SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  172
Télécharger pour lire hors ligne
The
   Geometer’s
   Sketchpad
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  1
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•ผูบรรยาย
   นวลนดา สงวนวงษทอง
   สํานักการศึกษาระบบสารสนเทศ
   สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
   โทรศัพท 0-2727-3259
   nualnada@nida.nida.ac.th
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  2
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
วัตถุประสงค
   •สรางความเขาใจเกี่ยวกับโปรแกรม The
   Geometer’s Sketchpad คืออะไร
   •ทําไมจึงตองใชเรขาคณิตแบบไดนามิค
   •โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ทํา
   อะไรไดบาง
            




                                                                                  บทที่ 0
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                       3
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เกรินนํา
         ่
   บทนี้มีความประสงคจะแนะนําเครื่องมือทีมีความ     ่
   เหมาะสมในการสรางเรขาคณิตแบบไดนามิค ซึง             ่
   ผูที่จะใชเครื่องมือตัวนี้ไดอยางดีก็คือผูทมีความ
                                                 ี่
   ชํานาญงานดานคณิตศาสตร เครื่องมือนี้จะชวย
   ใหทานประหยัดเวลา และนําเสนอชิ้นงานตาง ๆ
   ในลักษณะเคลื่อนไหว เพื่อใหนักเรียนเกิดความ
   เขาใจแบบรูปธรรม และจักไดมีความรักในวิชา
   เรขาคณิต



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  4
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
   2525 ไดบญญัติศัพทคําวา “เรขาคณิต”
             ั
   ไวดังนี้
   •เปนคณิตศาสตรแขนงหนึ่งที่วาดวยการ
   จําแนกประเภท สมบัติ และโครงสรางของ
   เซตของจุดที่เรียงกันอยางมีระเบียบตาม
   กฎเกณฑที่กําหนดใหเปนรูปทรงตางๆ เชน
   เสนตรง วงกลม รูปสามเหลียม ระนาบ
                             ่
   กรวย

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  5
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
อะไร
   • โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad คือ
     .....




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  6
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ทําไม (ตองใชเรขาคณิตแบบไดนามิค)
   • Pictures speak more than 1000 words.
   http://202.44.72.7/nualnada/websketch/sketchpad.html




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  7
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ทําไม (ตองใช
  โปรแกรม
  เรขาคณิตแบบได
  นามิค)
    การสรางรูปทรงเขา
  คณิต ใหไดขนาด
  และองศาตาม
  ตองการ สามารถชวย
  ขยายความเขาใจ แต
  หากเขียนดวยมือ
  ตองใชเวลามาก


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  8
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(การใชเรขาคณิตแบบไดนามิค จะชวยได)
   อยางไร
       (1) เขาถึงการเรียนการสอนในวิชาเรขาคณิต
       (2) เพื่อการนําเสนอ
       (3) เรียนรูเรื่องรูปจากเอกสาร




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  9
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เริ่มตนทํางานกับ
   The Geometer’s Sketchpad
   สมมุติฐาน : ในเครื่องคอมพิวเตอรที่ทานกําลังศึกษามีโปรแกรม
                                       
   The Geometer’s Sketchpad ลงไวเรียบรอยแลว และใชระบบปฏิบัติการแบบ
   หนาตางงาน




                                                                                  บทที่ 1
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                      10
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ใชวิธีหนึ่งวิธีใดตอไปนี้
   •มองหา icon sketchpad




   • Start>All Programs>GSP4.03
   • Start>Search>All files or folders
   >GSP*.*
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  11
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  12
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
สวนติดตอกับผูใช
                                                         แถบชือเรื่อง
                                                              ่                                 ปุมเรียกคืน
                                   แถบเมนู                                            ปุมยอ            ปุมปดงาน




                                                                                                แถบ
                                                                                                เลื่อน
                          พื้นทีทํางาน
                                ่                                                               ขึนลง
                                                                                                  ้



แถบเครื่องมือ

                                                    แถบเลื่อนซาย ขวา
                     แถบสถานภาพ
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                                            13
                         © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แถบเมนู




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  14
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะคําสั่งบนแถบเมนู
                       ชื่อเมนู         คําสั่งในเมนู

                                                    เรียกใชโดยกดแปนพิมพตามระบุ
                     เรียกใชโดยใชเมาสคลิกเลือก
                                                                               ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่ไมพรอมใชงานในขณะที่เรียก



                                                                               ตัวอยางลักษณะคําสั่งพรอมใชงานในขณะที่เรียก


                                                                               ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่จะปรากฏรายการคําสังยอย
                                                                                                                         ่




1 - 4 สิงหาคม 2546                                                             ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่จะปรากฏกรอบโตตอบ
                                                                                                                  15
                            © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(1)เมนูFile เก็บคําสั่งที่ใช
      เกี่ยวกับแฟมขอมูล เชน
   •      คําสั่งเปดแฟมขอมูลใหม
   •      เปดแฟมขอมูลทีสรางไวแลว
                            ่
   •      การบันทึกแฟมขอมูล
   •      การปดหนาตางงานที่กําลังใชงานอยู
   •      การเพิ่มหนาเอกสารในแฟมขอมูลหนึ่ง ๆ
   •      การพิมพ
   •      การออกจากโปรแกรม The
          Geometer's Sketchpad เปน
          ตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                        16
                           © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(2) เมนูEdit
     เก็บคําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการ
     แกไข เปลี่ยนแปลงขอมูล เชน
   •    การยกเลิก
   •    การทําคําสังซ้ํา
                   ่
   •    การทําสําเนา
   •    การสรางปุมควบคุมการเคลื่อนไหว
        (Action Button) เปนตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                     17
                        © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(3) เมนู Display เก็บ
     คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับแสดงภาพ
   •    สี ลักษณะตัวอักษร
   •    ลักษณะของเสน
   •    การซอน/ยกเลิกการซอนของวัตถุ
   •    การสั่งใหวัตถุเคลื่อนไหว
        (Animate) เปนตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                     18
                        © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(4) เมนูConstruct เก็บ
     คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการสราง
     วัตถุ เชน
   •    สรางจุดบนวัตถุ
   •    สรางจุดกึ่งกลางของเสน
   •    สรางจุดตัด
   •    สรางเสนตรง เปนตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                       19
                          © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(6) เมนูMeasure เก็บ
     คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการวัด เชน
   •    วัดความยาวของเสน
   •    วัดระยะทาง
   •    วัดเสนรอบรูป
   •    วัดเสนรอบวง
   •    วัดขนาดของมุม เปนตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                     20
                        © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(7) เมนูGraph เก็บคําสั่งที่
     ใชเกี่ยวกับสรางกราฟ เชน
   • การพล็อตจุด
   • การกําหนดฟงกชั่นใหม
   • การกําหนดจุดกําเนิด (origin) เปน
     ตน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  21
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(8) เมนูWindow เก็บ
     คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับรายการชื่อ
     แฟมขอมูลที่กําลังเปดใชงาน
     และสามารถใหผูใชเลือกทีจะ  ่
     แสดงเอกสารทั้งหมด แบบ
     cascade หรือ tile




