SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
ชุด ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นระถมศึกษาปีที่ 6
เล่มที่
2
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
โรงเรียนบ้านต้นปรง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
เรื่อง : สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
ภาพ : จุฑาภรณ์ เชื้อเพ็ชร
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ชุด ครอบครัวสุขสันต์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นระถมศึกษาปีที่ 6
เล่มที่
2
คำนำ
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบ-
การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง
ผู้จัดทาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการสร้างสัมพันธภาพ นามาเรียบเรียงเป็นวรรณกรรม สาหรับเด็ก
เพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ นาความรู้ที่ได้จากการ
อ่านมาพัฒนาวิธีการสร้างสัมพันธภาพของตนเอง ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุขได้จัดทาขึ้น จานวน 8 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 สัมพันธภาพอันล้าค่า
เล่มที่ 2 ครอบครัวสุขสันต์
เล่มที่ 3 สุขอยู่ที่ใจ
เล่มที่ 4 มองแง่ดีมีความสุข
เล่มที่ 5 เด็กดีศรีต้นปรง
เล่มที่ 6 ความรักวัยรุ่น
เล่มที่ 7 ชีวิตกาญจนาน่าเรียนรู้
เล่มที่ 8 กีฬาสัมพันธภาพ
หนังสือที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ เป็นเล่มที่ 2 เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์
เป้าหมาย ต้องการเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
ขอบคุณ นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง คณะ
ครู และนักเรียน ผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งที่ได้รับความกรุณา ให้คาปรึกษา
แนะนา แก้ไข ข้อบกพร่อง จนการดาเนินการจัดทาสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
คำชี้แจง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ ผู้จัดทาเขียนขึ้นเหมาะกับ
บริบทของนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง หากโรงเรียนใดนาไปใช้ให้ประสบ
ผลสาเร็จ เป็นไปตามเป้าประสงค์ที่วางไว้ จึงมีข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอน
และผู้เรียนดังต่อไปนี้
คำชี้แจงสำหรับครูผู้สอน
1. หนังสือเล่มนี้ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 -5
2. ศึกษาและปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกประการ
3. ครูอ่านหนังสือเล่มนี้และทาความเข้าใจก่อนที่จะนามาใช้กับผู้เรียน
4. สร้างข้อตกลงในการใช้หนังสือ
5. แจกหนังสือกับนักเรียนทุกคน
6. ครูแจกกระดาษคาตอบ หรืออุปกรณ์ สาหรับทาแบบทดสอบท้าย
บทเรียน
บทบำทผู้เรียน
1. อ่านคาแนะนาการใช้หนังสือให้เข้าใจ
2. ไม่ทาเครื่องหมายหรือขีดเขียนลงในหนังสือ
3. ส่งหนังสือคืนครูหลังจากเรียนจบในแต่ละเล่ม
4. อ่านแล้วต้องคิดตามนาความรู้มาพัฒนาตนเอง
วันหยุดเสาร์ และอาทิตย์ ครอบครัวของผมจะอยู่กัน
พร้อมหน้า มีคุณพ่อ คุณแม่ น้องแก้ม และผม แก้ว ครับ
ถึงแม้จะเป็นวันหยุด ผมกับน้องแก้มก็ไม่เคยนอนตื่นสาย
เพราะพ่อกับแม่ ฝึกให้ผมและน้องตื่นนอนตั้งแต่เช้าอยู่เสมอ ๆ
นกบินออกหากิน เพื่อทาให้อยู่ดีมีสุข คนทาหน้าที่ดีชีวิตมีค่า
2
อยู่กันพร้อม
หน้า
พ่อสอนผมกับน้องแก้มเสมอว่า “ ถึงแม้เราจะเป็นเด็ก แต่
เราก็สามารถช่วยเหลือ รับผิดชอบ และรู้จักการแบ่งปันสิ่งต่าง ๆ
ให้กับผู้อื่นได้ ตามความสามารถและกาลังที่มี ”
ทุกเช้าผมและน้องแก้ม ต่างก็มีหน้าที่ ที่จะต้องรับผิดชอบ
ช่วยเหลืองานภายในบ้าน เท่าที่จะทาได้ เช่น ล้างรถ กวาดบ้าน
และรถน้าต้นไม้ เป็นต้น
รู้หน้าที่ ทาหน้าที่ ช่วยเหลือกัน บ้านเราคือบ้านแสน
สุขสบาย
3
รู้หน้าที่
แม่ก็ยังย้ากับผมและน้องแก้มอีกด้วยว่า “ ไม่ว่าเราจะอยู่กับ
ครอบครัว หรือกับเพื่อน ๆ ที่โรงเรียน ถ้าหากเรามีความรับผิดชอบใน
