้น หากมีสถานีสง
มากกวาหนึ่งสถานีเกิดบังเอิญมาตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณพรอมๆ กันเขา มันก็อาจจะสงออกสัญญาณขอมูลออกไป
พรอมๆ กันได และก็ทําใหเกิดโอกาสที่จะมีการชนกันของขอมูล (data collision) ภายในเสนทางนําสัญญาณได
โดยการชนกันของขอมูลในลักษณะนี้จะมีโอกาสเกิดสูงที่สุดหากเสนทางนําสัญญาณอยูในสภาพโลง
(free medium) ซึ่งถาจะเทียบใหเขาใจไดงายขึ้น ก็เหมือนการจราจรบนถนน ถาถนนวางมากๆ โอกาสที่รถซึ่งมาจาก
ทางแยกจะชนกันก็มีมาก นอกจากนั้น โอกาสเกิดการชนกันของขอมูลยังขึ้นอยูกับจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรหรือสถานี
สงสัญญาณขอมูลที่ตอพวกอยูกับเครือขาย (loads) ดวย ถามีการพวงสถานีสงเขามามากๆ โอกาสที่จะชนกันก็จะมาก
ตามไปดวย เหมือนแยกที่มีถนนเชื่อมเขามาหลายๆ ทิศทาง ยิ่งแยกมากเทาไรโอกาสที่จะเกิดการชนกันกลางแยกก็มาก
ตามขึ้นไปเปนเงา
เมื่อใดที่มีการชนกันของขอมูลขึ้นในเสนทางนําสัญญาณของเน็ตเวิรก Ethernet มันก็จะถูกตรวจพบได
โดยกลไกการทํางาน CD (Collision detection) และสงผลไปยังอุปกรณสง
สัญญาณ (transmitter) ทุกตัวภายในเน็ตเวิรก ซึ่งก็จะยังผลใหแตละตัว
อุปกรณสงสัญญาณทําการหนวงเวลารอสงสัญญาณ หรือ backoff ใหยาวนาน
ขึ้นไปอีก หลังจากหนวงเวลาไปแลวอุปกรณสงสัญญาณก็จะเริ่มตรวจสอบ
เสนทางดูอีกทีวาวางหรือไม? ซึ่งมันก็มิไดรับประกันวาจะไมมีการชนกันของ
สัญญาณเกิดขึ้นอีก ดังนั้นกลไก CD จึงไมใชกลไกการสงผานขอมูลใน
เครือขายเน็ตเวิรกที่ดีนัก โดยเฉพาะในเครือขายเน็ตเวิรกที่มีการพวงสถานีสง
เขามามากๆ
ฉนั้น เพื่อปองกันการชนกันของกลุมขอมูลภายในเสนทางนํา
สัญญาณ โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จึงเลือกใชกลไกตรวจสอบการชนกัน
ของขอมูลแบบ CA (collision avoidance) แทน โดยแทนที่จะใชเพียงการ
หนวงเวลาสง (backoff) และการรอใหเสนทางนําสัญญาณ (free medium)
เชนระบบ CD กลไก CA จะเสริมเอาการทํางาน MAC-level
acknowledgement เขามาชวยยืนยันความถูกตองแนนอนของแตกลุม
packet ขอมูลที่มีการจัดสงอีกตางหาก
โปรโตคอลสื่อสาร CA ที่มีการยืนยันความถูกตองของ packet ขอมูลที่ไดรับการสงผานมานี้ จะอนุญาต
ใหสามารถกูขอมูลคืนกลับมาในระดับ low level ได จึงชวยแกไขปญหาการสูญเสียขอมูลบางสวนจากการชนกัน หรือ
จากสัญญาณรบกวนซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นสูงมากในระบบการสื่อสารไรสายได โดยตัวสถานีปลายทางซึ่งรับสัญญาณขอมูล
มา (destination station) จะสงสัญญาณยืนยันกลับไปยังสถานีสงทันทีที่มันไดรับเฟรมขอมูลมาเสร็จสิ้นเรียบรอย แต
ถาไมมีสัญญาณยืนยัน (acknowledgement) กลับมายังเครื่องสง ซึ่งแสดงวาการสานขอมูลนั้นลมเหลว สถานีสงก็จะทํา
การสงผานสัญญาณขอมูลดังกลาวกลับไปใหมอีกครั้งหนึ่ง
8
DFWMAC Algorithm
รูปแบบอัลกอริทึ่มสําหรับชวงรอสงสัญญาณ (backoff algorithm) ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC
นั้นนับวาเปนอัลกอริทึ่มที่มีประสิทธิภาพ และความแนนอนสูงมากแมในเสนทางการนําสัญญาณที่ตองรองรับสถานีสง
จํานวนมากๆ (high loads) โดยมันจะใชการรอสงสัญญาณแบบ exponential backoff ในการสงสัญญาณซ้ํา
(retransmission) และเพื่อสนับสนุนการทํางานรวมกันระหวางการสงผานสัญญาณแบบ asynchronous กับการบริการ
แบบ time-bounded services อัลกอริทึ่ม backoff algorithm ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ยังถูกออกแบบให
รองรับการใหระดับความสําคัญที่แตกตางกันไปของแตละชองวางระวางเฟรม (different priority for different IFS)
อีกดวย
หัวใจสําคัญของเทคนิคการหลีกปญหาการชนกันระหวางสัญญาณขอมูลแบบ CA นี้ อยูตรงที่แตละ
สถานีสงซึ่งตองการเขาถึงเสนทางนําสัญญาณจะตองตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณใหแนใจเสียกอนวา ในขณะนั้น
เสนทางนําสัญญาณถูกกําหนดไวโดยชองวางระหวางเฟรมที่มีขนาดเล็กที่สุด (minimum IFS ensure) โดยโปรโตคอล
สื่อสาร DFWMAC จะกําหนดระดับความสําคัญของเวลาที่แตละสถานีจะตองใชในการรอสงสัญญาณออกเปน 3 ระดับ (3
level backoff priority) ดังตอไปนี้
 SIFS (Short IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมที่มีขนาดสั้นที่สุด ถูกใชเพื่อการตอบสนองชนิดทันทีทันควันทั้งหลาย
ซึ่งปฏิกิริยาการตอบสนองอยางฉับพลันนี้กไดแก การยืนยันการรับเฟรมสัญญาณขอมูลของสถานีรับ
(acknowledgment frames), เฟรมคํารองขอสงสัญญาณขอมูล RTS (request-to-sent) frame ซึ่งตามติดมา
ดวยเฟรมยืนยันการเคลียรเสนทางกอนสง CTS (Clear-to-sent) frame, และเฟรมประเภท contention-free
frame ที่ถูกสงไปมาระหวางการบริการแบบ time-bounded services
 PIFS (Point coordination IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมขนาดความยาวปานกลางซึ่งถูกใชสําหรับการ
ตรวจสอบสถานะสถานี (station polling) เพื่องานบริการประเภท time-bounded services
 DIFS (Distributed coordination function IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมขนาดยาวที่สุด ถูกใชเปนเสมือน
ชวงหนวงเวลาการสงสัญญาณที่สั้นที่สุด (minimum delay) สําหรับเฟรมขอมูลแบบ asynchronous frames
ในชวงเวลาที่มีสถานีสงมากกวาหนึ่งสถานีพยายามใชเสนทางนําสัญญาณพรอมๆ กัน (contention time)
กลาวโดยสรุปแลว เทคนิคการควบคุมดูแลการสงผานสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/CA ของโปรโตคอล
สื่อสาร DFWMAC ในระดับ DCF ซึ่งถูกเสริมประสิทธิภาพขึ้นไปดวยเทคนิคการยืนยันความถูกตองของการสงผาน
สัญญาณแบบ MAC-level acknowledgment protocol นี้ ก็ทําใหการสื่อสารแบบไรสายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
และสามารถเชื่อถือไดอยางแนนอนในความถูกตอง เพราะถึงแมจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นบางในการสงผานขอมูล
เทคนิค MAC-level acknowledgment ก็ยังสามารถกูเอาขอมูลที่ผิดพลาดนั้นกลับมาได
รูปที่ 3 แผนภาพแสดงเทคนิคการควบคุมดูแลการสงผานสัญญาณภายในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ CSMA/CA ของ
โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ซึ่งมีการหลีกเลี่ยงการชนกันของสัญญาณขอมูลภายในเสนทางนําสัญญาณ(Collision
9
avoidance) ดวยการที่สถานีสงสัญญาณจะคอยตรวจสอบดูวาเสนทางนําสัญญาณวางอยูหรือไม (มีชองวางระหวาง
เฟรมแบบ DIFS) ถาเสนทางนําสัญญาณไมวาง มันก็จะหนวงเวลาการสงสัญญาณขอมูลออกไปจนกระทั่งเสนทางนํา
สัญญาณวางจึงทําการสงสัญญาณขอมูลออกไป
การจัดการดานพลังงาน
เนื่องจากอุปกรณสถานีสงชนิดเคลื่อนที่ได (mobile nodes) ซึ่งใชในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายนั้นมักจะ
มีขนาดเล็กกระทัดรัด (เพื่อใหสะดวกตอการพกพา) และมักจะตองอาศัยพลังงานจากแบตเตอรี่ซึ่งก็มีขนาดเล็กกระทัดรัด
ดวยเชนกัน จึงสงผลใหเรื่องการจัดการดานพลังงาน (power management) กลายมาเปนปญหาสําคัญอีกอยางหนึ่ง
ของการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายตามไปดวย ซึ่งก็ทําใหตองมีการเสริมมาตรการดานการจัดการพลังงานเขา
มาไวในโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC เพื่อใหการใชพลังงานจากแบตเตอรี่เปนไปอยางมีประหยัด เหมาะสม ในขณะที่
ยังคงความสามารถในการเชื่อมโยงสัญญาณกับระบบ และคงระดับประสิทธิภาพความเร็วในการสงผานขอมูลไวไดใน
ระดับเดิม
สําหรับโปรโตคอลสื่อสารในระบบเครือขายเน็ตเวิรกไรสายที่ใชๆ กันอยูในปจจุบันนี้ มักจะอนุมานวา
แตละสถานีในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายตางลวนอยูในสภาวะที่พรอมสําหรับการรับเฟรมสัญญาณขอมูลซึ่งสงออกมา
จากเน็ตเวิรกอยูตลอดเวลา (nodes are alway in ready statess) ดังนั้น เทคนิคการจัดการดานพลังงานจึงตองทําให
อุปกรณแตละสถานีสามารถปดเครื่องไดแทบจะตลอดเวลา เพื่อประหยัดพลังงานในแบตเตอรี่ ในขณะเดียวกันก็จะตอง
คงสภาพในความพรอมรับสัญญาณขอมูลไวในทุกขณะจิตดวยเชนกัน
โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จะอนุญาตใหผูใชอุปกรณคอมพิวเตอรพกพาสามารถเปลี่ยนสถานภาพ
การทํางานจากสถานะที่เปนการทํางานเต็มกําลัง (full-powr mode) ไปเปนสถานะการทํางานแบบที่ใชพลังงานนอยๆ
(low-power mode) หรือสถานะพัก (sleep mode) ได โดยที่ในระหวางสถานะพักนี้ก็จะตองมีกลไกการทํางานพิเศษ
ที่คอยตรวจสอบยืนยันวาจะไมมีความผิดพลาดขาดหกตกหลนของสัญญาณขอมูลที่สงผานไปมาภายในเครือขายเน็ตเวิรก
ไรสายเลย
นอกจากนั้น มาตรการ
จัดการพลังงานของโปรโตคอลสื่อสาร
DFWMAC ยังสามารถทํางานไดทั้งในเน็ต
เวิรกระดับ Infrastructure-network
และระดับ ad-hoc network และดวย
มาตรการการจัดการพลังงานดังที่กลาวมา
นี้ ก็จะสงผลใหสามารถยืดอายุแบตตารี่
ของอุปกรณคอมพิวเตอรระดับปาลมท็อป
และอุปกรณสแกนเนอรที่ใชไมบอยนัก
ออกไปภาสยในเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
10
ใหมีอายุการใชงานยืนยาวออกไปไดนานนับเปนเดือนเลยทีเดียว
การใหบริการแบบ Time-bounded services
บริการ Time-bounded services นั้นจากชื่อก็บอกอยูแลววาเปนบริการประเภทที่ผูกพันกับเวลาที่ใช
ในการสื่อสารเปนอยางมาก เปนบริการพิเศษในโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ที่ผานทางการทํางานแบบ optional PCF
(Point Coordination Function) ซึ่งทํางานเหนือโปรโตคอลสื่อสารพื้นฐาน basic-access protocol อีกทีหนึ่ง เพื่อ
ใหบริการ Time-bounded services สามารถดําเนินรวมไปกับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ ที่เวลาไมมีสวนสําคัญในการ
ทํางาน (non time sensitive applications) ได
รูปที่ 4 แผนภาพแสดงการบริการ Time-bounded services ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ผานทางการทํางาน
PCF access method ซึ่งสามารถดําเนินไปพรอมๆ กับการทํางาน DCF access method ที่อยูต่ําลงไปอีกระดับได
ดวยการระบุให PCF ทํางานในชวง contention-free peroid และ DCF ทํางานในชวงเวลา contention peroid
เพื่อเปนการยืนยันวาบริการ Time-bounded services จะอยูในสภาพ contention-free services
เสมอ การทํางานระดับ PCF ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จึงใชแนวคิดในการสื่อสารแบบ Superframe concept
ซึ่งกําหนดวาภายในหนึ่งชวงของ superframe peroid นั้น การทํางาน PCF จะอยูในสภาพทํางาน (active) เฉพาะชวง
Contention-free เทานั้น ในขณะที่ชวง contention peroid ก็ปลอยใหเปนเวลาของการทํางานแบบ DCF ซึ่งอยูต่ําลง
ไปอีกระดับแทน โดยชวงเวลา Contention-free peroid นั้น สามารถปรับเปลี่ยนชวงเวลาใหสั้น/ยาวขึ้นดวยหลักการ
per-superframe basis โดยไมทําใหระบบตองเสียเวลาการทํางานรวมของระบบไปโดยเปลาประโยชนเลย (no
additional overhead)
รูปที่ 5 แสดงแนวคิด Superframe concept ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ซึ่งอนุญาตใหมีการทํางานผสมผสานกัน
ระหวาง DCF และ PCF access method ได เพื่อเปนการยืนยันวาการบริการ Time-bounded services จะสามารถ
ดําเนินรวมไปกับการสื่อสารขอมูลชนิด asynchronous transmisssion ได
ภายใตแนวคิดแบบ Superframe concept ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC นั้น หากในชวงเริ่มตน
ของ superframe อุปกรณสงผานสัญญาณขอมูลตรวจพบวาเสนทางนําสัญญาณวางอยู มันก็จะปลอยใหการสงผาน
สัญญาณขอมูลอยูภายใตการทํางานของ PCF access method แตถาเกิดพบวาเสนทางนําสัญญาณในขณะดังกลาวไม