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  22
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(9) เมนูHelp เก็บคําสั่งที่ใช
     เกี่ยวกับคําอธิบายที่จะใหความ
     กระจางในเรื่องหนึ่ง ๆ
     ลักษณะของคําอธิบายจะ
     ปรากฏบนโปรแกรม
     บราวเซอร (Browser)




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  23
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แถบเครืองมือ
         ่
  และความสามารถของเครื่องมือแตละตัว




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  24
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เครื่องมือศรชี้(Translate, Rotate, Dilate)




                       เครื่องมือจุด
                                                                     Toolbox หาย
                       เครื่องมือวงกลม
                                                                     เรียกคืนอยางไร

                                                   เครื่องมือเสนตรง(Segment, Ray, Line)



                       เครื่องมือตัวอักขระ



                       เครื่องมือCustom
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                        25
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสราง แฟมขอมูลใหม
   •ในการเรียกใชโปรแกรม The Geometer's
   Sketchpad แตละครั้ง โปรแกรมจะสราง
   แฟมขอมูล (document file) ใหโดย
   อัตโนมัติ และใหชื่อแฟมขอมูลดังกลาววา
   Untitled1
   •ผูใชสามารถเปดแฟมขอมูลใหมตาม
   ตองการ โดยเลือกใชคําสั่ง New Sketch
   จากเมนู File หรือเลือกใชคําสั่งจาก
   แปนพิมพ โดยกดแปน Ctrlแชคางไว และ
   กดแปนตัว N
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                          26
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • เปดแฟมขอมูลSketch ใหมจํานวน 5 แฟม
   • สลับการทํางานไปมาระหวางแฟมเหลานั้น
   • จัดเรียงหนาตางงานของแฟมขอมูลตาม
         – Tile
         – Cascade




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  27
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การบันทึกแฟมขอมูล
  ในการทํางานแตละครั้ง และตองการบันทึก
    เก็บไว เพื่อใหสามารถเรียกใชในการ
    ทํางานครั้งตอ ๆ ไป สามารถเลือก
    ดําเนินการ ทํางานใหเหมาะสม ดังนี้
  (1) ใชคําสั่ง Save จากเมนู File เพื่อทํา
    การเก็บบันทึกรายการเปลียนแปลง
                                ่
    ทั้งหมด นับแตการเก็บบันทึกครังลาสุด
                                      ้
    ลงในแฟมขอมูลที่กําลังทํางานอยู หากใช
    คําสั่งนี้กบแฟมขอมูลที่สรางขึนใหม จะ
               ั                    ้
    เหมือนกับใชคําสั่ง Save as จากเมนูFile
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                             28
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
(2) ใชคําสั่ง Save as จากเมนูFile
    เพื่อทําการบันทึกแฟมขอมูลทีกําลัง
                                 ่
    ทํางานอยู ดวยชื่อ ลงบนสือหนวยความจํา
                              ่
    สํารอง (secondary storage) ที่ตองการ
                                     
                                 1




                                                                           3
                             2


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  29
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • ทําการบันทึกแฟมขอมูลตัวที่ตองการลงใน
   ชื่อ Example1 ทีdirectory ชื่อตัวคุณเอง
                       ่




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  30
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การเปดแฟมขอมูล
  การเรียกแฟมขอมูลที่สรางไวแลว มาเพื่อ
   ทํางานตาง ๆ เชนอาน หรือ ทําการแกไข
   (เพิ่ม ลบ เปลียนแปลง) นัน สามารถใช
                 ่           ้
   คําสั่ง Open จากเมนู File




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  31
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล
    Sketchpad (1)
  • แฟมขอมูล Sketchpad จะเริ่มทํางานดวย
    หนาเอกสารโดดเสมอ
  • สามารถเพิ่มหนาเอกสารในแฟมขอมูล
    มากกวาหนึ่งหนา โดยใชคําสั่ง
    Document Option จากเมนู File



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  32
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล
    Sketchpad (2)
  • เพิ่มหนาเอกสารเปลา เลือกรายการ
    Blank page จากการคลิกปุม Add Page
    หนาเอกสารใหมมีชื่อวา 2 และการเพิ่ม
    หนาเอกสารในลําดับตอ ๆ ไป จะมีชื่อเปน
    345



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  33
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • เปด Example1 แทรกหนาเอกสารวาง ๆ ใหมจํานวน3หนา
   • ขณะนี้มีหนาเอกสารใหใชจํานวน 4 หนา
   • ที่เอกสารหนา 1 วาดรูปวงกลม