หน้าที่ มีน้าใจ ช่วยเหลือ เคารพในสิทธิของผู้อื่น และรู้จักการให้
อภัย ปัญหาก็จะน้อย หรือไม่เกิดปัญหา เมื่อการอยู่ร่วมกันไม่
ก่อให้เกิดปัญหา สัมพันธภาพที่ดีก็จะตามมา และสังคมก็จะมี
ความสุข”
4
คนดีน่ารัก
ผมคิดว่าการสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว เป็นเรื่อง
ง่าย ๆ ที่ทุกครอบครัวสามารถปฏิบัติได้ คือ พ่อแม่มีความ
ห่วงใย ดูแลเอาใจใส่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สร้างความเข้าอก
เข้าใจ ท้ากิจกรรมร่วมกัน เช่น การปลูกต้นไม้ ทาอาหาร และ
ร้องเพลง เป็นต้น
บ้านเรานี่แหละสุขใจ ไม่มีที่ไหนเหมือนบ้าน ทุกคนช่วยกัน
อยู่ด้วยกันอย่างห่วงใย เห็นใจกัน คือกุญแจบ้านที่สร้างความสุข
5
ดวงใจพ่อแม่
นอกจากการปฏิบัติตนที่ดีแล้ว การเลือกใช้คาพูดที่สุภาพ
อ่อนหวาน และไม่แสดงกิริยาที่หยาบคาย ก็ถือเป็นสิ่งสาคัญของ
การอยู่ร่วมกัน
โดยเฉพาะกับบุคคลในครอบครัว เมื่อเกิดปัญหา ความไม่
เข้าใจ ทุกคนในบ้านควรจะพูดคุยกันด้วยเหตุและผล เปิด
โอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนในการแสดงความคิดเห็น และจะต้อง
รู้จักที่จะกล่าวค้าว่า “ ขอโทษ ” เมื่อตนเป็นคนผิด
6
วาจาดีมีน้าใจ
มีหลายอย่างที่ผมเคยเข้าใจผิด ผมคิดมาตลอดว่า งานบ้าน
ทั้งหมด เช่น การกวาดบ้าน ถูบ้าน และทาอาหาร เป็นต้น ควร
จะเป็นหน้าที่ของผู้หญิง ส่วนผู้ชายก็ต้องรับผิดชอบงานหนัก เช่น
การล้างรถ ซ่อมโต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น
แต่สิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากพ่อและแม่ คือ ผมเห็นแม่ทางาน
แทนพ่อได้ และพ่อก็สามารถทางานแทนแม่ได้ เช่นกัน
ทุกคนช่วยกัน ครอบครัวสุขสันต์จะมีได้เสมอ
7
บ้านนีมีสุข
ด้วยความสงสัย ผมจึงถามพ่อ “ เราอยู่ด้วยกัน เราก็ต้องรู้จัก
ช่วยเหลือ แบ่งเบาภาระ ใครมีความสามารถที่จะทาอะไรได้ เราก็ควร
จะทา ไม่ว่าจะเป็นงานอะไร ถ้าหากเราท้าด้วยความสุข ไม่ท้าให้ใคร
เดือดร้อน แค่นีก็พอแล้วล่ะลูก ” นี่คือคาตอบของพ่อ
ทาให้ผมรู้สึกภาคภูมิใจ ที่ได้เกิดมาเป็นลูกของพ่อ การอยู่ร่วมกัน
ด้วยความรัก รู้จักช่วยกันทุกวัน ที่ทางานคือความสุขใจ
8
ทุกคนช่วยกัน
หลังเสร็จภารกิจจากงานบ้านแล้ว ผมกับน้องแก้มมักจะ
เข้าไปนั่งคุย และฟังเรื่องเล่าสนุก ๆ ของพ่อและแม่เสมอ และ
ทุกเรื่องที่พ่อเล่าให้ผมฟัง ก็มักจะแฝงไว้ด้วยข้อคิด และคาสอน
ดี ๆ ไว้คอยเตือนสติเสมอ
9
แบ่งปันข้อคิด
ผมรู้สึกดีใจ และภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวที่มีทั้งความ
รัก ความเข้าใจ และเป็นครอบครัวที่มีสัมพันธภาพที่ดี
หลังจากที่แก้ว อ่านเรียงความ เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์ จบแล้ว
เพื่อน ๆ ในห้องต่างก็ปรบมือ และชื่นชมแก้ว
10
อยู่กันพร้อมหน้า
ก่อนหมดชั่วโมงเรียน คุณครูสรุปการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
ว่า “ การสร้างสัมพันธภาพที่อบอุ่นระหว่างสมาชิกในครอบครัว พ่อแม่
จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูก ๆ ปลูกฝังให้ลูกมีความรัก รับผิดชอบ
รู้จักช่วยเหลือ การยอมรับในความแตกต่าง เมื่อเราอยู่ด้วยกันอย่าง
เข้าใจ ความสุข และความอบอุ่นก็จะเกิดขึ้นในทุกครอบครัว”
“ครอบครัวคือเกราะป้องกันทุกปัญหา รับปรึกษาชี้ทางแก้แก่ลูกใย
ยามพลาดพลั้งไม่ซ้าเติมจนน้อยใจ เฝ้าห่วงใยซักถามตลอดมา
หากวันใดทุกข์ตรมอารมณ์หมอง คิดไตร่ตรองทบทวนกันเถิดหนา
ยังมีพ่อแม่ให้ลูกพึ่งพา คอยเยียวยาปลอบโยนอยู่เรื่อยไป”
11
อยู่กันพร้อมหน้า
อธิบำยคำศัพท์
คำศัพท์ คำอ่ำน ควำมหมำย
รับผิดชอบ รับ – ผิด – ชอบ ภาระ หรือพันธะผูกพัน ในการ
จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตาม
เป้าหมาย
หน้าที่ หน้า – ที่ ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่
จะต้องปฏิบัติ
สิทธิ สิด–ทิ อานาจหรืผลประโยชน์ของ
บุคคลที่กฎหมายให้ความ
คุ้มครอง
อภัย อะ– ไพ ความไม่มีภัย ความไม่ต้องกลัว