วางมีการใชงานอยู การทํางาน PCF ก็จะหนวงเวลาสงสัญญาณออกไปจนกระทั่งเฟรมขอมูลที่กําลังครอบครองเสนทาง
นําสัญญาณอยูนั้นถูกสงผานลุลวงไปแลว จึงจะเริ่มเขาครอบครองเสนทางนําสัญญาณใหม ฉนั้นชวงระยะเวลาของแตละ
superframe จึงสามารถปรับเปลี่ยนสั้น/ยาวขึ้นจากเดิมได
11
ซึ่งในระหวางที่อุปกรณสงผานสัญญาณขอมูลสถานีสงตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง หรือ
อยูในชวง contention peroid นั้น มันก็จะสงผานสัญญาณขอมูลในรูป asynchronous transmission โดยผานการ
ทํางาน DCF แทน อยางไรก็ตาม หลังจากครอบครองเสนทางนําสัญญาณไปไดสักชวงเวลาหนึ่ง มันก็จะสงการควบคุม
เสนทางนําสัญญาณกลับไปใหการทํางาน PCF ของมันแทนเมื่อหมดชวงจังหวะของเฟรมขอมูล เพราะตามปรกติแลวการ
ทํางานแบบ PCF จะถูกกําหนดใหมีขีดความสําคัญ หรือ prioritty เหนือกวาการทํางาน DCF (เพราะถาไมทําอยางนี้
การทํางาน DCF ซึ่งเปนการทํางานในระดับพื้นฐานกวาก็จะรับงานไปทําเสียหมด แทนที่จะสงตอไปให PCF)
วิวัฒนาการแหงมาตรฐานการสื่อสารไรสาย
การกอกําเนิดขึ้นของโปรโตคอลสื่อสารไรสาย DFWMAC (Distributed foundation wireless media
access control) ซึ่งเปนผลผลิต
เลือดผสมจากจากเหลาบริษัทผูผลิต
อุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณ
สื่อสารโทรคมนาคมขนาดใหญ
หลายๆ รายนี้ นับไดวาเปนตัวอยาง
ที่ดีมากของมาตรฐานอุตสาหกรรม
แหงทศวรรษที่ 90s อันเปนทศวรรษ
แหงการเบงบานของโลกประชาธิปไตย และแนวโนมการพัฒนาแบบโลกานุวัตร
เพราะในโลกแหงการแขงขันเสรี, การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกระแสโลกานุวัตรนั้น
มาตรุานอุตสาหกรรมชนิดใดจะเปนที่ยอมรับใชงานจากคนสวนใหญไดนั้น ไมไดเปนผลสืบเนื่องมาจากประ
สิทธิภาพ และความเปนนวัตกรรมใหมแตเพียงอยางเดียว แตจะตองเปนมาตรฐานที่ไดรับจากสังคมสวนใหญดวย และ
มาตรฐานใดที่คิดวาจะผลิตของดีออกมาแลวจะใหใครตอใครมาทําตามตนนั้น มีแตจะตองสูญหายไปจากเวที
ประวัติศาสตรไปทีละรายสองราย (เหมือนใครบางคนที่มีขอเสนอดีๆ ในการบริหารประเทศออกมายื่นเปนเงื่อนไขวาถา
คนอื่นๆ ไมทําตามแลวจะอดขาวไปจนตาย ก็คงตองตายเปลา หรือไมก็ตองเลิกการทรมานตนเองไปในที่สุด)
ประวัติของมาตรฐานการสื่อสารไรสายนั้น อาจจะยอนกลับอยางสังเขปไดประมาณ 4 -5 ป นับตั้งแต
ตอนที่บริษัท AT&T Global Information Solutions และบริษัท NCR Microelectronic Products Division ได
รวมกันกอตั้งหนวยงาน Wireless Communications and Networking Division ขึ้นมาเพื่อลุยตลาดดานการสื่อสารไร
สายโดยเฉพาะในป ค.ศ. 1990 โดยมุงเนนไปที่เทคโนโลยีการสื่อสารแบบ direct-sequence spread-spectrum ซึ่ง
ก็มีผลทําใหบริษัท NCR กลายสภาพมาเปนผูนําตลาดดานการสื่อสารไรสายไปในชั่วเวลาไมนาน ตอมาในป ค.ศ. 1992
บริษัท NCR ก็ไดรวมมือกับบริษัท Symbol Technologies (San Jose, CA) ในการออกมาตรฐานเพื่อการสื่อสารไรสาย
ออกมา ทั้งนี้และทั้งนั้น ก็เปนเพื่อตอบสนองความตองการของเหลาผูบริโภคที่ตองการใหผลิตภัณฑจากยักษใหญดาน
การสื่อสารไรสายทั้งสองนี้สามารถทํางานรวมกันได (NCR & Symbol Tech. interoperability)
12
อยางไรก็ดี มิไดมีแตพันธมิคร NCR/Symbol Tech. นี้เทานั้นที่มีการออกมาตรฐานเพื่อการสื่อสารไร
สายออกมา เพราะในปเดียวกันนั้นเองสถาบัน IEEE ก็ไดมีการตั้งคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ขึ้นมาเพื่อดูแล
พิจารณาหามาตรฐานที่เปนกลางสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย และทางคณะกรรมการ IEEE Project
802.11 ก็ไดรับขอเสนอเรื่องขอกําหนดมาตรฐานการสื่อสารไรสาย MAC (media access control) specifications
จากบริษัทผูผลิตผลิตภัณฑการสื่อสารไรสายรายอื่นๆ มาไวในมือถึง 11 ขอเสนอดวยกัน
โดยขอเสนอเรื่องมาตรฐานการสื่อสารไรสาย (wireless proposal) เหลานั้น สามารถแบงออกไดเปน
2 กลุมใหญๆ กลุมแรกเปนพวก distribution-access protocols ที่มุงเนนไปที่การบริหารเน็ตเวิรกแบบกระจายอํานาจ
ออกไปยังเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายที่ตอพวงอยูภายในเครือขายเน็ตเวิรกโดยผานทางกลไกการจัดการเน็ตเวิรกแบบ
CSMA/CD คลายๆ กับที่ใชกันในเครือขายเน็ตเวิรก Ethernet สวนมาตรฐานอีกกลุมก็เปนพวกที่มุงเนนไปที่การบริหาร
จากสวนกลาง (centralized-access protocols) โดยมีเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญๆ ประสิทธิภาพสูงทํางานเปนหัวใจ
ของการสื่อสาร
ในการทําความเขาใจเกี่ยวกับขอเสนอมาตรฐานการสื่อสารนั้น คิดวาเราควรจะเริ่มจากโปรโตคอล
สื่อสาร "WMAC (wireless media access control)" ของบริษัท NCR/Symbol ที่เริ่มออกมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.
1992 เพราะถือเปนหนึ่งในตนกําเนิดแหงมาตรฐานที่เราใชๆ กันอยู โดยโปรโตคอลสื่อสาร WMAC นี้มีที่มาจากการ
นําเอาโปรโตคอง Distributed-access protols มาปะแปงแตงหนาเสียใหมดวยรูปแบบการทํางานตางๆ เชน power
management, synchronization, และบริการ Time-bounded services ฯลฯ
ตอมาในเดือนมีนาคมปถัดมา (ป ค.ศ. 1993) บริษัท Xircom ก็เริ่มมีโปรโตคอลสื่อสารไรสายออกสู
ตลาดบาง ภายใตชื่อวา "WHAT (wireless hbid asynchronous time-bounded) MAC protocol" ซึ่งมีการเสริมเอา
ความสามารถในการสนับสนุนการทํางานแบบ Hidden nodes เขามาใน Distributed-access protocol ดวย
นอกเหนือไปจากบริการ Time-bounded services
พอถัดมาจากนั้นอีกเพียงสองเดือน เหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณเพื่อการสื่อสารไรสายรายอื่นๆ ก็ตางพากัน
ออกโปรโตคอลสื่อสารกันออกมากันเปนการใหญอยางเชน บริษัท Spectrix ก็มีโปรโตคอลสื่อสาร CODIAC
(centralized or distributed integrated access control) MAC protocol, ในขณะที่บริษัท National
Semiconductor (Sunnyvalle, CA) ก็จับเอาโปรโตคอลสื่อสารของ IBM และ Xircom มาปนรวมกันเสียใหมเปน
โปรโตคอลสื่อสารลูกผสม (hybrid protocol)
หลังจากนั้นอีกไมถึงครึ่งป (กันยายน ค.ศ. 1993) ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ตกลง
เลือกขอเสนอมาตรฐานการสื่อสารไรสายออกมา 5 ขอเสนอ จากที่เคยรับขึ้นมา 11 ขอเสนอ เพื่อใชเปนจุดตั้งตน
สําหรับการหาขอสรุปในเรื่องมาตรฐานการสื่อสารไรสายที่จะมีการประชุมกันในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งหาขอเสนอที่ถูก
เลือกไวโดยคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ประกอบไปดวยโปรโตคอลสื่อสารแบบ distributed-access
protocol 2 ชนิด (NCR/Symbol WMAC และ Xircom's WHAT), โปรโตคอลสื่อสารแบบ centralized access
protocol 2 ชนิด (IBM และ Spectrix's CODIAC) และอีกหนึ่งโปรโตคอลสื่อสารลูกผสม (National
Semiconductor's WHO)
13
อยางไรก็ตาม ในระหวางที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 กําลังการดําเนินการเพื่อหามาตรฐาน
ที่ดีที่สุดสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายอยูนั้น ทางเหลาบริษัทผูผลิตซึ่งมีชื่ออยูในกลุมที่ถูกเลือกนั้น ก็มิได
นั่งรอการประกาศผลอยูอยางนิ่งๆ แตประการใด แตตางก็มีกิจกรรมในรูปแบบตางๆ ซึ่งมีผลตอมาตรฐานการสื่อสารไร
สายออกมาอยูเปนระยะๆ ดวยเชนกัน เชน โปรโตคอลสื่อสาร CODIAC และ WHO มีการออกผลิตภัณฑในโหมดที่สอง
ซึ่งเลียนแบบการทํางานของโปรโตคอลสื่อสาร WHAT ออกมา,
ในขณะที่สามบริษัทยักษ NCR, Symbol, และ Xircom ก็ตกลงปลงใจรวมเอาโปรโตคอลสื่อสารของตน
เขาดวยกันกลายเปนมาตรฐานโปรโตคอลสื่อสารใหมที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นกวาเดิมออกมาภายใตชื่อเรียกวา DFWMAC
(Distributed Foundation MAC) ซึ่งประกอบไปดวยการทํางานหลักเดิมๆ ที่มีในโปรโตคอลสื่อสาร WMAC อยู 95
เปอรเซนต ที่เหลือก็เสริมเอาการทํางานสําคัญๆ อยางการทํางาน hidden-nodes protection ของโปรโตคอลสื่อสาร
WHAT, PHY (physical) independent, และการทํางาน synchronization support สําหรับเน็ตเวิรก ad-hoc
networks ฯลฯ เสริมเพิ่มเขามา
ผลจากการพัฒนาในลักษณะดังกลาว ทําใหโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC กลายเปนโปรโตคอลสื่อสาร
ไรสายที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเมื่อเทียบกับโปรโตคอลสื่อสารชนิดอื่นๆ ที่สําคัญ มันยังเปนโปรโตคอลสื่อสารที่มีบริษัท
ตางเขามารวม และใหการยอมรับมากที่สุดอีกดวย ดังนั้น เมื่อถึงเวลาประชุมสรุปคัดเลือกโปรโตคอลสื่อสารอันเปน
มาตรฐานของคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ทําใหโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ถูกโวตเลือกใหใชเปน
มาตรฐานกลางสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายดวยคะแนนเสียยงสวนใหญถึง 75 เปอรเซนต
การเขาสูระดับมาตรฐานสากล
เพื่อใหมาตรฐานดานการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายของตนเปนที่ยอมรับไปทั่วโลก
คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 จึงไดพยายามแสวงหาความรวมมือระหวางองคกรมาตรฐานตางๆ ตามความ
เหมาะสม และตามที่โอกาสอํานวยอีกดวย ตัวอยางของความรวมมือดังกลาวก็ไดแก การรวมมือกับกลุม T1P1 group
แหงคณะกรรมการมาตรฐาน T1 Accredited Standards Committee และกับกลุม TR32/TR45 groups ภายใต
สมาคมอุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคม the Telecommunications Industry Association ฯลฯ
โดยความรวมมือกับกลุม T1P1 group นั้นมุงเนนไปที่ความสามารถในการทํางานรวม
(interoperability) กับบริการดานโทรศัพท Public telephone, บริการ ISDN (Integrated services digital
network), และโทรศัพทเซลลูลาร (cellular telephone) ฯลฯ ในขณะที่ความรวมมือกับกลุม TR2/TR45 นั้น ก็มุง
ประเด็นไปที่การสื่อสารสัญญาณเสียงระบบดิจิตัล (digital-voice) ผานทางบริการโทรศัพทไรสาย (cordless
telephone) และโทรศัพทเคลื่อนที่ (mobile telephones)
คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ยังมีการแสวงหาความรวมมือขามฝากไปยังทวีปยุโรป กับกลุม
ETSI (European Telecommunications Standards Group) อีกดวย โดยจุดที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11
ใหความสนใจเปนพิเศษก็คือ คณะกรรมการ ETSI-RES 2 committee ซึ่งกําหนดมาตรฐานสําหรับ land mobile
systems operating ในชวงแบนดวิดทสัญญาณขนาด 2.4 GHz, และคณะกรรมการ ETSI-RES 10 committeee ซึ่ง
14
กําหนดรางมาตรฐานสําหรับเน็ตเวิรกสมรรถนะสูง HIPERLAN (High-performance LAN) ซึ่งรองรับการสงผาน
สัญญาณขอมูลความเร็วขนาด 10 - 20 Mbps ผานชวงแบนดวิดทสัญญาณขนาด 5.2 GHz
สวนทางดานหนวยงานธุรกิจเอกชนนั้นเหลา มาตรฐานโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ของ
คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ไดรับการยอมรับเปนอยางดีจากเหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณคอมพิวเตอร และ
อุปกรณสื่อสารเปนอยางดี ไมวาจะเปน AMD, DEC, International Computers, National Semiconductor, NEC,
Norand, Telxon, หรือ Toshiba ฯลฯ รวมทั้งยังจะมีเหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณเหลานี้ทยอยติดตามเขามาในมาตรฐาน
การสื่อสารแบบ DFWMAC นี้เรื่อยๆ ดังนั้น จึงเหมือนเปนการรับประกันใหกับเหลาผูบริโภคอยางเราๆ ทานๆ ไปโดย
ปริยายวา ยังไงอุปกรณที่เราซื้อๆ มานั้น ก็คงจะสามารถทํางานรวมกันไดเสมอ (interoperability) ตราบใดก็ตามที่
อุปกรณเหลานี้ยังคงถูกผลิตตามมาตรฐานการสื่อสาร DFWMAC