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  34
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล
    Sketchpad (3)
  • การทําซ้ําจากหนาเอกสารทีมีลกษณะ ั
    เหมือนหนาเอกสารแผนใดแผนหนึ่งใน
    แฟมขอมูลทีกําลังทํางานอยู ใหเลือก
                ่
    รายการ Duplicate จากการคลิกปุม Add 
    Page



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  35
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • ใน Example1 สรางเอกสารใหมหนาที่ 5 ใหมีลักษณะ
     เหมือนกับหนา 1 ทุกประการ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  36
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล
    Sketchpad (4)
  • การเปลียนชื่อหนาเอกสาร ผูใชสามารถ
             ่
    เปลียนชื่อหนาเอกสารจากทีโปรแกรม
         ่                    ่
    กําหนดไวเดิม คือ 1 2 3 ตามลําดับการ
    ทํางานเปนขอความใด ๆ ตามตองการ
    โดยเลือกใชคําสั่ง Document option
    จากเมนู File และนําเมาสไปคลิกที่ กลอง
    ขอความ (Page Name) พิมพขอความที่
                                 
    ตองการใหเปนชื่อหนาเอกสาร และคลิก
    ปุม OK
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                         37
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • เปลี่ยนชื่อเอกสารใหมีชื่อตามตองการ
   • เชน
                •1   ->   pageI
                •2   ->   pageII
                •3   ->   pageIII
                •4   ->   pageIV
                •5   ->   pageV




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                       38
                          © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การพิมพ แฟมขอมูลSketchpad
  หลังการสราง และแกไขแฟมขอมูล
    Sketchpadเรียบรอยแลว ผูใชที่ประสงค
    จะพิมพเอกสารออกทางเครื่องพิมพ นั้น
    สามารถกระทําได แตทั้งนี้ขบวนการ
    จัดการที่เกี่ยวของกับการพิมพมีทั้งสิ้นสาม
    สวน คือ
  • การดูชิ้นงานกอนพิมพ(Preview)
  • การกําหนดคา(Page Setup) ใหแกการ
    พิมพ
  • การพิมพ(Print)เอกสาร
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                             39
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การดูชิ้นงานกอนพิมพ(Preview)
                     ยอเขา

                               ขยายใหพอเหมาะ
   หนาตอไป                   กับหนากระดาษ                                     สังพิมพ
                                                                                   ่




                                                                                            เลิกการPreview
   หนากอน                           กําหนดขนาดตามตองการ
   หนา
          ขยายออก




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                                             40
                               © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • จาก Example1 ที่ pageI ใชคําสั่ง Print Preview
     และศึกษาการทํางานของปุมตาง ๆ กับวัตถุ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  41
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การกําหนดคา(Page Setup) ใหแกการ
  พิมพ
  ทําโดยเลือกรายการคําสั่ง Page Setup จากเมนู
        File ตัวอยางเชน
  (1) เลือกรายการ size เพื่อกําหนดขนาดของ
        กระดาษ
  (2) เลือกรายการ orientation เพื่อกําหนด
        ลักษณะการวางขอความในกระดาษ
        เลือกรายการ Portrait หากตองการวาง
        ขอความตามแนวตั้งของกระดาษ
        เลือกรายการ Landscape หากตองการวาง
        ขอความตามแนวขวางของกระดาษ
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                         42
                   © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การพิมพ(Print)
   แฟมขอมูล
   Sketchpad
  หมายถึงการพิมพหนาเอกสารที่
    กําลังทํางานในแฟมขอมูลหนึง ่
    ออกทางเครื่องพิมพ โดยเลือก
    รายการคําสั่งPrint จากเมนูFile
    กรอบโตตอบที่ปรากฏใหผูใช
    กําหนดรายละเอียดทีเกี่ยวของ
                          ่
    ทังนี้รายละเอียดทีปรากฏในแต
      ้                 ่
    ละรายการขึ้นอยูกบชนิดของ
                     ั
    เครืองพิมพทผูใชเลือก
        ่        ี่


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  43
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การปด แฟมขอมูลSketchpad
  หมายถึงการปดหนาตางงานของการทํางาน
   กับแฟมขอมูลปจจุบน ผูใชจะไดรับคําถาม
                       ั
   ใหยืนยันเกี่ยวกับการบันทึกขอมูล หากยัง
   มิไดทําการบันทึกรายการเปลียนแปลงใด
                                ่
   ๆ ที่เกิดขึนหลังการบันทึกแฟมขอมูลครัง
              ้                           ้
   ลาสุด การทํางานนี้ทําโดยเลือกใชคําสั่ง
   Close จากเมนูFile ทั้งนี้โปรแกรมThe
   Geometer’s Sketchpad ยังคงเปด
   ทํางานอยู
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  44
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การออกจากโปรแกรม The
      Geometer’s Sketchpad
  หมายถึงผูใชตองการยุติการทํางานกับ
   โปรแกรม ใหเลือกคําสั่ง Quit จากเมนู
   File ทํานองเดียวกันหากมีการทํางาน
   เอกสารใด ๆ อยู และยังมิไดทําการบันทึก
   รายการเปลียนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึนหลัง
               ่                    ้
   การบันทึกแฟมขอมูลครังลาสุด ผูใชจะ
                            ้
   ไดรับคําถามใหยืนยันเกี่ยวกับการบันทึก
   ขอมูล ลักษณะเดียวกับการใชคําสั่งปด
   งาน(Close)
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                          45
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ความรูเกี่ยวกับ
   The Geometer’s Sketchpad (1)




                                                                                  บทที่ 2
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                      46
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
วัตถุประสงค เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ
  The Geometer’s Sketchpad ในเรื่อง
  เอกสาร
  •วัตถุ
  •จุด
  •สวนของเสนตรง รังสี และเสน
  •วงกลม และ สวนของวงกลม( Arc )
  •พื้นที่ภายใน