กิริยำ กิ – ริ – ยา อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย
มารยาท
ภำคภูมิ พาก –พูม มีสง่า ผึ่งผาย
ภำรกิจ พา – ระ –กิด งานที่จะต้องทา
สุขสันต์ สุก – สัน มีความสงบ
สมำชิก สะ – มา –ชิก ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมใน
สมาคม องค์การ หรือกิจกรรม
ใด ๆ
12
แบบทดสอบท้ำยบทเรียน
ตอนที่ 1 ตอบคาถามให้ถูกต้อง
1. ให้นักเรียนทาผังความคิดวิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ จุดด้อยในการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
ของนักเรียนเองที่คิดว่ายังต้องปรับปรุง และจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
3. นักเรียนเขียนถึงความสุขและความประทับใจในสัมพันธภาพที่ดีของ
ครอบครัว พร้อมบอกเหตุผล
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ให้นักเรียนคิดว่าลักษณะครอบครัวของนักเรียนเป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
5. ให้นักเรียนเขียนคาขวัญ เกี่ยวกับการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
คนละ 1 คาขวัญ (ตัวอย่าง พ่อแม่ลูกรักกันสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว
ยิ้มหัวเราะวันละนิด จิตแจ่มใส)
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
13
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. สถาบันใดเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างสัมพันธภาพเป็นอันดับแรก
ก. ชุมชน
ข. โรงเรียน
ค. ครอบครัว
ง. สถานที่ทางาน
2. ข้อใดต่างจากพวก
ก. พูดจาไพเราะ
ข. ยิ้มแย้มแจ่มใส
ค. โอนอ่อนผ่อนตาม
ง. ซักไซ้ไล่เลียงเค้นเอาความจริง
3.ใครมีมนุษยสัมพันธ์กับคนอื่นมากที่สุด
ก. สุชาติ ไม่เคยเล่นกับเพื่อนบ้านและไม่เคยทาร้ายใคร
ข. สุพจน์ เตะฟุตบอลโดนเพื่อนแต่รีบวิ่งไปขอโทษ
ค. สุชลวิ่งชนกับเพื่อนลุกขึ้นเอะอะโวยวายดึงคอเสื้อเพื่อนแล้วต่อย
ง. สุรัตน์ ชวนชาลีมาเล่นแต่ชาลีไม่ยอมเล่นเพราะสุรัตน์เอาแต่ใจ
4.ข้อใดที่ทาให้ความรู้สึกของผู้กระทาผิดดีขึ้นเร็วที่สุด
ก. ให้อภัย
ข. ให้อาหาร
ค. ให้ความรู้
ง. ให้ความเมตตา
14
5. ข้อใดเป็นสัมพันธภาพที่ไม่จริงใจ
ก. ช่วยถือของให้
ข. จูงคนชราข้ามถนน
ค. บีบนวดให้ผู้ใหญ่
ง. พูดจาอ่อนหวานเพื่อขอสิ่งแลกเปลี่ยน
6. ข้อใดเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ไม่ต้องลงทุน
ก. เตรียมของขวัญวันเกิดให้เพื่อน
ข. การยิ้มและการทักทาย
ค. นาขนมมาแจกให้เพื่อน
ง. การชวนเพื่อนมาร้องคาราโอเกะที่บ้าน
7.ถ้านักเรียนมีปัญหาครอบครัวนักเรียนปรึกษาใครปลอดภัยที่สุด
ก. พ่อ แม่
ข. ครู อาจารย์
ค. เพื่อนสนิท
ง. หัวหน้าชั้นเรียน
8. คนที่มักเป็นที่รักใคร่ของคนอื่นส่วนมากจะเป็นคนอย่างไร
ก. ชอบคุยโม้โอ้อวด
ข. มีรูปร่างหน้าตาสวยงาม
ค. มีความจริงใจพูดจาไพเราะอ่อนหวาน
ง. คนมีฐานะร่ารวย
15
แนวคำตอบ
แบบทดสอบท้ำยบทเรียน
ตอนที่ 1
1. ให้นักเรียนทาผังความคิดวิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
การสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
- มีความห่วงใยดูแลเอาใจใส่ช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว
- ทากิจกรรมร่วมกัน หรือใช้เวลาพูดคุยกัน
- ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่
- พูดจาไพเราะอ่อนหวาน กิริยามารยาทเรียบร้อย
- ไม่เอาแต่ใจตนเองยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว
- รู้จักให้อภัย ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง
- แสดงความรักต่อกันในโอกาสสาคัญ เช่น วันเกิด วันครอบครัว
(อยู่ในดุลยพินิจของครู)
2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ จุดด้อยในการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
ของนักเรียน
อยู่ในดุลยพินิจของครู
16
3. นักเรียนเขียนถึงความสุขและความประทับใจในสัมพันธภาพที่ดี
ของครอบครัว
อยู่ในดุลยพินิจของครู
4. ให้นักเรียนคิดว่าลักษณะครอบครัวของนักเรียนเป็นอย่างไร
อยู่ในดุลยพินิจของครู