Contenu connexe

En vedette

คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวังSurapol Imi
 
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเอง
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเองติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเอง
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเองSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดSurapol Imi
 
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะGnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะSurapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรSurapol Imi
 
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษาผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษาSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 

En vedette (14)

คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
"ประมูลสินค้าทางอินเทอร์เน็ต" จุดเด่น จุดด้อย และข้อควรระวัง
 
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเอง
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเองติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเอง
ติดตั้งเน็ตเวิร์กเล็กๆ ด้วยตัวท่านเอง
 
Great k mongkut
Great k mongkutGreat k mongkut
Great k mongkut
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
 
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะGnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ
Gnr3พุทธศาสตร์ฉุดโลกพ้นหายนะ
 
Copyright
CopyrightCopyright
Copyright
 
Gnr&doomsday
Gnr&doomsdayGnr&doomsday
Gnr&doomsday
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
 
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษาผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
ผลสรุปเบื้องต้นของแบบสอบถามนโยบายการศึกษา
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 

Similaire à Ieee802wireless

อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURENETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTUREAmonrat Kmutnb
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจPannipa Khuttanon
 

Similaire à Ieee802wireless (20)

405609008 2
405609008 2405609008 2
405609008 2
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Wimax
WimaxWimax
Wimax
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURENETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE
NETWORKARCHITECTURE& STRUCTURE
 
Number3
Number3Number3
Number3
 
Number3
Number3Number3
Number3
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
5630504218
56305042185630504218
5630504218
 
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
นางสาวพรรณนิภา คุตนนท์ รุ่นที่ 5 เลขที่ 4 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 