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  47
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เอกสาร
  • คําวา “เอกสาร” ในที่นี้เปรียบไดกบ
                                      ั
    หนากระดาษในแฟมขอมูล ที่บรรจุงาน
    Sketchpadตั้งแตหนึ่งชิ้นขึนไป
                               ้
  • งานดังกลาวสรางจากเครื่องมือ และคําสั่ง
    ของโปรแกรม The Geometer's
    Sketchpad
  • โดยแฟมขอมูลSketchpad หนึ่ง ๆ
    สามารถบรรจุเอกสารตั้งแต1 หนาขึนไป ้

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  48
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะหนาตางงานของเอกสาร
ชื่อแฟมขอมูล                                                                              ปุมเรียกคืน
                 ชื่อหนาของเอกสาร                         แถบชือเรื่อง
                                                                ่                         ปุมยอ    ปุมปด
                                                                                                     งาน




                                                                                          แถบ
                                    พื้นทีทํางาน
                                          ่                                               เลื่อน
                                                                                          ขึนลง
                                                                                            ้




     แถบหนา                                                  แถบเลื่อนซาย ขวา


     1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                                    49
                             © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การเลือนพื้นที่ทํางานSketchpad ไปมา
        ่

        ALT+drag
        สังเกตุลกษณะของตัวชี้
                ั




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  50
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
วัตถุใน The Geometer’s Sketchpad




                                                                Context menu?




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  51
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ประเภทของวัตถุ วัตถุที่ปรากฏในงานของ
   Sketchpad สามารถแบงออกเปนประเภท
   ตาง ๆ ไดดังนี้
   (1) วัตถุรูปทรงเรขาคณิต เชน จุด สวนของ
   เสนตรง รังสี วงกลม รูปเหลียม เปนตน
                                 ่
   (2) ตัวเลขทางคณิตศาสตร เชนคาจากการ
   วัด พารามิเตอร ฟงกชั่น เปนตน
   (3) คําอธิบาย ประกอบดวยอักขระที่ใช
   อธิบายชิ้นงาน หรือตัววัตถุหนึ่ง ๆ

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  52
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (1)
  สี (Color)

  •วัตถุทุกตัวในชิ้นงานSketchpad สามารถ
  แสดงดวยสีตาง ๆ
                
  •การกําหนดสีใหวัตถุ สามารถทําโดยคลิก
  เลือกคําสั่ง Color จากเมนู Display



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  53
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สรางแฟมเอกสารSketch ใหมชื่อ Example2
• สรางสวนของเสนตรง 2 เสน กําหนดใหมี สีตามตองการ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  54
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (2)
  ปายชื่อ (Label)
                                                                           ฉันชื่อวงกลม A
  วัตถุทางเรขาคณิตมักมีการ
  กําหนดชือ เพือใชเรียกเชน
            ่    ่
  ดาน AB มุม XYZ ในการ
  กําหนดชือหรือการแกไขชือ
              ่            ่
  ใหแกวัตถุใด ๆ บนชินงาน
                      ้
  Sketchpad สามารถใช
  เครื่องมือตัวอักขระจากแถบ
  เครื่องมือ

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                    55
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• ตั้งชื่อใหกับสวนของเสนตรง 2 เสน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  56
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (3)
  การมองเห็น (Visibility)

  วัตถุใด ๆ บนชิ้นงานSketchpad สามารถ
  กําหนดใหแสดง หรือ ซอน จากการมองได
  การทํางานเลือกวัตถุตัวที่ตองการซอนโดย
  คลิกเลือกคําสั่ง Hide Objects จากเมนู
  Display เพื่อซอนวัตถุ และเรียกวัตถุที่ซอน
  ใหแสดงโดยคลิกเลือกคําสั่ง Show All
  Hidden จากเมนู Display
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  57
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   •    หาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรงทั้ง 2 เสน
   •    ซอนสวนของเสนตรง
   •    ลากจุดกึ่งกลางไปมา
   •    สังเกต การเคลื่อนที่ของจุดกึ่งกลางดังกลาว




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  58
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (4)
  การสรางใหเคลื่อนไหว (Animation)

  การสั่งใหวัตถุตัวที่เลือกไวเคลือนที่ไปมา
                                   ่
  ทําโดยคลิกเลือกคําสั่ง Animation จากเมนู
  Display โดยคําสั่งดังกลาวมีสวนใหผูใชระบุ
  ตัวควบคุมการเคลือนที่
                     ่



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  59
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สรางใหจุดกึ่งกลางของเสนเคลื่อนไหว




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  60
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (5)
  รองรอย (Tracing)

  จากการเคลื่อนที่ ที่กําหนดในขอ(4) จะทํา
  ใหเกิดการรองรอยการเคลื่อนที่ ผูใช
  สามารถดูรองรอยการเคลือนที่แสดงผลการ
                           ่
  ทํางาน โดยคลิกเลือกคําสั่ง Trace จากเมนู
  Display และลบการแสดงผลของรองรอยที่
  เกิดขึนโดยคลิกเลือกคําสั่ง Erase Traces
        ้
  จากเมนู Display
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  61
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• ติดตามดูลกษณะการเคลื่อนไหวของจุดกึ่งกลางของเสน
           ั




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  62
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (6)
  ความกวางของเสน (Line Width)

  •วัตถุรูปทรงเรขาคณิตสวนใหญ มักแสดงใน
  ลักษณะของเสนตรง หรือสวนของเสนโคง
  •คําสั่งใหเลือกลักษณะการแสดงเสนออกเปน
     • เสนประ(Dash)
     •เสนหนา(Thick)
     •และเสนบาง(Thin)
  •วิธีการ สามารถทําไดโดยคลิกเลือกคําสั่งยอย
  จากคําสั่ง Line Width ในเมนู Display
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  63
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• จาก Example2 เพิ่มหนากระดาษใหมชื่อ line
• สรางสวนของเสนตรง 3 เสน
• กําหนดใหมีความกวางของเสนตามตองการ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  64
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (7)
  คุณสมบัติ (Properties)