5. ให้นักเรียนเขียนคาขวัญ เกี่ยวกับการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
คนละ 1 คาขวัญ (ตัวอย่าง พ่อแม่ลูกรักกันสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว
ยิ้มหัวเราะวันละนิด จิตแจ่มใส)
อยู่ในดุลยพินิจของครู
17
ตอนที่ 2
1. ค 2. ง 3. ข 4. ก 5. ง
6. ข 7. ก 8. ค 9. ง 10. ค
18
19
หนังสืออ้ำงอิง
กรมสุขภาพจิต.(2553). คู่มือดูแลสุขภำพจิตเด็กวัยเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3.
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(2550).แนวกำรจัด
กิจกรรมกำรเรียนรู้เพศศึกษำช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษำ
ปีที่ 4 - 6.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด.
เรณุมาศ มาอุ่น และเขมฤทัยวรรณรสพากย์.(2551). สุขศึกษำและ
พลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6.กรุงเทพฯ:บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
สถาบันพัฒนาวิชาการ.(2552).สุขศึกษำและพลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำ
ปีที่ 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาวิชาการ.
สถาบันแห่งชาติเพื่อพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล.
(2548). ควำมรู้เพื่อชีวิต.กรุงเทพฯ :บริษัทอมรพริ้นติ้งแอนด์
พับลิซซิ่ง จากัดมหาชน.
สุจริต สุวรรณชีพ และคณะ.(2543).คู่มือพ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยควำมรัก.
พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. (2554). สุขศึกษำและพลศึกษำ ป.6.
กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริศทัศน์.
เอมอร กฤษณะรังสรรค์. ดร.ทักษะกำรสร้ำงสัมพันธภำพกับผู้อื่น.
(ออนไลน์). http://www.novabizz.com/NovaAce/
Relationship/Skill.htm.(เข้าได้เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2555)
ภาพพื้นหลัง. (ออนไลน์). http://www.bloggang.com.
(เข้าได้เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2555 )
คำรับรองผลงำน
ข้าพเจ้านายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
ขอรับรองว่า นวัตกรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นนวัตกรรมที่นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนบ้านต้นปรง ได้จัดทาขึ้นด้วยตนเอง
เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนการสอนในวิชาสุขศึกษา
ลงชื่อ
(นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
ผู้จัดทำ
นำยสุธำรักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
กำรศึกษำ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สถำนที่ทำงำน โรงเรียนบ้านต้นปรง อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ตำแหน่งปัจจุบัน ครูวิทยฐานะชานาญการ
ผลงำน/เกียรติยศ
 เกียรติบัตรครูผู้สอนดี กลุ่ม สลน.
ศึกษาธิการ อ.เมืองตรัง
 เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมเซปักตะกร้อชนะเลิศ 11 ปีระดับอาเภอ
 วุฒิบัตรบุคลากรต้นแบบการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
กระทรวงศึกษาธิการ
 ประกาศเกียรติคุณผู้ประสานพลังแผ่นดิน
ศูนย์อานวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ
 โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลเกียรติยศ สพท. ตรัง เขต 2
 โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลครูดีเด่นด้านการสอนพลศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
 เกียรติบัตรครูผู้สอนดีเด่น กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
คุรุสภา
(อ้างอิงจาก : http://www.bloggang.com)
เมื่อถึงวันสำคัญนั้นมำถึง ลูกที่ซึ้งอยู่ต่ำงที่รี่มำหำ
ครอบครัวเรำต่ำงสรวลเสเฮอำ แม่พ่อปรำรถนำอย่ำงนี้ทุกวี่วัน
แม่พ่อเห็นลูกสำมัคคีก็มีสุข เห็นพ่อลูกยิงมุขยิ่งสุขสันต์
เห็นครอบครัวเรำนี้ที่รักกัน ดั่งสวรรค์บนดินยิ่งสุขเอย

