SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
 ดนตรีไทย ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนา เช่นการสมโภชหรือการ
ฉลองพระพุทธรูปหรือการนามาประกอบการทาพิธีเลี้ยงพระ เช้า-เย็น
จะมีการกาหนดเพลงเป็นรูปแบบโดยเฉพาะ การไหว้ครูทางดนตรี-
นาฏศิลป์จะมีเพลงบรรเลงเพื่ออัญเชิญครู การเทศน์มหาชาติ ซึ่งสิ่ง
เหล่านี้เป็นความเกี่ยวข้องของดนตรีไทยกับศาสนาที่สร้างสรรค์เป็น
บทเพลงต่างๆ เช่น
 หลังจากการสร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๓ ในสมัยกรุงสุโขทัยมีการบรรเลงด้วย
ฆ้อง กลอง ปี่ มีการเป่าเขา ร่วมด้วย กลองตะโพน กลองทัด แตรสังข์ กังสดาล
การสมโภชครั้งนี้มีขึ้นที่จังหวัดลาพูน เป็นการค้นคว้าจากศิลาจารึกวัดพระยืน
จังหวัดลาพูน เพื่อแสดงให้เห็นว่าดนตรีไทยมีการอ้างอิงถึงตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็น
ราชธานี และมีเครื่องดนตรีชนิดใดบ้าง ส่วนการบรรเลงมีแต่การสันนิษฐานว่า
เป็นการบรรเลงประโคมไฟ
 การทาบุญเลี้ยงพระมีการปฏิบัติกันมาเสมอทั้งในเวลาเทศกาลหรือนอกเทศกาล
ตามแต่โอกาสการเลี้ยงพระจะนิมนต์พระมาสวดมนต์เย็นก่อน สวดเสร็จแล้วก็
กลับวัด ในตอนเช้าจึงนิมนต์พระมาฉันเช้า ช่วงทาเพลงตอนเย็น เรียกว่า โหม
โรงเย็น เพื่อประกาศให้ชาวบ้านทราบว่าที่นี้มีการสวดมนต์เย็น และถือว่าเป็น
การอัญเชิญเทพยดามาเป็นสิริมงคลในงาน เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเย็นเรียง
ตามลาดับ ดังนี้
 เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเย็น
๑.เพลงสาธุการ ๒. เพลงตระ
๓. รัวสามลา ๔. เพลงเข้าม่าน
๕. เพลงปฐม ๖. เพลงลา
๗. เพลงเสมอ ๘. เพลงรัวลาเดียว
๙. เพลงเชิด ๑๐ เพลงกลม
๑๑. เพลงชานาญ ๑๒. เพลงกราวใน-ลา
 เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเช้า
๑.เพลงสาธุการ ๒.เพลงเหาะ
๓. เพลงรัวลาเดียว ๔. เพลงกลม
๕.เพลงชานาญ
 นอกจากการเลี้ยงพระแล้วยังมี โหมโรงเทศน์ ซึ่งจะใช้ก่อนพระจะขึ้นเทศน์เพื่อ
บอกกล่าวชาวบ้านว่ามีพระธรรมเทศนาและเป็นการเชิญ เทพยดา มาชุมนุมใน
งานด้วย เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเทศน์ เรียงตามลาดับ ดังนี้
๑.เพลงสาธุการ ๒. เพลงกราวใน ๓. เพลงเสมอ ๔. เพลงเชิด
๕. เพลงชุบ ๖. เพลงลา
 คือ การนาดนตรีไทยมาบรรเลง ประกอบการเทศน์ชาดกที่เล่าต่อกันมา เรียกว่า
เทศน์มหาชาติ ซึ่งมีจานวน ๑๓ กัณฑ์ แต่ละกัณฑ์ มีความยาวพอสมควร และมี
เรื่องราวที่น่าติดตาม มีการบรรเลงเพลงประจากัณฑ์ เพื่อให้พระที่ได้รับนิมนต์
ได้พักการเทศน์ และเพื่อประกอบบรรยากาศชาดกกัณฑ์นั้นๆ ให้ผู้มาฟังเทศน์
มหาชาติชาดกได้ฟังและมีอารมณ์ร่วม ไปกับการเทศน์กัณฑ์ต่างๆ
 กัณฑ์ ทั้ง ๑๓ มีการบรรเลงเพลง ดังนี้
๑.กัณฑ์ทศพร ใช้เพลง สาธุการ
๒. กัณฑ์หิมพานต์ ใช้เพลง ตวงพระธาตุ
๓. กัณฑ์ทานกัณฑ์ ใช้เพลง พระยาโศก
๔. กัณฑ์วนประเวศ ใช้เพลง พระยาเดิน
๕. กัณฑ์ชูชก ใช้เพลง เซ่นเหล้าและเพลงคางคาวกินกล้วย
๖. กัณฑ์จุลพน ใช้เพลง คุกพาทย์
๗. กัณฑ์มหาพน ใช้เพลง เชิดกลอง
๘. กัณฑ์กุมาร ใช้เพลง โอดและเพลงเฉิดฉิ่ง
๙. กัณฑ์มัทรี ใช้เพลง ทยอยโอด
๑๐.กัณฑ์สักกบรรพ ใช้เพลง เหาะ
๑๑. กัณฑ์มหาราช ใช้เพลง กราวนอก
๑๒. กัณฑ์ฉกษัตรย์ ใช้เพลง ตระนอน
๑๓. กัณฑ์นครภัณฑ์ ใช้เพลง กลองโยน
นอกจากนี้ยังใช้ดนตรีไทยบรรเลงประกอบเพลงไหว้ครูดนตรีไทย และไหว้ครู
โขน ละคร เพื่อเป็นการอัญเชิญบรรดาครูและเทพยดาต่างๆ เข้าสู่พิธี เพลง
เหล่านี้ เรียกว่า เพลงหน้าพาทย์ ตัวอย่างเช่น เวลาอัญเชิญพระรัตนตรัยจะใช้
เพลงสาธุการ เป็นต้น สมัยโบราณมาจนถึงปัจจุบันเพลงสาธุการจะใช้ในศาสนา
มากว่าเพลงอื่นๆ เพราะทุกครั้งก่อนพระจะขึ้นธรรมาสน์เทศนาธรรม วงปี่พาทย์
จะบรรเลงเพลงสาธุการเสมอ ส่วนใหญ่ดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบทางศาสนามัก
ใช้วงปี่พาทย์บรรเลง
น.ส. ชญาณี วิเวก ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๕ ก.
น.ส. ปัณยาลักษณ นิลรอด ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๖ ก.
น.ส. วรรณธนี สุขเกษม ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๑๑ ข.
น.ส. อริสา หมื่นบวร ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๑๘ ข.