  วัตถุทุกตัวตางมีคุณสมบัติเฉพาะตัว เรา
  สามารถเลือกวัตถุ และคลิกเลือกคําสั่ง
  Properties จากเมนู Edit เพื่อทําการดู หรือ
  เปลียนแปลงคุณสมบัติที่เกี่ยวของกับวัตถุ
      ่
  ตัวนั้น ๆ


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  65
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• จากหนา line
• กําหนดจุดปลายเปน A และ B ตามลําดับ
• เปลี่ยนชื่อของสวนของเสนตรงที่สรางโดยใชคําสั่งใน Properties
  ในที่นี้ใหชื่อ segment AB




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  66
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ลักษณะของวัตถุ (8)
  ความสัมพันธของวัตถุ

  วัตถุหนึ่ง ๆ ในงานของSketchpad สามารถ
  บอกความสัมพันธระหวางชิ้นสวนภายใน
  วัตถุ ในลักษณะพอกับลูก




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  67
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
   • จากหนา line สรางจุด           วัตถุ                        พอ             ลูก
     กึ่งกลางลงบนสวนของ             A                        -                   AB
     เสนตรง
                                     B                       -                    AB
   • ศึกษาความสัมพันธของ
     วัตถุ
                                     C                            AB              -



                                     AB




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                      68
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
จุด

  Points are zero-dimensional.
  That basically means that they have no
  height, length, or width.




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  69
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ประเภทของจุด (1)
    แบงออกเปนสามประเภทใหญ ๆ
   (คําอธิบายจะยึดหลักของความสัมพันธของวัตถุ
   เปนหลัก) คือ
   จุดอิสระ หมายถึงจุดที่ไมขึ้นกับวัตถุ  ใด ๆ
   (ไมเปนลูกใคร) ตัวอยางไดแก จุดใด ๆ
   วิธีสรางจุดแบบอิสระ
      คลิกทีเครื่องมือจุด จากแถบเครื่องมือ
            ่
      คลิกลงบนพื้นที่วางบนพื้นที่ทํางานของ
      เอกสาร
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  70
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ประเภทของจุด (2)
   จุดบนวัตถุใด ๆ หมายถึงจุดที่ถก
                                ู
   กําหนดใหอยูบนสวนของวัตถุใด ๆ
   วิธีสรางจุดบนวัตถุใด ๆ
   •สรางสวนของเสนตรง AB
   •คลิกเครื่องมือศรชี้
   •คลิกเลือกวัตถุ(ในที่นี้คือสวนของเสนตรง AB )
   เพื่อวางจุด จะเห็นวาวัตถุที่ถูกเลือกสีจะ
   เปลี่ยนไป
       •จากเมนู Construct เลือกคําสั่ง Point On
       Segment
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  71
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ประเภทของจุด (3)
   จุดเชลย หมายถึงจุดที่ไมสามารถเคลื่อนที่
   ไปที่อน หากปราศจากพอ ตัวอยางของจุด
          ื่
   นี้คอ จุดตัด (Intersection) บนวัตถุคูหนึ่ง
       ื
   หรือจุดกึงกลางของวัตถุคูหนึ่ง
             ่




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  72
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สรางจุดทั้งสามประเภท
• ศึกษาการเคลื่อนไหวของจุดแตละประเภท                                    ที่สราง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                    73
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
สรุปการเคลือนที่ของจุด
               ่
  จุดแตละประเภทจะมีการเคลื่อนที่ที่แตกตาง
  กัน ดังนี้
  (1) จุดอิสระ การเคลือนที่ของจุดเปนอิสระ
                      ่
  (2) จุดบนวัตถุใด ๆ การเคลือนที่ของจุด
                            ่
  ดังกลาว จะอยูบนสวนของวัตถุที่กําหนด
  (3) จุดเชลย ไมสามารถเคลือนที่ไปที่อน
                              ่        ื่
  หากปราศจากพอ


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  74
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแยก / รวม จุด กับวัตถุใด ๆ
  (Split / Merge)

                                    แบบฝกหัด
  •สรางวัตถุใด ๆ
  •สรางจุดบนวัตถุดังกลาว
  •แยกจุดที่สราง ออกจากวัตถุ
  •รวมจุดที่แยกเขาสูวัตถุ


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  75
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
สวนของเสนตรง รังสี และเสน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  76
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
A line is a one-dimensional figure. That is, a
line has length, but no width or height.


                                                                                  สวนของเสนตรง


                                                                                  รังสี


                                                                                  เสน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                           77
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางเสนตรง (1)
   โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
   มีทางเลือกสําหรับการสรางวัตถุที่เกียวของ
                                       ่
   กับเสนตรง หลายทางไดแก สรางจากจุดสองจุด
                            3
             1




                                                                 2




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  78
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางเสนตรง (2)

   สรางจากเครืองมือเสนตรง
               ่




                       สวนของ
                       เสนตรง
                                                 รังสี
                                                                    เสน

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  79
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางเสนตรง (3)

   สรางเสนตั้งฉาก
   Construct>Perpendicular Line




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  80
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สรางสี่เหลี่ยม
มุมฉาก




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  81
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สรางสี่
เหลี่ยม
ดานขนาน




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  82
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด

 • สรางมุมขนาด 5.625 องศา




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  83
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด

 • คํานวณหาความยาวของเสนรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ABCD




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  84
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
วงกลม และสวนของวงกลม




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  85
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางวงกลม(1)
   โปรแกรม The Geometer's Sketchpad
   มีทางเลือกสําหรับการสรางวัตถุรูปวงกลม
   หลายทางไดแก

   สรางจากจุดศูนยกลาง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  86
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางวงกลม(2)

   สรางจากจุดศูนยกลาง และจุดใด ๆ
   Construct>Circle by Center+Point




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  87
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางวงกลม(3)