Contenu connexe

Tendances

ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)Tum Meng
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555Me'e Mildd
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 

Tendances (20)

ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555
ข้อสอบวิชาชีววิทยา กสพท. ปี 2555
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 

Similaire à 2ครอบครัวสุขสันต์

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ sschueaphet
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 

Similaire à 2ครอบครัวสุขสันต์ (20)

2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุขหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 4 เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่าหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ เรื่องสัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
 
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 

Plus de สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์

บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 

Plus de สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ (9)

บทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัยบทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัย
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 

2ครอบครัวสุขสันต์

  • 1. ชุด ครอบครัวสุขสันต์ หนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นระถมศึกษาปีที่ 6 เล่มที่ 2 สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
  • 2. เรื่อง : สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ภาพ : จุฑาภรณ์ เชื้อเพ็ชร หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นระถมศึกษาปีที่ 6 เล่มที่ 2
  • 3. คำนำ หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบ- การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง ผู้จัดทาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างสัมพันธภาพ นามาเรียบเรียงเป็นวรรณกรรม สาหรับเด็ก เพื่อต้องการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ นาความรู้ที่ได้จากการ อ่านมาพัฒนาวิธีการสร้างสัมพันธภาพของตนเอง ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุขได้จัดทาขึ้น จานวน 8 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 สัมพันธภาพอันล้าค่า เล่มที่ 2 ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3 สุขอยู่ที่ใจ เล่มที่ 4 มองแง่ดีมีความสุข เล่มที่ 5 เด็กดีศรีต้นปรง เล่มที่ 6 ความรักวัยรุ่น เล่มที่ 7 ชีวิตกาญจนาน่าเรียนรู้ เล่มที่ 8 กีฬาสัมพันธภาพ หนังสือที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้ เป็นเล่มที่ 2 เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์ เป้าหมาย ต้องการเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข ขอบคุณ นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง คณะ ครู และนักเรียน ผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งที่ได้รับความกรุณา ให้คาปรึกษา แนะนา แก้ไข ข้อบกพร่อง จนการดาเนินการจัดทาสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
  • 4. คำชี้แจง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ ผู้จัดทาเขียนขึ้นเหมาะกับ บริบทของนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง หากโรงเรียนใดนาไปใช้ให้ประสบ ผลสาเร็จ เป็นไปตามเป้าประสงค์ที่วางไว้ จึงมีข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอน และผู้เรียนดังต่อไปนี้ คำชี้แจงสำหรับครูผู้สอน 1. หนังสือเล่มนี้ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 -5 2. ศึกษาและปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกประการ 3. ครูอ่านหนังสือเล่มนี้และทาความเข้าใจก่อนที่จะนามาใช้กับผู้เรียน 4. สร้างข้อตกลงในการใช้หนังสือ 5. แจกหนังสือกับนักเรียนทุกคน 6. ครูแจกกระดาษคาตอบ หรืออุปกรณ์ สาหรับทาแบบทดสอบท้าย บทเรียน บทบำทผู้เรียน 1. อ่านคาแนะนาการใช้หนังสือให้เข้าใจ 2. ไม่ทาเครื่องหมายหรือขีดเขียนลงในหนังสือ 3. ส่งหนังสือคืนครูหลังจากเรียนจบในแต่ละเล่ม 4. อ่านแล้วต้องคิดตามนาความรู้มาพัฒนาตนเอง