Plus de Surapol Imi

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาSurapol Imi
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดSurapol Imi
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์Surapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าSurapol Imi
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดSurapol Imi
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด Surapol Imi
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsSurapol Imi
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์Surapol Imi
 

Plus de Surapol Imi (20)

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
 

Ieee802wireless

  • 1. IEEE Project 802.11 กับมาตรฐานแหงเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1997 ปจจุบัน ตลาดของผลิตภัณฑในกลุมการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย (Wireless LANs) นับไดวา เปนวงการที่มีความรอนแรงในการแขงขันเปนอยางมากวงการหนึ่ง เพราะเปนรูปแบบการสื่อสารชนิดใหมที่อนุญาตให ผูใชคอมพิวเตอรสามารถติดตอกลับไปยังแหลงขอมูลของตนไดจากทุกแหงหนที่ตนเดินทางไปถึง ในทุกเวลา และเมื่อ รวมเขากับอาการบูมสุดขีดของอุปกรณการสื่อสารมือถือถึงหลาย* ก็สงเลยพลอยสงผลใหตลาดการสื่อสารไรสาย กลายเปนตลาดที่ฮ็อตที่สุดไปโดยปริยาย (ซึ่งในเรื่องการบูมของอุปกรณการสื่อสารไรสายนี้จะดู วาบูมขนาดไหนก็สังเกตุไดงายๆ จากอาการเหอโทรศัพทมือถือของ พลเมืองในประเทศที่ยังไมมีการพัฒนาทั้งหลาย ที่มักจะเหอกันมากถึง ขนาดที่วาเวลาจะไปดูคอนเสิรต, ภาพยนต, หรืองานแสดงตางๆ ที่ผูชม สวนใหญตองการความบันเทิงจากงานแสดงอยางเต็มที่ และไมตองการใหมีการรบกวนจากผูชมขางเคียง ก็ยังทะลึ่งมี เศรษฐีใหมพกพาเอาโทรศัพทมือถือเขาไปพูดคุยดวยความไมเกรงใจใคร) การที่ตลาดการสื่อสารไรสายมีสภาพรอนแรงสุดขีตดังที่กลาวมานี้ สงผลใหใครๆ ตางก็อยากจะโดดเขา รวมในสมรภูมิสงครามการตลาดนี้ ทุกคนอยากที่จะมีสวนแบงในเคกชิ้นโตนี้ดวยกันทั้งสิ้น ไมวาจะเปนเหลาบริษัทผูผลิต ผลิตภัณฑดานฮารดแวร (Hardware manufacturer), บริษัทซอฟทแวร (software developers), ผูพัฒนาระบบการ สื่อสาร (system integrators), หรือตัวเหลาผูผลิตคอมพิวเตอรทั้งหลาย (Computer manufacturers) ฯลฯ ทีนี้ เมื่อมีคนโดดเขารวมวงไพบูลยในตลาดการสื่อสารไรสายนี้มากๆ เขา ปญหาอยางหนึ่งก็ติดตามมา นั่นคือ เรื่องความสามารถในการทํางานรวมกันระหวางผลิตภัณฑที่อยูอยางหลากหลายเหลานั้น (Interoperability) เพราะเมื่อเริ่มแรกเขามา ตางคนก็ตางวาเทคโนโลยีของตนแนแลว จึงตางก็ไมคอยยอมลงใหกับใคร พอมีอยางนี้มากๆ เขา ผลรายก็ตกอยูกับผูบริโภค เพราะหากซื้อผลิตภัณฑจากบริษัทหนึ่งมาแลว ไมสามารถทํางานรวมกับระบบการ สื่อสารอื่นๆ ที่ตนตองการได อุปกรณราคาแพงๆ เหลานั้นก็คงมีคาไมตางไปจากไมตีพริกสักเทาใดนัก (เผลอๆ ไมตีพริก ยังจะมีคามากกวาดวยซ้ํา เพราะสามารถพกพาเข็นรถเข็นขายสมตําได) ฉนั้น จึงตกเปนหนาที่ของตํารวจโลก เอยไมใช! คณะกรรมการมาตรฐานการสื่อสารสําหรับ เครือขายเน็ตเวิรก the Wireless Local-Area Networks Standards Working Group ในสังกัดสถาบัน IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ตองทําตัวเปนทาวมาลีวราชกําหนดมาตรฐานที่เปนกลางขึ้นมา สําหรับการสื่อสารแบบไรสาย โดยมาตรฐานที่ไดรับการกําหนดขึ้นมานี้มีชื่อวา IEEE Project 802.11 และไดเริ่ม ดําเนินการมาตั้งแตป ค.ศ. 1990 เปนตนมา
  • 2. 2 จนเมื่อเร็วๆ ทางคณะกรรมการ Project IEEE 802.11 ก็ไดขอสรุปเปนเอกฉันทที่จะตกลงใชมาตรการ การสื่อสาร DFWMAC (distributed foundation wireless media access control) จาก AT&T Global Information/NCR Microelectronic Products Division's Wireles Communication and Networking Division, Symbol Technologies, และ Xircom เปนโปรโตคอลพื้นฐานสําหรับที่จะพัฒนา ตอไปเปนมาตรฐานสําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย (Wireless LANs standard) ในอนาคต ความตองการพื้นฐานของมาตรฐาน IEEE Project 802.11 อุปสรรคขั้นตนที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ตองเผชิญในการกําหนดมาตรฐานกลางสําหรับ เครือขายเน็ตเวิรกไรสายก็คือ การที่ตองระบุออกมาวาโปรแกรมประยุกต และสภาพเอนวิรอนเมนทใดจึงจะเปน สภาพแวดลอมที่เหมาะสมที่สุดสําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย (suitable applications & environments) ซึ่งทาง คณะกรรมการก็ไดทําการวิเคราะหหาสภาพแวดลอมตางๆ ที่คิดวาเหมาะสําหรับการสื่อสารภายในเครือขายเน็ตเวิรกไร สาย และระบุเปนขีดความตองการพื้นฐาน (functional requirements) ออกมาในเดือนมีนาคมสองปที่แลว (ค.ศ. 1992) ขีดความตองการพื้นฐานที่ไดรับการระบุโดยคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 นั้น ก็ไดแกขีดขั้น ระดับแบนดวิดทต่ําสุดที่เครือขายเน็ตเวิรกไรสายตองใช (minimum functional bandwidth) โดยจะตองมีขนาดไมนอย กวา 1 Mbps เพราะเปนขีดขั้นที่จําเปนสําหรับการทํางานพื้นฐานทั่วๆ ไป ไมวาจะเปนการสงผานไฟลลขอมูล (file transfer), การโหลดโปรแกรม (program loading), การทํา transaction processing, งานดานมัลติมีเดีย, และงาน ควบคุมกระบวนทางดานอุตสาหกรรม (manufacturing process control) ฯลฯ สวนโปรแกรมประยุกตประเภทที่เกี่ยวของกับสัญญาณเสียงระบบดิจิตัล (digital voice) หรือการ ควบคุมกระบวนการ (process control) ซึ่งจําเปนตองมีการสงผานขอมูลไปมาอยางทันทีทันควัน (real-time data transmission) นั้น ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ระบุใหใชเครือขายบริการแบบ time-bounded services ซึ่งจํากัดจํานวน packet delay variance ไว, รวมทั้งยังไดมีการระบุถึงระดับการทํางานที่ยังคงความเชื่อถือได (reliable operation environments) ของการสงผานขอมูลประเภทตางๆ อยางกวางๆ เชน คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 จะมีการระบุวา ถาเปนขอมูลดานการเงินการธนาคาร (finacial) จะตองการสภาพแวดลอมเพื่อการสื่อสารอยางหนึ่ง, หากเปนขอมูลประเภทคาปลีก (retail), หรือขอมูลใน สํานักงาน (office) ก็ตองใชสภาพแวดลอมอีกอยางหนึ่ง, และถาเปนขอมูลภายในสถานศึกษา (school) หรืองาน อุตสาหกรรม (idustrial) ก็ตองใชสภาพแวดลอมในการสงผานขอมูลอีกแบบหนึ่ง ฯลฯ นอกจากนั้น ยังมีการระบุลึกลง ไปในรายละเอียดดวยวาการสื่อสารดวยเครื่องคอมพิวเตอรพกพา (mobile computing) นั้น ควรจะรองรับการเคลื่อนไป
  • 3. 3 มาดวยความเร็วขนาดคนเดินได และถาเปนการใชในงานอุตสาหกรรมก็ควรจะรองรับการเคลื่อนที่ดวยยานพาหนะไดอีก ตางหาก โครงสรางทางสถาปตยการสื่อสาร 802.11 เพื่อกําหนดรูปแบบความตองการพื้นฐานสําหรับการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายใหอยูใน รูปแบบที่สามารถเขาใจได โดยงาย ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 จึงได จัดสรางแบบโครงสรางพื้นฐาน สําหรับเครือขายเน็ตเวิรกไร สาย (Wireless LANs basic architecture) ขึ้นมา โดย จัดแบงระบบเครือขายเน็ตเวิรก ไรสายออกเปนสองชนิด เครือขายเน็ต เวิรกไรสายชนิดแรกเปนเน็ต เวิรกแบบ Infrastructure-based networks ซึ่งอนุญาตใหผูติดตอสื่อสารกับเน็ตเวิรกสามารถเคลื่อนยายตัวเองไปมาใน สวนตางๆ ของสํานักงานได (เชนจาก แผนกสโตรไปหนวยแพทยไปหนวยผลิต ฯลฯ) โดยที่ยังคงสภาพการเชื่อมโยง สัญญาณไวกับศูนยการควบคุมขอมูลสวนกลางไดอยูตลอดเวลา สวนใหญของเครือขายเน็ตเวิรกไรสายประเภทนีจะ มีเน็ตเวิรกประเภทมีสายเปนตัวรองรับโครงสรางพื้นฐานของมัน สวนเครือขายเน็ตเวิรกไรสายประเภทที่สองเปน ad- hoc networks ซึ่งสามารถจัดตั้งขึ้นชั่วขณะเพื่องานใดงานหนึ่งไดโดยกลุมผูใชคอมพิวเตอรไมจํากัดจํานวน เชนผูที่เขา รวมประชุมกันอาจจะจัดตั้ง ad-hoc networks ขึ้นมาในชั่วขณะที่มีการประชุมเพื่อการสื่อสารขอมูลในชวงเวลานั้นๆ อยางไรก็ตาม ถึงแมวาเราจะจําแนกเครือขายเน็ตเวิรกไรสายออกเปนสองชนิด