   สรางจากจุดศูนยกลาง และจุดใด ๆ
   Construct>Circle by Center+Radius




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  88
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางสวนของวงกลม(1)

   สรางจากจุดสามจุด
   Construct>Arc through 3 points




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  89
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางสวนของวงกลม(2)
   สรางบนวงกลมใด ๆ
   Construct>Arc on Circle

   แบบฝกหัด
   (1)เลือกวงกลม และคอยเลือกจุดทั้งสอง
   (2)เลือกจุดทั้งสอง และคอยเลือกวงกลม




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  90
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การวัด กับ วงกลม(1-3)
   • หาความยาวเสนรอบวง
      • Measure>Circumference
   • หาความยาวรัศมี
      • Measure>Radius
   • หาพื้นที่วงกลม
      • Measure>Area
   ตัวอยาง

              Circumference                             AB = 9.65 cm
              Area       AB = 7.41 cm 2
              Radius              AB = 1.54 cm

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  91
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด

 • จงสรางสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่
 มีดานสัมผัสวงกลม
 ทั้งสี่ดาน
 และแนบในวงกลม




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  92
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  93
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การวัด กับ สวนของวงกลม(1-2)
   หาArc Angle
   Measure>Arc Angle
   หาArc Length
   Measure>Arc Length
   ตัวอยาง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  94
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
พื้นที่ภายใน(1)
   Construct>Interior
   ตัวอยาง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  95
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
พื้นที่ภายใน(2)
   Segment and Sector

   Construct>Arc Interior
   ตัวอยาง




   เซคเตอร (สวนของวงกลมที่ตัดออกดวย
   รัศมีสองเสน)
   และ เซคเมนต (เสี้ยวของวงกลม)

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  96
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การวัดพื้นที่ภายใน
   Measure

   ตัวอยาง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  97
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
Tip
• กําหนดจุดใด ๆ 5 จุด
• Construct>Pentagon Interior
• Select Parents
• Construct>Segment




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  98
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• ใหสรางสามเหลี่ยม
  ที่สามารถขยับมุม
  ยอดไปมา
  แตพื้นทีไม
           ่
  เปลี่ยนแปลง




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                    99
                       © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
Tip: Custom Tool :- square




                                                                                  Slide2/tool11
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                            100
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• สราง Custom tool ชื่อ Ractangle
  slide2/rectangle
• สราง Custom tool ชื่อ Triangle
  slide2/tri




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  101
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบฝกหัด
• ใหสรางสามเหลี่ยมที่
  สามารถขยับมุมยอดไปมา
  แตสวนสูงเปลี่ยนไปมาได
  โดยอิสระ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  102
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ความรูเกี่ยวกับ
   The Geometer’s Sketchpad (2)




                                                                                  บทที่ 3
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                     103
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
วัตถุประสงค เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ
The Geometer’s Sketchpad ในเรื่อง
•การสรางตัวอักขระ และ ถาดอักขระ
•เครื่องคํานวณ
•ตาราง
•การกําหนดสีใหวัตถุ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  104
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางตัวอักขระ และะถาดอักขระ
ในโปรแกรม The Geometer's Sketchpad ถาดอักขระจะ
เปดใหอยางอัตโนมัติ ทุกครั้งเมือผูใชประสงคจะทําการ
                                 ่
ปรับปรุง (สราง และแกไข) เกียวกับตัวอักขระ เชน
                               ่
ประเภท ขนาด รูปแบบ และ สี เปนตน ดังนันในสวนนี้ จึงมี
                                            ้
เรืองทีเกียวของกับตัวอักขระ ดังนี้
   ่   ่ ่

(1) การสรางตัวอักขระ เชนกําหนดชื่อใหแก
จุด เสน หรือ การเขียนคําอธิบายใด ๆ เปนตน
แบงงานที่เกียวของกันออกเปน
             ่

1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  105
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ตัวอยางขอความที่สรางจากเครื่องมืออักขระ


                                                                                   เสนประนีเกิด
                                                                                             ้
                                                                                   จากการคลิก
                                                                                   และลากจาก
                                                                                   เครื่องมือตัว
                                                                                   อักขระ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                            106
                      © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•การสรางคําอธิบาย สามารถทําโดย

    •คลิกเลือกเครื่องมือตัวอักขระ

    •นําเมาสมาคลิกทีพื้นทีทํางาน ลากใหไดขนาดของ
                       ่      ่
    กลองบรรจุขอความตามตองการ จะปรากฏเปนเสนประ
    และมีตัวชีกระพริบอยูมมบนซายของกลองเสนประ ซึ่ง
              ้             ุ
    สามารถพิมพขอความไดทนที สิงทีตามมาจากการ
                                ั   ่ ่
    เรียกใชเครื่องมือตัวอักขระคือการแสดงถาดตัวอักขระ
    เหนือแถบสถานะภาพ



1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  107
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
• การกําหนดชือใหแกวัตถุ สามารถทําไดสองวิธีคือ
                ่
   1. กําหนดดวยตนเอง ดวยการคลิกเลือกวัตถุที่ตองการ
     จากนันคลิกเครื่องมือตัวอักขระ ตัวชี้จะเปลียนเปนรูป
            ้                                   ่
     มือซาย(ลักษณะเปนลายเสน)ทีชเฉพาะนิวชี้ เมือ
                                     ่ ู      ้    ่
     นํามาสัมผัสกับวัตถุ ตัวชีดังกลาวจะเปลียนเปนสีดํา
                              ้             ่
     ทึบ สามารถคลิกลงบนวัตถุ จะเกิดตัวอักขระให โดย
     ปกติจะเริมจากอักขระ A B C ...สําหรับจุดใด ๆ ซึ่ง
              ่
     ผูใชสามารถทําการเปลียนแปลงแกไขไดตาม
                            ่
     ตองการ ซึ่งจะกลาวในหัวขอตอไป