  • 5.
  • 6. วันหยุดเสาร์ และอาทิตย์ ครอบครัวของผมจะอยู่กัน พร้อมหน้า มีคุณพ่อ คุณแม่ น้องแก้ม และผม แก้ว ครับ ถึงแม้จะเป็นวันหยุด ผมกับน้องแก้มก็ไม่เคยนอนตื่นสาย เพราะพ่อกับแม่ ฝึกให้ผมและน้องตื่นนอนตั้งแต่เช้าอยู่เสมอ ๆ นกบินออกหากิน เพื่อทาให้อยู่ดีมีสุข คนทาหน้าที่ดีชีวิตมีค่า 2 อยู่กันพร้อม หน้า
  • 7. พ่อสอนผมกับน้องแก้มเสมอว่า “ ถึงแม้เราจะเป็นเด็ก แต่ เราก็สามารถช่วยเหลือ รับผิดชอบ และรู้จักการแบ่งปันสิ่งต่าง ๆ ให้กับผู้อื่นได้ ตามความสามารถและกาลังที่มี ” ทุกเช้าผมและน้องแก้ม ต่างก็มีหน้าที่ ที่จะต้องรับผิดชอบ ช่วยเหลืองานภายในบ้าน เท่าที่จะทาได้ เช่น ล้างรถ กวาดบ้าน และรถน้าต้นไม้ เป็นต้น รู้หน้าที่ ทาหน้าที่ ช่วยเหลือกัน บ้านเราคือบ้านแสน สุขสบาย 3 รู้หน้าที่
  • 8. แม่ก็ยังย้ากับผมและน้องแก้มอีกด้วยว่า “ ไม่ว่าเราจะอยู่กับ ครอบครัว หรือกับเพื่อน ๆ ที่โรงเรียน ถ้าหากเรามีความรับผิดชอบใน หน้าที่ มีน้าใจ ช่วยเหลือ เคารพในสิทธิของผู้อื่น และรู้จักการให้ อภัย ปัญหาก็จะน้อย หรือไม่เกิดปัญหา เมื่อการอยู่ร่วมกันไม่ ก่อให้เกิดปัญหา สัมพันธภาพที่ดีก็จะตามมา และสังคมก็จะมี ความสุข” 4 คนดีน่ารัก
  • 9. ผมคิดว่าการสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว เป็นเรื่อง ง่าย ๆ ที่ทุกครอบครัวสามารถปฏิบัติได้ คือ พ่อแม่มีความ ห่วงใย ดูแลเอาใจใส่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สร้างความเข้าอก เข้าใจ ท้ากิจกรรมร่วมกัน เช่น การปลูกต้นไม้ ทาอาหาร และ ร้องเพลง เป็นต้น บ้านเรานี่แหละสุขใจ ไม่มีที่ไหนเหมือนบ้าน ทุกคนช่วยกัน อยู่ด้วยกันอย่างห่วงใย เห็นใจกัน คือกุญแจบ้านที่สร้างความสุข 5 ดวงใจพ่อแม่
  • 10. นอกจากการปฏิบัติตนที่ดีแล้ว การเลือกใช้คาพูดที่สุภาพ อ่อนหวาน และไม่แสดงกิริยาที่หยาบคาย ก็ถือเป็นสิ่งสาคัญของ การอยู่ร่วมกัน โดยเฉพาะกับบุคคลในครอบครัว เมื่อเกิดปัญหา ความไม่ เข้าใจ ทุกคนในบ้านควรจะพูดคุยกันด้วยเหตุและผล เปิด โอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนในการแสดงความคิดเห็น และจะต้อง รู้จักที่จะกล่าวค้าว่า “ ขอโทษ ” เมื่อตนเป็นคนผิด 6 วาจาดีมีน้าใจ
  • 11. มีหลายอย่างที่ผมเคยเข้าใจผิด ผมคิดมาตลอดว่า งานบ้าน ทั้งหมด เช่น การกวาดบ้าน ถูบ้าน และทาอาหาร เป็นต้น ควร จะเป็นหน้าที่ของผู้หญิง ส่วนผู้ชายก็ต้องรับผิดชอบงานหนัก เช่น การล้างรถ ซ่อมโต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น แต่สิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากพ่อและแม่ คือ ผมเห็นแม่ทางาน แทนพ่อได้ และพ่อก็สามารถทางานแทนแม่ได้ เช่นกัน ทุกคนช่วยกัน ครอบครัวสุขสันต์จะมีได้เสมอ 7 บ้านนีมีสุข
  • 12. ด้วยความสงสัย ผมจึงถามพ่อ “ เราอยู่ด้วยกัน เราก็ต้องรู้จัก ช่วยเหลือ แบ่งเบาภาระ ใครมีความสามารถที่จะทาอะไรได้ เราก็ควร จะทา ไม่ว่าจะเป็นงานอะไร ถ้าหากเราท้าด้วยความสุข ไม่ท้าให้ใคร เดือดร้อน แค่นีก็พอแล้วล่ะลูก ” นี่คือคาตอบของพ่อ ทาให้ผมรู้สึกภาคภูมิใจ ที่ได้เกิดมาเป็นลูกของพ่อ การอยู่ร่วมกัน ด้วยความรัก รู้จักช่วยกันทุกวัน ที่ทางานคือความสุขใจ 8 ทุกคนช่วยกัน
  • 13. หลังเสร็จภารกิจจากงานบ้านแล้ว ผมกับน้องแก้มมักจะ เข้าไปนั่งคุย และฟังเรื่องเล่าสนุก ๆ ของพ่อและแม่เสมอ และ ทุกเรื่องที่พ่อเล่าให้ผมฟัง ก็มักจะแฝงไว้ด้วยข้อคิด และคาสอน ดี ๆ ไว้คอยเตือนสติเสมอ 9 แบ่งปันข้อคิด
  • 14. ผมรู้สึกดีใจ และภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวที่มีทั้งความ รัก ความเข้าใจ และเป็นครอบครัวที่มีสัมพันธภาพที่ดี หลังจากที่แก้ว อ่านเรียงความ เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์ จบแล้ว เพื่อน ๆ ในห้องต่างก็ปรบมือ และชื่นชมแก้ว 10 อยู่กันพร้อมหน้า