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Nattha Namm
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
teerachon
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 

Similaire à ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
อำนาจ ศรีทิม
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
อำนาจ ศรีทิม
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
พัน พัน
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Bird Pongburut
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
Thassanee Buasri
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
tonsocial
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
Tepasoon Songnaa
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
Tepasoon Songnaa
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
peter dontoom
 
ความหมายพานพุ่ม
ความหมายพานพุ่มความหมายพานพุ่ม
ความหมายพานพุ่ม
Patcharee Kongpun
 

Similaire à ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย (11)

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
สถานที่ท่องเที่ยงในจังหวัดสกลนคร
สถานที่ท่องเที่ยงในจังหวัดสกลนครสถานที่ท่องเที่ยงในจังหวัดสกลนคร
สถานที่ท่องเที่ยงในจังหวัดสกลนคร
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
ความหมายพานพุ่ม
ความหมายพานพุ่มความหมายพานพุ่ม
ความหมายพานพุ่ม
 

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย

  • 1.
  • 2.  ดนตรีไทย ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับศาสนา เช่นการสมโภชหรือการ ฉลองพระพุทธรูปหรือการนามาประกอบการทาพิธีเลี้ยงพระ เช้า-เย็น จะมีการกาหนดเพลงเป็นรูปแบบโดยเฉพาะ การไหว้ครูทางดนตรี- นาฏศิลป์จะมีเพลงบรรเลงเพื่ออัญเชิญครู การเทศน์มหาชาติ ซึ่งสิ่ง เหล่านี้เป็นความเกี่ยวข้องของดนตรีไทยกับศาสนาที่สร้างสรรค์เป็น บทเพลงต่างๆ เช่น
  • 3.  หลังจากการสร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๓ ในสมัยกรุงสุโขทัยมีการบรรเลงด้วย ฆ้อง กลอง ปี่ มีการเป่าเขา ร่วมด้วย กลองตะโพน กลองทัด แตรสังข์ กังสดาล การสมโภชครั้งนี้มีขึ้นที่จังหวัดลาพูน เป็นการค้นคว้าจากศิลาจารึกวัดพระยืน จังหวัดลาพูน เพื่อแสดงให้เห็นว่าดนตรีไทยมีการอ้างอิงถึงตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็น ราชธานี และมีเครื่องดนตรีชนิดใดบ้าง ส่วนการบรรเลงมีแต่การสันนิษฐานว่า เป็นการบรรเลงประโคมไฟ
  • 4.  การทาบุญเลี้ยงพระมีการปฏิบัติกันมาเสมอทั้งในเวลาเทศกาลหรือนอกเทศกาล ตามแต่โอกาสการเลี้ยงพระจะนิมนต์พระมาสวดมนต์เย็นก่อน สวดเสร็จแล้วก็ กลับวัด ในตอนเช้าจึงนิมนต์พระมาฉันเช้า ช่วงทาเพลงตอนเย็น เรียกว่า โหม โรงเย็น เพื่อประกาศให้ชาวบ้านทราบว่าที่นี้มีการสวดมนต์เย็น และถือว่าเป็น การอัญเชิญเทพยดามาเป็นสิริมงคลในงาน เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเย็นเรียง ตามลาดับ ดังนี้