แตโครงสรางพื้นฐาน 802.11 architecture ก็อนุญาตใหมีการใชงานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายสองประเภทนี้ซอนทับกันไดโดยอาศัยโปรโตคอล การสื่อสารชนิดเดียวกัน (overlap by same basic access protocol) อีกทั้งยังอนุญาตใหเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย มากกวาหนึ่งเน็ตเวิรกใชชองทางนําสัญญาณเดียวกันไดอีกดวย (multiple networks in one channel) จึงเปนการ รับประกันวาจะสามารถใชงานทรัพยากรคลื่นนําสัญญาณไดอยางมีประสิทธิผลมากที่สุด นอกจากนั้น ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ยังไดมีการจําแนกแจกแจงรายละเอียดลงไปใน องคประกอบตางๆ ภายในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายอีกดวย มีการระบุใหแตละพื้นที่หนึ่งหนวย (single cell) ของแตละ เครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ infrastructure-based network มีชื่อเรียกวา "พื้นที่บริการหนวยพื้นฐาน (BSA, Basic Service Area)" โดยพื้นที่ครอบคลุมของหนวย BSA นี้จะมีขนาดแตกตางกันไปขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมที่สงผาน สัญญาณ และกําลังแรงของอุปกรณสงผานสัญญาณไรสาย (wireless transciever)
  • 4. 4 ในแตละหนึ่งพื้นที่ BSA นั้น สามารถจะติดตั้งไวดวยสถานีชุมสายสัญญาณแบบไรสาย (wireless station) ไวไดหลายชุมสาย เมื่อประกอบหนวยพื้นที่ BSA หลายๆ หนวยเขาดวยกัน มันก็จึงสามารถครอบคลุมพื้นที่ได อยางกวางขวางไมจํากัด โดยอาศัยการเชื่อมโยงเขากับตําแหนง APs (Access Points) และระบบ distribution system (ซึ่งมักจะเปนเครือขายเน็ตเวิรกแบบมีสาย) และดวยการเชื่อมโยงกันระหวางหลายๆ หนวยพื้นที่ BSA ดังกลาวก็ทําให เกิดเปนพื้นที่การสื่อสารขนาดใหญซึ่งมีชื่อเรียกวา ESA (Extended Service Area) สําหรับกลุมของสถานีชุมสายที่เชื่อมโยงเขากับตําแหนง AP เดียวกันนั้น ก็จะไดรับการเรียกขานไปใน อีกชื่อหนึ่งเปน "กลุมบริการ BSS" (Bussiness Service Set) และกลุมของสถานีชุมสายของกลุมบริการ BSS หลายๆ กลุมซึ่งเชื่อมโยงเขาดวยกันผานระบบการสื่อสาร distribution system ก็จะฟอรมตัวเปนกลุมบริการที่มีขนาดขยายใหญ ออกไป ชื่อวา ESS, Extended Service Set (รูปลักษณการเชื่อมโยงสัญญาณของกลุมบริการ BSS นี้อาจจะเขาใจไดดี ขึ้นหากทานผูอานจะดูจากแผนผังในรูปที่ 1 ซึ่งแสดงโครงสรางอยางคราวๆ ของโครงสรางทางสถาปตยของเครือขายเน็ต เวิรกไรสาย) รูปที่ 1 โครงสรางทางสถาปตยของ เครือขายเน็ตเวิรกไรสายอยางคราวๆ แสดง ใหเห็นวากลุมบริการ BSS สองกลุมถูกเชื่อมโยง เขาไวดวยกันผานทางระบบการสื่อสาร Distribution system เดียวกัน (ระบบการ สื่อสาร distribution system นี้ไมเพียงแตจะ เชื่อมโยงระหวาง BSS ภายในพื้นที่เดียวกัน เทานั้น ยังทําหนาที่เปนเกตเวยติดตอออกไป ยังเครือขายเน็ตเวิรกที่อยูหางออกไปอีกดวย) นอกจากนี้ ในภาพยังแสดงใหเห็นการซอนทับ กัน (coexist) และการทํางานรวมกัน (interoperate) รวมกันระหวางเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ ad-hoc network กับเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ Infrastructure network แบบจําลองอางอิงของมาตรฐาน IEEE Project 802.11 คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ใชแบบจําลองอางอิง (reference model) ซึ่งแบงโปรโตคอล การสื่อสารไรสายออกเปนสองกลุมใหญๆ กลุมของโปรโตคอลสื่อสารกลุมแรกเปนขอกําหนดกลางสําหรับเหลา เครือขายเน็ตเวิรกไรสายทั้งหมด "common MAC (media access control) specificaton"เปนโปรโตคอลสื่อสารที่ไม ขึ้นตอชนิดของสื่อพาหะตัวกลางที่ใช (medium-independent MAC) และหนึ่งโปรโตคอลสื่อสาร MAC ก็จะจัดกําหนด หนึ่งรูปแบบของการอินเทอรเฟซระหวางเน็ตเวิรกมีสายกับเน็ตเวิรกไรสาย
  • 5. 5 สวนกลุมของโปรโตคอลสื่อสารประเภทที่สองก็คือ "PHY (Physical) specification" อันเปนโปรโตคอล สื่อสารที่ขึ้นกับชนิดของสื่อพาหะตัวกลางที่ใช (medium-dependent protocol) ซึ่งสําหรับการสื่อสารประเภทไรสาย สื่อพาหะที่ใชเปนตัวกลางในการสงผานสัญญาณขอมูลก็จะถูกกําหนดจําแนกออกเปนหลายๆ ชวงความถี่ตามความ เหมาะสมของตัวคลื่นสัญญาณเอง ดังนั้น ตัวโปรโตคอลสื่อสาร PHY specifications จึงตองมีความหลากหลายไปตาม ชวงความถี่สัญญาณที่มาตรฐาน IEEE Project 802.11 รองรับดวย เชน คลื่นตัวกลางแบนดวิท 915 MHz, 2.4 GHz, 5.2 GHz และ infrared ก็ตางจะมีรูปแบบโปรโตคอลสื่อสาร PHY specification ที่แตกตางกันออกไป (ดังแสดงในรูปที่ 2) รูปที่ 2 แสดงโปรโตคอลสื่อสารไรสาย PHY specifications ซึ่งจะสังเกตุไดวามีความแตกตางกันออกไปตามชวง แบนดวิดทของคลื่นพาหะตัวนํา อีกทั้งยังมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่ของโลกอีกดวย การกําหนดรูปลักษณของแบบจําลองอางอิงของคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 สงผลใหเกิดเปน ลิสตรายการขอกําหนด (criteria lists) ซึ่งขอเสอโปรโตคอลสื่อสาร MAC proposal ทั้งหลายตองใชเพื่อจะไดรองรับ โปรโตคอลสื่อสาร PHY specification สําคัญๆ ไดอยางครบถวน และเนื่องจากรูปแบบการสื่อสารของบริษัท NCR, Symbol Technologies, และ Xircom ตางก็เปนไปในระดับ PHY layer ที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นขอเสนอ โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC proposal จึงตองประกอบไปดวยเทคโนโลยีโปรโตคอลสื่อสาร PHY ในหลายๆ ระดับ นอกจากนั้น ยังตองมีขอกําหนดพิเศษ (important criteria) ที่ครอบคลุมไปถึงการบริหาร Power management และ การบริการ time-bounded services ดวย การควบคุมการสื่อสารใน เครือขายเน็ตเวิรกไรสาย โปรโตคอล สื่อสารระดับลางสุดของ DFWMAC คือ การทํางาน DCF (Distributed Coordination Function) ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารแบบ asynchronous communication ระหวางสถานีชุมสาย โดยการทํางาน DCF นี้จะมีการเขาถึงตัวกลาง basic medium access ที่ อนุญาตใหมีการแชรตัวกลางรวมกันไดอยางอัตโนมัติระหวางระบบการสื่อสาร ไมวาจะระบบการสื่อสารที่วานั้นจะเปน ระบบประเภทเดียวกัน หรือตางกัน และถาจะเกิดมีสถานีชุมสายมากกวาหนึ่งสถานีเกิดจะสงผานสัญญาณขอมูลพรอม
  • 6. 6 กันขึ้นมา โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ก็สามารถแกไขและหลีกเลี่ยงไดโดยเทคนิคที่เรียกวา CSMA/CA (carrier-sense multiple access/collision avoidance) ซึ่งเทคนิคเปนที่รูจักกันดีในหมูผูใชเน็ตเวิรกอยูแลว เทคนิคการทํางาน CSMA ของโปรโตคอลสื่อสารไรสาย DFWMAC นั้นมีลักษณะไมตางไปจากที่ใชกันใน เครือขายเน็ตเวิรก Ethernet โดยการทํางาน CSMA ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จะตรวจสอบดูวามีพลังงาน จากคลื่นสัญญาณ (signal energy) ในชวงแบนดวิดทใดสูงหรือต่ําไไปกวาขีดระดับการใชงาน (certain treshold) หรือ เปลา และถามีชวงแบนดวิดทใดมีขนาดความแรงของคลื่นสัญญาณต่ํากวาขีดระดับการใชงานก็แสดงวาชองทางนั้นวางอยู สามารถสงผานขอมูลออกไปในรูปคลื่นวิทยุความถี่ดังกลาวไดเลย (ขอมูลถูกสงออกไปเปนกลุมๆ เรียกวา frame) แตถาคลื่นสัญญาณถูกตรวจพบวามีขนาดความแรงมากกวาขีดระดับการทํางาน เสนทางการสื่อสาร ในชวงความถี่คลื่นดังกลาวก็จะถูกระบุเปนชองทางที่ไมวาง (busy) และแสดงวามีการเขามาใชเสนทางดังกลาวจากสถานี ชุมสายมากกวาหนึ่งสถานี (multiple access) การทํางาน CSMA ก็จะกําหนดใหอุปกรณสงผานสัญญาณขอมูล (transmitter) ของตน หยุดการสงผานสัญญาณขอมูลไปสักชั่วขณะหนึ่ง กอนที่จะเริ่มการสงใหมอีกครั้งหลังจากนั้นเมื่อ ชองทางวาง จังหวะที่แตละอุปกรณทรานสมิตเตอรหยุดการสงสัญญาณขอมูลไปชั่วขณะเพื่อรอใหชองทางนํา สัญญาณวางนี้เรียกวา "Backoff" ในขณะที่จังหวะชวงวางเวลาระหวางการเขาถึงของแตละสถานีชุมสายที่จะเขาถึง เสนทางนําสัญญาณกลางมีชื่อเรียกวา "Time gap" โดยชวงเวลา Time gap นี้จะแปรผันไปตามชวงเวลา backoff ซึ่งมี ลักษณะสุมไมแนนอนตายตัว (random legths) เพื่อลดโอกาสในการชนกันระหวางคลื่นสัญญาณขอมูลที่มาจากตาง