  • 15. ก่อนหมดชั่วโมงเรียน คุณครูสรุปการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ว่า “ การสร้างสัมพันธภาพที่อบอุ่นระหว่างสมาชิกในครอบครัว พ่อแม่ จะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูก ๆ ปลูกฝังให้ลูกมีความรัก รับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ การยอมรับในความแตกต่าง เมื่อเราอยู่ด้วยกันอย่าง เข้าใจ ความสุข และความอบอุ่นก็จะเกิดขึ้นในทุกครอบครัว” “ครอบครัวคือเกราะป้องกันทุกปัญหา รับปรึกษาชี้ทางแก้แก่ลูกใย ยามพลาดพลั้งไม่ซ้าเติมจนน้อยใจ เฝ้าห่วงใยซักถามตลอดมา หากวันใดทุกข์ตรมอารมณ์หมอง คิดไตร่ตรองทบทวนกันเถิดหนา ยังมีพ่อแม่ให้ลูกพึ่งพา คอยเยียวยาปลอบโยนอยู่เรื่อยไป” 11 อยู่กันพร้อมหน้า
  • 16. อธิบำยคำศัพท์ คำศัพท์ คำอ่ำน ควำมหมำย รับผิดชอบ รับ – ผิด – ชอบ ภาระ หรือพันธะผูกพัน ในการ จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตาม เป้าหมาย หน้าที่ หน้า – ที่ ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่ จะต้องปฏิบัติ สิทธิ สิด–ทิ อานาจหรืผลประโยชน์ของ บุคคลที่กฎหมายให้ความ คุ้มครอง อภัย อะ– ไพ ความไม่มีภัย ความไม่ต้องกลัว กิริยำ กิ – ริ – ยา อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย มารยาท ภำคภูมิ พาก –พูม มีสง่า ผึ่งผาย ภำรกิจ พา – ระ –กิด งานที่จะต้องทา สุขสันต์ สุก – สัน มีความสงบ สมำชิก สะ – มา –ชิก ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมใน สมาคม องค์การ หรือกิจกรรม ใด ๆ 12
  • 17. แบบทดสอบท้ำยบทเรียน ตอนที่ 1 ตอบคาถามให้ถูกต้อง 1. ให้นักเรียนทาผังความคิดวิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ จุดด้อยในการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ของนักเรียนเองที่คิดว่ายังต้องปรับปรุง และจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 3. นักเรียนเขียนถึงความสุขและความประทับใจในสัมพันธภาพที่ดีของ ครอบครัว พร้อมบอกเหตุผล ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 4. ให้นักเรียนคิดว่าลักษณะครอบครัวของนักเรียนเป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 5. ให้นักเรียนเขียนคาขวัญ เกี่ยวกับการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว คนละ 1 คาขวัญ (ตัวอย่าง พ่อแม่ลูกรักกันสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว ยิ้มหัวเราะวันละนิด จิตแจ่มใส) ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 13
  • 18. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สถาบันใดเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างสัมพันธภาพเป็นอันดับแรก ก. ชุมชน ข. โรงเรียน ค. ครอบครัว ง. สถานที่ทางาน 2. ข้อใดต่างจากพวก ก. พูดจาไพเราะ ข. ยิ้มแย้มแจ่มใส ค. โอนอ่อนผ่อนตาม ง. ซักไซ้ไล่เลียงเค้นเอาความจริง 3.ใครมีมนุษยสัมพันธ์กับคนอื่นมากที่สุด ก. สุชาติ ไม่เคยเล่นกับเพื่อนบ้านและไม่เคยทาร้ายใคร ข. สุพจน์ เตะฟุตบอลโดนเพื่อนแต่รีบวิ่งไปขอโทษ ค. สุชลวิ่งชนกับเพื่อนลุกขึ้นเอะอะโวยวายดึงคอเสื้อเพื่อนแล้วต่อย ง. สุรัตน์ ชวนชาลีมาเล่นแต่ชาลีไม่ยอมเล่นเพราะสุรัตน์เอาแต่ใจ 4.ข้อใดที่ทาให้ความรู้สึกของผู้กระทาผิดดีขึ้นเร็วที่สุด ก. ให้อภัย ข. ให้อาหาร ค. ให้ความรู้ ง. ให้ความเมตตา 14
  • 19. 5. ข้อใดเป็นสัมพันธภาพที่ไม่จริงใจ ก. ช่วยถือของให้ ข. จูงคนชราข้ามถนน ค. บีบนวดให้ผู้ใหญ่ ง. พูดจาอ่อนหวานเพื่อขอสิ่งแลกเปลี่ยน 6. ข้อใดเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ไม่ต้องลงทุน ก. เตรียมของขวัญวันเกิดให้เพื่อน ข. การยิ้มและการทักทาย ค. นาขนมมาแจกให้เพื่อน ง. การชวนเพื่อนมาร้องคาราโอเกะที่บ้าน 7.ถ้านักเรียนมีปัญหาครอบครัวนักเรียนปรึกษาใครปลอดภัยที่สุด ก. พ่อ แม่ ข. ครู อาจารย์ ค. เพื่อนสนิท ง. หัวหน้าชั้นเรียน 8. คนที่มักเป็นที่รักใคร่ของคนอื่นส่วนมากจะเป็นคนอย่างไร ก. ชอบคุยโม้โอ้อวด ข. มีรูปร่างหน้าตาสวยงาม ค. มีความจริงใจพูดจาไพเราะอ่อนหวาน ง. คนมีฐานะร่ารวย 15
  • 20. แนวคำตอบ แบบทดสอบท้ำยบทเรียน ตอนที่ 1 1. ให้นักเรียนทาผังความคิดวิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว การสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว - มีความห่วงใยดูแลเอาใจใส่ช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว - ทากิจกรรมร่วมกัน หรือใช้เวลาพูดคุยกัน - ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่ - พูดจาไพเราะอ่อนหวาน กิริยามารยาทเรียบร้อย - ไม่เอาแต่ใจตนเองยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว - รู้จักให้อภัย ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง - แสดงความรักต่อกันในโอกาสสาคัญ เช่น วันเกิด วันครอบครัว (อยู่ในดุลยพินิจของครู) 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ จุดด้อยในการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ของนักเรียน อยู่ในดุลยพินิจของครู 16