    2. โปรแกรมกําหนดอักขระ ทังนีผูใชเพียงแตการคลิก
                               ้ ้
      เลือกวัตถุทตองการ และเรียกใชคําสัง Show Label
                 ี่                      ่
      จากเมนู Display จะใหผลลักษณะเดียวกับขางตน
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  108
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
แบบอักขระเอียง          สัญลักษณ
ถาดอักขระ                                                                           จานสี




      ชนิดอักขระ                             ขนาดอักขระ            แบบอักขระหนา เมนูสี

                                                                        แบบอักขระขีดเสนใต




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                         109
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•ชนิดอักขระ ใชเพือเปลียนชนิดของอักขระ
                      ่         ่
•ขนาดอักขระ ใชเพือเปลียนขนาดของอักขระ ขนาดของ
                              ่     ่
อักขระจะปรากฏเพือใหเลือกใช หรือผูใชสามารถพิมพ
                            ่
ขนาดของอักขระทีตองการลงไปในกลองโดยตรงได
                          ่
•แบบอักขระ ใชเพือเปลียนแบบของอักขระ สามารถเลือก
                        ่         ่
แบบอักขระ ได สามประเภทคือ แบบตัวพิมพชนิดหนา
(Bold) แบบตัวพิมพชนิดเอียง(Italic) แบบตัวพิมพชนิดขีด
เสนใต (Underline)
•เมนูสี ใชเพื่อเปลียนสีของอักขระ สามารถเลือกสีอกขระ ที่
                    ่                           ั
ตองการ โดยใชเมาสคลิกทีลูกศรหัวลงขางกลองเมนูสี จะ
                                      ่
ปรากฏเมนูของสีตาง ๆ จานสี ใชเพือเปลียนสีของอักขระ
                                        ่ ่
สามารถเลือกสีอกขระตามระดับความเขมออนของสี หรือ
                  ั
กําหนดคาของสีตามตองการ โดยใชเมาสคลิกทีจานสี
                                             ่
 1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                   110
                      © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เมนูสี




                          จานสี




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  111
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ถาดอักขระ


         I                         II                               III                  IV

             I คือกลุมของปุม Overbar
             II คือกลุมของปุม ตัวดําเนินการ
             III คือกลุมของปุม เพื่อการจัดกลุม
             IV คือกลุมของปุม สัญลักษณ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                              112
                            © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•กลุม Overbar มีประโยชนในการพิมพชอเพื่ออธิบาย สวน
                                     ื่
ของเสนตรง รังสี เสนตรง และสวนโคง ดังตัวอยาง


  สวนของเสนตรง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB
  รังสี AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB
  เสนตรง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB
  สวนของเสนโคง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB



 1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                   113
                      © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•กลุมตัวดําเนินการ มีประโยชนในการพิมพเลขเศษสวน ตัว
    
เลขทีอยูภายใตเครื่องหมายกรณฑ เลขยกกําลัง และเลข
      ่
ฐานตาง ๆ ดังตัวอยาง

                                                                           2
  เศษสองสวนสาม สามารถเขียนไดดังนี้
                                                                           3
  รากที่สองของหา สามารถเขียนไดดังนี้                                         5

  a ยกกําลัง b สามารถเขียนไดดังนี้ ab

  เลขจํานวน 1001 ฐานสอง สามารถเขียนไดดังนี้ (1001) 2


 1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                   114
                      © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
•กลุมเพื่อการจัดกลุม มีประโยชนในการพิมพ
                  
จํานวนในวงเล็บ และคาสัมบุรณ ดังตัวอยาง


    2 มีคาเทากับ 2
   {2*[24/(3+3)-2 ]}มีคาเทากับเทาไร




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  115
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
กลุมสัญลักษณ มีประโยชนในการพิมพ
   
สัญลักษณตาง ๆ เชน มุม สัญลักษณพาย
องศา เปนตน ดังตัวอยาง

      ABC มี ∠ABC+∠BCA+∠CAB=180°

 พื้นที่ของวงกลม = πr2


 AB ⊥ CD

 π ≈ 3.14
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  116
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การแกไขขอความ ในที่นี้หมายถึงการพิมพ
แทรก แกไข ลบ สามารถทําได ดังนี้
•นําเมาสคลิกทีเครื่องมือศรชี้
                 ่
•ดับเบิลคลิกทีขอความที่ตองการแกไข
               ่ 
•เมื่อพบวาตัวชี้เปลียนเปนรูปตัว I ใหเลือน
                     ่                    ่
เคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการแกไข และ
ทําการแกไขตามตองการ




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  117
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
เครืองคํานวณ
    ่




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  118
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
พื้นทีแสดงผลลัพธของ
                                                           ่
                                                     เครื่องคํานวณ


                                                      จอของเครื่องคํานวณ




                                                      แปนพิมพปอนคา
                                                      ของเครื่องคํานวณ




   ปุมเมนูชวยเหลือ   ปุมยกเลิกการใชเครื่องคํานวณ                 ปุมกําหนดใหแสดงผล
                                                                     ลัพธการคํานวณที่บน
                                                                     พื้นทีทํางานของเอกสาร
                                                                           ่
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                         119
                       © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ประโยชน
ใชสําหรับทําการคํานวณนิพจนทางคณิตศาสตร
ซึ่งจะเกียวของกับปจจัย สองตัว
         ่
       คือ การวัด (Measure)
       และ ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร
ไดแก บวก ลบ คูณ หาร เปนตน
ตัวอยางเชนการคํานวณหาเสนรอบรูปของวงกลม
การคํานวณจะใชรัศมีจากรูปทีเลือก
                            ่
หากรัศมีเปลี่ยน คาที่ปรากฏจะเปลียนตามไปดวย
                                 ่
นอกจากนันยังมีความสามารถในการกําหนดคาคงที่
           ้
ของตัวแปรตาง ๆ


1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  120
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
Tip:
                                                       สรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาว
                                                       ดานละ 5 ซม.