สถานี และเพื่อใหเปนการยุติธรรมสําหรับผูใชบริการการสื่อสารแตละราย เทคนิคการตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/CA ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC และการตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/Cd ของเน็ตเวิรก Ethernet ตางก็มีวิธีตรวจสอบวามีใครกําลัง ใชเสนทางอยูหรือไม? ในลักษณะเดียวกัน และเมื่อตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณวางอยู ทั้งสองเทคนิคก็จะจัดสง ขอมูลในรูป Frame ออกไปทันที อยางไรก็ตาม ในกรณีที่ตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง เทคนิค CSMA/CD และเทคนิค CSMA/CA จะมีการตอบสนองตอปญหาดังกลาวแตกตางกันออกไปเล็กนอย CSMA/CD & CSMA/CA แตกตางในความคลายคลึง ในเน็ตเวิรก Ethernetนั้น เมื่อกลไก CSMA/CD ตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง มันก็จะชลอการเขาถึงเสนทางการนําสัญญาณของมัน ออกไปจนกวา เฟรมของขอมูลที่กําลังสงผานไปตาม เสนทางนําสัญญาณ พรอมดวยชวงวางระหวางเฟรม IFS, interframe space หรือชวงเวลาเงียบ silence peroid ไดผานไปจนหมด (end of current frame + IFS or + silence peroid) มันจึงเริ่มสงเฟรมสัญญาณขอมูลของ
  • 7. 7 มันเองออกไปบาง อยางไรก็ตาม ในจังหวะที่ยังไมมีการสงผานสัญญาณขอมูลภายในเสนทางการสื่อสารนั้น หากมีสถานีสง มากกวาหนึ่งสถานีเกิดบังเอิญมาตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณพรอมๆ กันเขา มันก็อาจจะสงออกสัญญาณขอมูลออกไป พรอมๆ กันได และก็ทําใหเกิดโอกาสที่จะมีการชนกันของขอมูล (data collision) ภายในเสนทางนําสัญญาณได โดยการชนกันของขอมูลในลักษณะนี้จะมีโอกาสเกิดสูงที่สุดหากเสนทางนําสัญญาณอยูในสภาพโลง (free medium) ซึ่งถาจะเทียบใหเขาใจไดงายขึ้น ก็เหมือนการจราจรบนถนน ถาถนนวางมากๆ โอกาสที่รถซึ่งมาจาก ทางแยกจะชนกันก็มีมาก นอกจากนั้น โอกาสเกิดการชนกันของขอมูลยังขึ้นอยูกับจํานวนเครื่องคอมพิวเตอรหรือสถานี สงสัญญาณขอมูลที่ตอพวกอยูกับเครือขาย (loads) ดวย ถามีการพวงสถานีสงเขามามากๆ โอกาสที่จะชนกันก็จะมาก ตามไปดวย เหมือนแยกที่มีถนนเชื่อมเขามาหลายๆ ทิศทาง ยิ่งแยกมากเทาไรโอกาสที่จะเกิดการชนกันกลางแยกก็มาก ตามขึ้นไปเปนเงา เมื่อใดที่มีการชนกันของขอมูลขึ้นในเสนทางนําสัญญาณของเน็ตเวิรก Ethernet มันก็จะถูกตรวจพบได โดยกลไกการทํางาน CD (Collision detection) และสงผลไปยังอุปกรณสง สัญญาณ (transmitter) ทุกตัวภายในเน็ตเวิรก ซึ่งก็จะยังผลใหแตละตัว อุปกรณสงสัญญาณทําการหนวงเวลารอสงสัญญาณ หรือ backoff ใหยาวนาน ขึ้นไปอีก หลังจากหนวงเวลาไปแลวอุปกรณสงสัญญาณก็จะเริ่มตรวจสอบ เสนทางดูอีกทีวาวางหรือไม? ซึ่งมันก็มิไดรับประกันวาจะไมมีการชนกันของ สัญญาณเกิดขึ้นอีก ดังนั้นกลไก CD จึงไมใชกลไกการสงผานขอมูลใน เครือขายเน็ตเวิรกที่ดีนัก โดยเฉพาะในเครือขายเน็ตเวิรกที่มีการพวงสถานีสง เขามามากๆ ฉนั้น เพื่อปองกันการชนกันของกลุมขอมูลภายในเสนทางนํา สัญญาณ โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จึงเลือกใชกลไกตรวจสอบการชนกัน ของขอมูลแบบ CA (collision avoidance) แทน โดยแทนที่จะใชเพียงการ หนวงเวลาสง (backoff) และการรอใหเสนทางนําสัญญาณ (free medium) เชนระบบ CD กลไก CA จะเสริมเอาการทํางาน MAC-level acknowledgement เขามาชวยยืนยันความถูกตองแนนอนของแตกลุม packet ขอมูลที่มีการจัดสงอีกตางหาก โปรโตคอลสื่อสาร CA ที่มีการยืนยันความถูกตองของ packet ขอมูลที่ไดรับการสงผานมานี้ จะอนุญาต ใหสามารถกูขอมูลคืนกลับมาในระดับ low level ได จึงชวยแกไขปญหาการสูญเสียขอมูลบางสวนจากการชนกัน หรือ จากสัญญาณรบกวนซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นสูงมากในระบบการสื่อสารไรสายได โดยตัวสถานีปลายทางซึ่งรับสัญญาณขอมูล มา (destination station) จะสงสัญญาณยืนยันกลับไปยังสถานีสงทันทีที่มันไดรับเฟรมขอมูลมาเสร็จสิ้นเรียบรอย แต ถาไมมีสัญญาณยืนยัน (acknowledgement) กลับมายังเครื่องสง ซึ่งแสดงวาการสานขอมูลนั้นลมเหลว สถานีสงก็จะทํา การสงผานสัญญาณขอมูลดังกลาวกลับไปใหมอีกครั้งหนึ่ง
  • 8. 8 DFWMAC Algorithm รูปแบบอัลกอริทึ่มสําหรับชวงรอสงสัญญาณ (backoff algorithm) ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC นั้นนับวาเปนอัลกอริทึ่มที่มีประสิทธิภาพ และความแนนอนสูงมากแมในเสนทางการนําสัญญาณที่ตองรองรับสถานีสง จํานวนมากๆ (high loads) โดยมันจะใชการรอสงสัญญาณแบบ exponential backoff ในการสงสัญญาณซ้ํา (retransmission) และเพื่อสนับสนุนการทํางานรวมกันระหวางการสงผานสัญญาณแบบ asynchronous กับการบริการ แบบ time-bounded services อัลกอริทึ่ม backoff algorithm ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ยังถูกออกแบบให รองรับการใหระดับความสําคัญที่แตกตางกันไปของแตละชองวางระวางเฟรม (different priority for different IFS) อีกดวย หัวใจสําคัญของเทคนิคการหลีกปญหาการชนกันระหวางสัญญาณขอมูลแบบ CA นี้ อยูตรงที่แตละ สถานีสงซึ่งตองการเขาถึงเสนทางนําสัญญาณจะตองตรวจสอบเสนทางนําสัญญาณใหแนใจเสียกอนวา ในขณะนั้น เสนทางนําสัญญาณถูกกําหนดไวโดยชองวางระหวางเฟรมที่มีขนาดเล็กที่สุด (minimum IFS ensure) โดยโปรโตคอล สื่อสาร DFWMAC จะกําหนดระดับความสําคัญของเวลาที่แตละสถานีจะตองใชในการรอสงสัญญาณออกเปน 3 ระดับ (3 level backoff priority) ดังตอไปนี้  SIFS (Short IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมที่มีขนาดสั้นที่สุด ถูกใชเพื่อการตอบสนองชนิดทันทีทันควันทั้งหลาย ซึ่งปฏิกิริยาการตอบสนองอยางฉับพลันนี้กไดแก การยืนยันการรับเฟรมสัญญาณขอมูลของสถานีรับ (acknowledgment frames), เฟรมคํารองขอสงสัญญาณขอมูล RTS (request-to-sent) frame ซึ่งตามติดมา ดวยเฟรมยืนยันการเคลียรเสนทางกอนสง CTS (Clear-to-sent) frame, และเฟรมประเภท contention-free frame ที่ถูกสงไปมาระหวางการบริการแบบ time-bounded services  PIFS (Point coordination IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมขนาดความยาวปานกลางซึ่งถูกใชสําหรับการ ตรวจสอบสถานะสถานี (station polling) เพื่องานบริการประเภท time-bounded services  DIFS (Distributed coordination function IFS) : เปนชองวางระหวางเฟรมขนาดยาวที่สุด ถูกใชเปนเสมือน ชวงหนวงเวลาการสงสัญญาณที่สั้นที่สุด (minimum delay) สําหรับเฟรมขอมูลแบบ asynchronous frames ในชวงเวลาที่มีสถานีสงมากกวาหนึ่งสถานีพยายามใชเสนทางนําสัญญาณพรอมๆ กัน (contention time) กลาวโดยสรุปแลว เทคนิคการควบคุมดูแลการสงผานสัญญาณขอมูลแบบ CSMA/CA ของโปรโตคอล สื่อสาร DFWMAC ในระดับ DCF ซึ่งถูกเสริมประสิทธิภาพขึ้นไปดวยเทคนิคการยืนยันความถูกตองของการสงผาน สัญญาณแบบ MAC-level acknowledgment protocol นี้ ก็ทําใหการสื่อสารแบบไรสายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถเชื่อถือไดอยางแนนอนในความถูกตอง เพราะถึงแมจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นบางในการสงผานขอมูล เทคนิค MAC-level acknowledgment ก็ยังสามารถกูเอาขอมูลที่ผิดพลาดนั้นกลับมาได รูปที่ 3 แผนภาพแสดงเทคนิคการควบคุมดูแลการสงผานสัญญาณภายในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายแบบ CSMA/CA ของ โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ซึ่งมีการหลีกเลี่ยงการชนกันของสัญญาณขอมูลภายในเสนทางนําสัญญาณ(Collision