  • 5.  เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเย็น ๑.เพลงสาธุการ ๒. เพลงตระ ๓. รัวสามลา ๔. เพลงเข้าม่าน ๕. เพลงปฐม ๖. เพลงลา ๗. เพลงเสมอ ๘. เพลงรัวลาเดียว ๙. เพลงเชิด ๑๐ เพลงกลม ๑๑. เพลงชานาญ ๑๒. เพลงกราวใน-ลา  เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเช้า ๑.เพลงสาธุการ ๒.เพลงเหาะ ๓. เพลงรัวลาเดียว ๔. เพลงกลม ๕.เพลงชานาญ
  • 6.  นอกจากการเลี้ยงพระแล้วยังมี โหมโรงเทศน์ ซึ่งจะใช้ก่อนพระจะขึ้นเทศน์เพื่อ บอกกล่าวชาวบ้านว่ามีพระธรรมเทศนาและเป็นการเชิญ เทพยดา มาชุมนุมใน งานด้วย เพลงที่ใช้บรรเลงโหมโรงเทศน์ เรียงตามลาดับ ดังนี้ ๑.เพลงสาธุการ ๒. เพลงกราวใน ๓. เพลงเสมอ ๔. เพลงเชิด ๕. เพลงชุบ ๖. เพลงลา
  • 7.  คือ การนาดนตรีไทยมาบรรเลง ประกอบการเทศน์ชาดกที่เล่าต่อกันมา เรียกว่า เทศน์มหาชาติ ซึ่งมีจานวน ๑๓ กัณฑ์ แต่ละกัณฑ์ มีความยาวพอสมควร และมี เรื่องราวที่น่าติดตาม มีการบรรเลงเพลงประจากัณฑ์ เพื่อให้พระที่ได้รับนิมนต์ ได้พักการเทศน์ และเพื่อประกอบบรรยากาศชาดกกัณฑ์นั้นๆ ให้ผู้มาฟังเทศน์ มหาชาติชาดกได้ฟังและมีอารมณ์ร่วม ไปกับการเทศน์กัณฑ์ต่างๆ
  • 8.  กัณฑ์ ทั้ง ๑๓ มีการบรรเลงเพลง ดังนี้ ๑.กัณฑ์ทศพร ใช้เพลง สาธุการ ๒. กัณฑ์หิมพานต์ ใช้เพลง ตวงพระธาตุ ๓. กัณฑ์ทานกัณฑ์ ใช้เพลง พระยาโศก ๔. กัณฑ์วนประเวศ ใช้เพลง พระยาเดิน ๕. กัณฑ์ชูชก ใช้เพลง เซ่นเหล้าและเพลงคางคาวกินกล้วย ๖. กัณฑ์จุลพน ใช้เพลง คุกพาทย์ ๗. กัณฑ์มหาพน ใช้เพลง เชิดกลอง ๘. กัณฑ์กุมาร ใช้เพลง โอดและเพลงเฉิดฉิ่ง ๙. กัณฑ์มัทรี ใช้เพลง ทยอยโอด ๑๐.กัณฑ์สักกบรรพ ใช้เพลง เหาะ ๑๑. กัณฑ์มหาราช ใช้เพลง กราวนอก ๑๒. กัณฑ์ฉกษัตรย์ ใช้เพลง ตระนอน ๑๓. กัณฑ์นครภัณฑ์ ใช้เพลง กลองโยน
  • 9. นอกจากนี้ยังใช้ดนตรีไทยบรรเลงประกอบเพลงไหว้ครูดนตรีไทย และไหว้ครู โขน ละคร เพื่อเป็นการอัญเชิญบรรดาครูและเทพยดาต่างๆ เข้าสู่พิธี เพลง เหล่านี้ เรียกว่า เพลงหน้าพาทย์ ตัวอย่างเช่น เวลาอัญเชิญพระรัตนตรัยจะใช้ เพลงสาธุการ เป็นต้น สมัยโบราณมาจนถึงปัจจุบันเพลงสาธุการจะใช้ในศาสนา มากว่าเพลงอื่นๆ เพราะทุกครั้งก่อนพระจะขึ้นธรรมาสน์เทศนาธรรม วงปี่พาทย์ จะบรรเลงเพลงสาธุการเสมอ ส่วนใหญ่ดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบทางศาสนามัก ใช้วงปี่พาทย์บรรเลง
  • 10. น.ส. ชญาณี วิเวก ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๕ ก. น.ส. ปัณยาลักษณ นิลรอด ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๖ ก. น.ส. วรรณธนี สุขเกษม ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๑๑ ข. น.ส. อริสา หมื่นบวร ชั้น ม.๔ /๑๒ เลขที่ ๑๘ ข.