  • 21. 3. นักเรียนเขียนถึงความสุขและความประทับใจในสัมพันธภาพที่ดี ของครอบครัว อยู่ในดุลยพินิจของครู 4. ให้นักเรียนคิดว่าลักษณะครอบครัวของนักเรียนเป็นอย่างไร อยู่ในดุลยพินิจของครู 5. ให้นักเรียนเขียนคาขวัญ เกี่ยวกับการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว คนละ 1 คาขวัญ (ตัวอย่าง พ่อแม่ลูกรักกันสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว ยิ้มหัวเราะวันละนิด จิตแจ่มใส) อยู่ในดุลยพินิจของครู 17
  • 22. ตอนที่ 2 1. ค 2. ง 3. ข 4. ก 5. ง 6. ข 7. ก 8. ค 9. ง 10. ค 18 19
  • 23. หนังสืออ้ำงอิง กรมสุขภาพจิต.(2553). คู่มือดูแลสุขภำพจิตเด็กวัยเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(2550).แนวกำรจัด กิจกรรมกำรเรียนรู้เพศศึกษำช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษำ ปีที่ 4 - 6.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด. เรณุมาศ มาอุ่น และเขมฤทัยวรรณรสพากย์.(2551). สุขศึกษำและ พลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6.กรุงเทพฯ:บริษัทพัฒนา คุณภาพวิชาการ. สถาบันพัฒนาวิชาการ.(2552).สุขศึกษำและพลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำ ปีที่ 6. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาวิชาการ. สถาบันแห่งชาติเพื่อพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. (2548). ควำมรู้เพื่อชีวิต.กรุงเทพฯ :บริษัทอมรพริ้นติ้งแอนด์ พับลิซซิ่ง จากัดมหาชน. สุจริต สุวรรณชีพ และคณะ.(2543).คู่มือพ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยควำมรัก. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย. เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ. (2554). สุขศึกษำและพลศึกษำ ป.6. กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริศทัศน์. เอมอร กฤษณะรังสรรค์. ดร.ทักษะกำรสร้ำงสัมพันธภำพกับผู้อื่น. (ออนไลน์). http://www.novabizz.com/NovaAce/ Relationship/Skill.htm.(เข้าได้เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2555) ภาพพื้นหลัง. (ออนไลน์). http://www.bloggang.com. (เข้าได้เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2555 )
  • 24. คำรับรองผลงำน ข้าพเจ้านายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง ขอรับรองว่า นวัตกรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นนวัตกรรมที่นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนบ้านต้นปรง ได้จัดทาขึ้นด้วยตนเอง เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนการสอนในวิชาสุขศึกษา ลงชื่อ (นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
  • 25. ผู้จัดทำ นำยสุธำรักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ กำรศึกษำ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สถำนที่ทำงำน โรงเรียนบ้านต้นปรง อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ตำแหน่งปัจจุบัน ครูวิทยฐานะชานาญการ ผลงำน/เกียรติยศ  เกียรติบัตรครูผู้สอนดี กลุ่ม สลน. ศึกษาธิการ อ.เมืองตรัง  เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมเซปักตะกร้อชนะเลิศ 11 ปีระดับอาเภอ  วุฒิบัตรบุคลากรต้นแบบการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ  ประกาศเกียรติคุณผู้ประสานพลังแผ่นดิน ศูนย์อานวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ  โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลเกียรติยศ สพท. ตรัง เขต 2  โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลครูดีเด่นด้านการสอนพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต  เกียรติบัตรครูผู้สอนดีเด่น กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา คุรุสภา