  • 9. 9 avoidance) ดวยการที่สถานีสงสัญญาณจะคอยตรวจสอบดูวาเสนทางนําสัญญาณวางอยูหรือไม (มีชองวางระหวาง เฟรมแบบ DIFS) ถาเสนทางนําสัญญาณไมวาง มันก็จะหนวงเวลาการสงสัญญาณขอมูลออกไปจนกระทั่งเสนทางนํา สัญญาณวางจึงทําการสงสัญญาณขอมูลออกไป การจัดการดานพลังงาน เนื่องจากอุปกรณสถานีสงชนิดเคลื่อนที่ได (mobile nodes) ซึ่งใชในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายนั้นมักจะ มีขนาดเล็กกระทัดรัด (เพื่อใหสะดวกตอการพกพา) และมักจะตองอาศัยพลังงานจากแบตเตอรี่ซึ่งก็มีขนาดเล็กกระทัดรัด ดวยเชนกัน จึงสงผลใหเรื่องการจัดการดานพลังงาน (power management) กลายมาเปนปญหาสําคัญอีกอยางหนึ่ง ของการสื่อสารผานเครือขายเน็ตเวิรกไรสายตามไปดวย ซึ่งก็ทําใหตองมีการเสริมมาตรการดานการจัดการพลังงานเขา มาไวในโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC เพื่อใหการใชพลังงานจากแบตเตอรี่เปนไปอยางมีประหยัด เหมาะสม ในขณะที่ ยังคงความสามารถในการเชื่อมโยงสัญญาณกับระบบ และคงระดับประสิทธิภาพความเร็วในการสงผานขอมูลไวไดใน ระดับเดิม สําหรับโปรโตคอลสื่อสารในระบบเครือขายเน็ตเวิรกไรสายที่ใชๆ กันอยูในปจจุบันนี้ มักจะอนุมานวา แตละสถานีในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายตางลวนอยูในสภาวะที่พรอมสําหรับการรับเฟรมสัญญาณขอมูลซึ่งสงออกมา จากเน็ตเวิรกอยูตลอดเวลา (nodes are alway in ready statess) ดังนั้น เทคนิคการจัดการดานพลังงานจึงตองทําให อุปกรณแตละสถานีสามารถปดเครื่องไดแทบจะตลอดเวลา เพื่อประหยัดพลังงานในแบตเตอรี่ ในขณะเดียวกันก็จะตอง คงสภาพในความพรอมรับสัญญาณขอมูลไวในทุกขณะจิตดวยเชนกัน โปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จะอนุญาตใหผูใชอุปกรณคอมพิวเตอรพกพาสามารถเปลี่ยนสถานภาพ การทํางานจากสถานะที่เปนการทํางานเต็มกําลัง (full-powr mode) ไปเปนสถานะการทํางานแบบที่ใชพลังงานนอยๆ (low-power mode) หรือสถานะพัก (sleep mode) ได โดยที่ในระหวางสถานะพักนี้ก็จะตองมีกลไกการทํางานพิเศษ ที่คอยตรวจสอบยืนยันวาจะไมมีความผิดพลาดขาดหกตกหลนของสัญญาณขอมูลที่สงผานไปมาภายในเครือขายเน็ตเวิรก ไรสายเลย นอกจากนั้น มาตรการ จัดการพลังงานของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ยังสามารถทํางานไดทั้งในเน็ต เวิรกระดับ Infrastructure-network และระดับ ad-hoc network และดวย มาตรการการจัดการพลังงานดังที่กลาวมา นี้ ก็จะสงผลใหสามารถยืดอายุแบตตารี่ ของอุปกรณคอมพิวเตอรระดับปาลมท็อป และอุปกรณสแกนเนอรที่ใชไมบอยนัก ออกไปภาสยในเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย
  • 10. 10 ใหมีอายุการใชงานยืนยาวออกไปไดนานนับเปนเดือนเลยทีเดียว การใหบริการแบบ Time-bounded services บริการ Time-bounded services นั้นจากชื่อก็บอกอยูแลววาเปนบริการประเภทที่ผูกพันกับเวลาที่ใช ในการสื่อสารเปนอยางมาก เปนบริการพิเศษในโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ที่ผานทางการทํางานแบบ optional PCF (Point Coordination Function) ซึ่งทํางานเหนือโปรโตคอลสื่อสารพื้นฐาน basic-access protocol อีกทีหนึ่ง เพื่อ ใหบริการ Time-bounded services สามารถดําเนินรวมไปกับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ ที่เวลาไมมีสวนสําคัญในการ ทํางาน (non time sensitive applications) ได รูปที่ 4 แผนภาพแสดงการบริการ Time-bounded services ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ผานทางการทํางาน PCF access method ซึ่งสามารถดําเนินไปพรอมๆ กับการทํางาน DCF access method ที่อยูต่ําลงไปอีกระดับได ดวยการระบุให PCF ทํางานในชวง contention-free peroid และ DCF ทํางานในชวงเวลา contention peroid เพื่อเปนการยืนยันวาบริการ Time-bounded services จะอยูในสภาพ contention-free services เสมอ การทํางานระดับ PCF ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC จึงใชแนวคิดในการสื่อสารแบบ Superframe concept ซึ่งกําหนดวาภายในหนึ่งชวงของ superframe peroid นั้น การทํางาน PCF จะอยูในสภาพทํางาน (active) เฉพาะชวง Contention-free เทานั้น ในขณะที่ชวง contention peroid ก็ปลอยใหเปนเวลาของการทํางานแบบ DCF ซึ่งอยูต่ําลง ไปอีกระดับแทน โดยชวงเวลา Contention-free peroid นั้น สามารถปรับเปลี่ยนชวงเวลาใหสั้น/ยาวขึ้นดวยหลักการ per-superframe basis โดยไมทําใหระบบตองเสียเวลาการทํางานรวมของระบบไปโดยเปลาประโยชนเลย (no additional overhead) รูปที่ 5 แสดงแนวคิด Superframe concept ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ซึ่งอนุญาตใหมีการทํางานผสมผสานกัน ระหวาง DCF และ PCF access method ได เพื่อเปนการยืนยันวาการบริการ Time-bounded services จะสามารถ ดําเนินรวมไปกับการสื่อสารขอมูลชนิด asynchronous transmisssion ได ภายใตแนวคิดแบบ Superframe concept ของโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC นั้น หากในชวงเริ่มตน ของ superframe อุปกรณสงผานสัญญาณขอมูลตรวจพบวาเสนทางนําสัญญาณวางอยู มันก็จะปลอยใหการสงผาน สัญญาณขอมูลอยูภายใตการทํางานของ PCF access method แตถาเกิดพบวาเสนทางนําสัญญาณในขณะดังกลาวไม วางมีการใชงานอยู การทํางาน PCF ก็จะหนวงเวลาสงสัญญาณออกไปจนกระทั่งเฟรมขอมูลที่กําลังครอบครองเสนทาง นําสัญญาณอยูนั้นถูกสงผานลุลวงไปแลว จึงจะเริ่มเขาครอบครองเสนทางนําสัญญาณใหม ฉนั้นชวงระยะเวลาของแตละ superframe จึงสามารถปรับเปลี่ยนสั้น/ยาวขึ้นจากเดิมได
  • 11. 11 ซึ่งในระหวางที่อุปกรณสงผานสัญญาณขอมูลสถานีสงตรวจสอบพบวาเสนทางนําสัญญาณไมวาง หรือ อยูในชวง contention peroid นั้น มันก็จะสงผานสัญญาณขอมูลในรูป asynchronous transmission โดยผานการ ทํางาน DCF แทน อยางไรก็ตาม หลังจากครอบครองเสนทางนําสัญญาณไปไดสักชวงเวลาหนึ่ง มันก็จะสงการควบคุม เสนทางนําสัญญาณกลับไปใหการทํางาน PCF ของมันแทนเมื่อหมดชวงจังหวะของเฟรมขอมูล เพราะตามปรกติแลวการ ทํางานแบบ PCF จะถูกกําหนดใหมีขีดความสําคัญ หรือ prioritty เหนือกวาการทํางาน DCF (เพราะถาไมทําอยางนี้ การทํางาน DCF ซึ่งเปนการทํางานในระดับพื้นฐานกวาก็จะรับงานไปทําเสียหมด แทนที่จะสงตอไปให PCF) วิวัฒนาการแหงมาตรฐานการสื่อสารไรสาย การกอกําเนิดขึ้นของโปรโตคอลสื่อสารไรสาย DFWMAC (Distributed foundation wireless media access control) ซึ่งเปนผลผลิต เลือดผสมจากจากเหลาบริษัทผูผลิต อุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณ สื่อสารโทรคมนาคมขนาดใหญ หลายๆ รายนี้ นับไดวาเปนตัวอยาง ที่ดีมากของมาตรฐานอุตสาหกรรม แหงทศวรรษที่ 90s อันเปนทศวรรษ แหงการเบงบานของโลกประชาธิปไตย และแนวโนมการพัฒนาแบบโลกานุวัตร เพราะในโลกแหงการแขงขันเสรี, การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกระแสโลกานุวัตรนั้น มาตรุานอุตสาหกรรมชนิดใดจะเปนที่ยอมรับใชงานจากคนสวนใหญไดนั้น ไมไดเปนผลสืบเนื่องมาจากประ สิทธิภาพ และความเปนนวัตกรรมใหมแตเพียงอยางเดียว แตจะตองเปนมาตรฐานที่ไดรับจากสังคมสวนใหญดวย และ มาตรฐานใดที่คิดวาจะผลิตของดีออกมาแลวจะใหใครตอใครมาทําตามตนนั้น มีแตจะตองสูญหายไปจากเวที ประวัติศาสตรไปทีละรายสองราย (เหมือนใครบางคนที่มีขอเสนอดีๆ ในการบริหารประเทศออกมายื่นเปนเงื่อนไขวาถา คนอื่นๆ ไมทําตามแลวจะอดขาวไปจนตาย ก็คงตองตายเปลา หรือไมก็ตองเลิกการทรมานตนเองไปในที่สุด) ประวัติของมาตรฐานการสื่อสารไรสายนั้น อาจจะยอนกลับอยางสังเขปไดประมาณ 4 -5 ป นับตั้งแต ตอนที่บริษัท AT&T Global Information Solutions และบริษัท NCR Microelectronic Products Division ได รวมกันกอตั้งหนวยงาน Wireless Communications and Networking Division ขึ้นมาเพื่อลุยตลาดดานการสื่อสารไร สายโดยเฉพาะในป ค.ศ. 1990 โดยมุงเนนไปที่เทคโนโลยีการสื่อสารแบบ direct-sequence spread-spectrum ซึ่ง ก็มีผลทําใหบริษัท NCR กลายสภาพมาเปนผูนําตลาดดานการสื่อสารไรสายไปในชั่วเวลาไมนาน ตอมาในป ค.ศ. 1992 บริษัท NCR ก็ไดรวมมือกับบริษัท Symbol Technologies (San Jose, CA) ในการออกมาตรฐานเพื่อการสื่อสารไรสาย ออกมา ทั้งนี้และทั้งนั้น ก็เปนเพื่อตอบสนองความตองการของเหลาผูบริโภคที่ตองการใหผลิตภัณฑจากยักษใหญดาน การสื่อสารไรสายทั้งสองนี้สามารถทํางานรวมกันได (NCR & Symbol Tech. interoperability)
  • 12. 12 อยางไรก็ดี มิไดมีแตพันธมิคร NCR/Symbol Tech. นี้เทานั้นที่มีการออกมาตรฐานเพื่อการสื่อสารไร สายออกมา เพราะในปเดียวกันนั้นเองสถาบัน IEEE ก็ไดมีการตั้งคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ขึ้นมาเพื่อดูแล พิจารณาหามาตรฐานที่เปนกลางสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสาย และทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ไดรับขอเสนอเรื่องขอกําหนดมาตรฐานการสื่อสารไรสาย MAC (media access control) specifications จากบริษัทผูผลิตผลิตภัณฑการสื่อสารไรสายรายอื่นๆ มาไวในมือถึง 11 ขอเสนอดวยกัน โดยขอเสนอเรื่องมาตรฐานการสื่อสารไรสาย (wireless proposal) เหลานั้น สามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมใหญๆ กลุมแรกเปนพวก distribution-access protocols ที่มุงเนนไปที่การบริหารเน็ตเวิรกแบบกระจายอํานาจ ออกไปยังเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายที่ตอพวงอยูภายในเครือขายเน็ตเวิรกโดยผานทางกลไกการจัดการเน็ตเวิรกแบบ CSMA/CD คลายๆ กับที่ใชกันในเครือขายเน็ตเวิรก Ethernet สวนมาตรฐานอีกกลุมก็เปนพวกที่มุงเนนไปที่การบริหาร จากสวนกลาง (centralized-access protocols) โดยมีเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญๆ ประสิทธิภาพสูงทํางานเปนหัวใจ ของการสื่อสาร ในการทําความเขาใจเกี่ยวกับขอเสนอมาตรฐานการสื่อสารนั้น คิดวาเราควรจะเริ่มจากโปรโตคอล สื่อสาร "WMAC (wireless media access control)" ของบริษัท NCR/Symbol ที่เริ่มออกมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1992 เพราะถือเปนหนึ่งในตนกําเนิดแหงมาตรฐานที่เราใชๆ กันอยู โดยโปรโตคอลสื่อสาร WMAC นี้มีที่มาจากการ นําเอาโปรโตคอง Distributed-access protols มาปะแปงแตงหนาเสียใหมดวยรูปแบบการทํางานตางๆ เชน power management, synchronization, และบริการ Time-bounded services ฯลฯ ตอมาในเดือนมีนาคมปถัดมา (ป ค.ศ. 1993) บริษัท Xircom ก็เริ่มมีโปรโตคอลสื่อสารไรสายออกสู ตลาดบาง ภายใตชื่อวา "WHAT (wireless hbid asynchronous time-bounded) MAC protocol" ซึ่งมีการเสริมเอา ความสามารถในการสนับสนุนการทํางานแบบ Hidden nodes เขามาใน Distributed-access protocol ดวย นอกเหนือไปจากบริการ Time-bounded services พอถัดมาจากนั้นอีกเพียงสองเดือน เหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณเพื่อการสื่อสารไรสายรายอื่นๆ ก็ตางพากัน ออกโปรโตคอลสื่อสารกันออกมากันเปนการใหญอยางเชน บริษัท Spectrix ก็มีโปรโตคอลสื่อสาร CODIAC (centralized or distributed integrated access control) MAC protocol, ในขณะที่บริษัท National Semiconductor (Sunnyvalle, CA) ก็จับเอาโปรโตคอลสื่อสารของ IBM และ Xircom มาปนรวมกันเสียใหมเปน โปรโตคอลสื่อสารลูกผสม (hybrid protocol) หลังจากนั้นอีกไมถึงครึ่งป (กันยายน ค.ศ. 1993) ทางคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ตกลง เลือกขอเสนอมาตรฐานการสื่อสารไรสายออกมา 5 ขอเสนอ จากที่เคยรับขึ้นมา 11 ขอเสนอ เพื่อใชเปนจุดตั้งตน สําหรับการหาขอสรุปในเรื่องมาตรฐานการสื่อสารไรสายที่จะมีการประชุมกันในเดือนพฤศจิกายน ซึ่งหาขอเสนอที่ถูก เลือกไวโดยคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ประกอบไปดวยโปรโตคอลสื่อสารแบบ distributed-access protocol 2 ชนิด (NCR/Symbol WMAC และ Xircom's WHAT), โปรโตคอลสื่อสารแบบ centralized access protocol 2 ชนิด (IBM และ Spectrix's CODIAC) และอีกหนึ่งโปรโตคอลสื่อสารลูกผสม (National Semiconductor's WHO)
  • 13. 13 อยางไรก็ตาม ในระหวางที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 กําลังการดําเนินการเพื่อหามาตรฐาน ที่ดีที่สุดสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายอยูนั้น ทางเหลาบริษัทผูผลิตซึ่งมีชื่ออยูในกลุมที่ถูกเลือกนั้น ก็มิได นั่งรอการประกาศผลอยูอยางนิ่งๆ แตประการใด แตตางก็มีกิจกรรมในรูปแบบตางๆ ซึ่งมีผลตอมาตรฐานการสื่อสารไร สายออกมาอยูเปนระยะๆ ดวยเชนกัน เชน โปรโตคอลสื่อสาร CODIAC และ WHO มีการออกผลิตภัณฑในโหมดที่สอง ซึ่งเลียนแบบการทํางานของโปรโตคอลสื่อสาร WHAT ออกมา, ในขณะที่สามบริษัทยักษ NCR, Symbol, และ Xircom ก็ตกลงปลงใจรวมเอาโปรโตคอลสื่อสารของตน เขาดวยกันกลายเปนมาตรฐานโปรโตคอลสื่อสารใหมที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นกวาเดิมออกมาภายใตชื่อเรียกวา DFWMAC (Distributed Foundation MAC) ซึ่งประกอบไปดวยการทํางานหลักเดิมๆ ที่มีในโปรโตคอลสื่อสาร WMAC อยู 95 เปอรเซนต ที่เหลือก็เสริมเอาการทํางานสําคัญๆ อยางการทํางาน hidden-nodes protection ของโปรโตคอลสื่อสาร WHAT, PHY (physical) independent, และการทํางาน synchronization support สําหรับเน็ตเวิรก ad-hoc networks ฯลฯ เสริมเพิ่มเขามา ผลจากการพัฒนาในลักษณะดังกลาว ทําใหโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC กลายเปนโปรโตคอลสื่อสาร ไรสายที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเมื่อเทียบกับโปรโตคอลสื่อสารชนิดอื่นๆ ที่สําคัญ มันยังเปนโปรโตคอลสื่อสารที่มีบริษัท ตางเขามารวม และใหการยอมรับมากที่สุดอีกดวย ดังนั้น เมื่อถึงเวลาประชุมสรุปคัดเลือกโปรโตคอลสื่อสารอันเปน มาตรฐานของคณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ทําใหโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ถูกโวตเลือกใหใชเปน มาตรฐานกลางสําหรับการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายดวยคะแนนเสียยงสวนใหญถึง 75 เปอรเซนต การเขาสูระดับมาตรฐานสากล เพื่อใหมาตรฐานดานการสื่อสารในเครือขายเน็ตเวิรกไรสายของตนเปนที่ยอมรับไปทั่วโลก คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 จึงไดพยายามแสวงหาความรวมมือระหวางองคกรมาตรฐานตางๆ ตามความ เหมาะสม และตามที่โอกาสอํานวยอีกดวย ตัวอยางของความรวมมือดังกลาวก็ไดแก การรวมมือกับกลุม T1P1 group แหงคณะกรรมการมาตรฐาน T1 Accredited Standards Committee และกับกลุม TR32/TR45 groups ภายใต สมาคมอุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคม the Telecommunications Industry Association ฯลฯ โดยความรวมมือกับกลุม T1P1 group นั้นมุงเนนไปที่ความสามารถในการทํางานรวม (interoperability) กับบริการดานโทรศัพท Public telephone, บริการ ISDN (Integrated services digital network), และโทรศัพทเซลลูลาร (cellular telephone) ฯลฯ ในขณะที่ความรวมมือกับกลุม TR2/TR45 นั้น ก็มุง ประเด็นไปที่การสื่อสารสัญญาณเสียงระบบดิจิตัล (digital-voice) ผานทางบริการโทรศัพทไรสาย (cordless telephone) และโทรศัพทเคลื่อนที่ (mobile telephones) คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ยังมีการแสวงหาความรวมมือขามฝากไปยังทวีปยุโรป กับกลุม ETSI (European Telecommunications Standards Group) อีกดวย โดยจุดที่คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ใหความสนใจเปนพิเศษก็คือ คณะกรรมการ ETSI-RES 2 committee ซึ่งกําหนดมาตรฐานสําหรับ land mobile systems operating ในชวงแบนดวิดทสัญญาณขนาด 2.4 GHz, และคณะกรรมการ ETSI-RES 10 committeee ซึ่ง
  • 14. 14 กําหนดรางมาตรฐานสําหรับเน็ตเวิรกสมรรถนะสูง HIPERLAN (High-performance LAN) ซึ่งรองรับการสงผาน สัญญาณขอมูลความเร็วขนาด 10 - 20 Mbps ผานชวงแบนดวิดทสัญญาณขนาด 5.2 GHz สวนทางดานหนวยงานธุรกิจเอกชนนั้นเหลา มาตรฐานโปรโตคอลสื่อสาร DFWMAC ของ คณะกรรมการ IEEE Project 802.11 ก็ไดรับการยอมรับเปนอยางดีจากเหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณคอมพิวเตอร และ อุปกรณสื่อสารเปนอยางดี ไมวาจะเปน AMD, DEC, International Computers, National Semiconductor, NEC, Norand, Telxon, หรือ Toshiba ฯลฯ รวมทั้งยังจะมีเหลาบริษัทผูผลิตอุปกรณเหลานี้ทยอยติดตามเขามาในมาตรฐาน การสื่อสารแบบ DFWMAC นี้เรื่อยๆ ดังนั้น จึงเหมือนเปนการรับประกันใหกับเหลาผูบริโภคอยางเราๆ ทานๆ ไปโดย ปริยายวา ยังไงอุปกรณที่เราซื้อๆ มานั้น ก็คงจะสามารถทํางานรวมกันไดเสมอ (interoperability) ตราบใดก็ตามที่ อุปกรณเหลานี้ยังคงถูกผลิตตามมาตรฐานการสื่อสาร DFWMAC