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  121
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ตาราง
(Table)

ใชตารางเพื่อ
•แสดงการเปลียนแปลงของ
               ่
ตัวเลขทีเกิดจากการวัด และ
         ่
การคํานวณ
•โดยตารางจะแสดงอยูในรูป
ของแถว และสดมภ
•ตัวเลขทีแสดงในแตละแถว
           ่
คือขอมูลทีวัดไดใน ครั้ง
             ่
หนึง ๆ
    ่
1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  122
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
การสรางตาราง
•คลิกเลือกเครื่องมือศรชี้
•คลิกเลือกขอมูลทีเกิดจากการวัด หรือการคํานวณดวยวิธี
                   ่
ใด ๆ อยางนอย 1 รายการ
ในกรณีทตองการเลือกมากกวาหนึงรายการ ใหกดปุม
         ี่                      ่
Shift แชคางไวแลวคลิกเลือกขอมูล
•เลือกคลิกคําสั่ง Tabulate... จากเมนู Graph




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                  123
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
3
1



                         2




    1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                      124
                         © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
ตารางที่ โปรแกรมสรา ง
                                                                      จากรายการข อ มูล ที่ ผู ใช เ ลื อ ก




1 - 4 สิงหาคม 2546
                                                                                                 125
                     © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad

Contenu connexe

Plus de อนุชิต ไชยชมพู

Plus de อนุชิต ไชยชมพู (7)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpressคู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
คู่มือสร้างเว็บบล็อกด้วย Wordpress
 
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
GSP คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ม.4-5-6
 

Gsp สำหรับประถม Geometer's Sketchpad

  • 1. The Geometer’s Sketchpad 1 - 4 สิงหาคม 2546 1 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 2. •ผูบรรยาย นวลนดา สงวนวงษทอง สํานักการศึกษาระบบสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร โทรศัพท 0-2727-3259 nualnada@nida.nida.ac.th 1 - 4 สิงหาคม 2546 2 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 3. วัตถุประสงค •สรางความเขาใจเกี่ยวกับโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad คืออะไร •ทําไมจึงตองใชเรขาคณิตแบบไดนามิค •โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ทํา อะไรไดบาง  บทที่ 0 1 - 4 สิงหาคม 2546 3 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 4. เกรินนํา ่ บทนี้มีความประสงคจะแนะนําเครื่องมือทีมีความ ่ เหมาะสมในการสรางเรขาคณิตแบบไดนามิค ซึง ่ ผูที่จะใชเครื่องมือตัวนี้ไดอยางดีก็คือผูทมีความ ี่ ชํานาญงานดานคณิตศาสตร เครื่องมือนี้จะชวย ใหทานประหยัดเวลา และนําเสนอชิ้นงานตาง ๆ ในลักษณะเคลื่อนไหว เพื่อใหนักเรียนเกิดความ เขาใจแบบรูปธรรม และจักไดมีความรักในวิชา เรขาคณิต 1 - 4 สิงหาคม 2546 4 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 5. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดบญญัติศัพทคําวา “เรขาคณิต” ั ไวดังนี้ •เปนคณิตศาสตรแขนงหนึ่งที่วาดวยการ จําแนกประเภท สมบัติ และโครงสรางของ เซตของจุดที่เรียงกันอยางมีระเบียบตาม กฎเกณฑที่กําหนดใหเปนรูปทรงตางๆ เชน เสนตรง วงกลม รูปสามเหลียม ระนาบ ่ กรวย 1 - 4 สิงหาคม 2546 5 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 6. อะไร • โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad คือ ..... 1 - 4 สิงหาคม 2546 6 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 7. ทําไม (ตองใชเรขาคณิตแบบไดนามิค) • Pictures speak more than 1000 words. http://202.44.72.7/nualnada/websketch/sketchpad.html 1 - 4 สิงหาคม 2546 7 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 8. ทําไม (ตองใช โปรแกรม เรขาคณิตแบบได นามิค) การสรางรูปทรงเขา คณิต ใหไดขนาด และองศาตาม ตองการ สามารถชวย ขยายความเขาใจ แต หากเขียนดวยมือ ตองใชเวลามาก 1 - 4 สิงหาคม 2546 8 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 9. (การใชเรขาคณิตแบบไดนามิค จะชวยได) อยางไร (1) เขาถึงการเรียนการสอนในวิชาเรขาคณิต (2) เพื่อการนําเสนอ (3) เรียนรูเรื่องรูปจากเอกสาร 1 - 4 สิงหาคม 2546 9 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 10. เริ่มตนทํางานกับ The Geometer’s Sketchpad สมมุติฐาน : ในเครื่องคอมพิวเตอรที่ทานกําลังศึกษามีโปรแกรม  The Geometer’s Sketchpad ลงไวเรียบรอยแลว และใชระบบปฏิบัติการแบบ หนาตางงาน บทที่ 1 1 - 4 สิงหาคม 2546 10 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 11. ใชวิธีหนึ่งวิธีใดตอไปนี้ •มองหา icon sketchpad • Start>All Programs>GSP4.03 • Start>Search>All files or folders >GSP*.* 1 - 4 สิงหาคม 2546 11 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 12. 1 - 4 สิงหาคม 2546 12 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 13. สวนติดตอกับผูใช แถบชือเรื่อง ่ ปุมเรียกคืน แถบเมนู ปุมยอ ปุมปดงาน แถบ เลื่อน พื้นทีทํางาน ่ ขึนลง ้ แถบเครื่องมือ แถบเลื่อนซาย ขวา แถบสถานภาพ 1 - 4 สิงหาคม 2546 13 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 14. แถบเมนู 1 - 4 สิงหาคม 2546 14 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 15. ลักษณะคําสั่งบนแถบเมนู ชื่อเมนู คําสั่งในเมนู เรียกใชโดยกดแปนพิมพตามระบุ เรียกใชโดยใชเมาสคลิกเลือก ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่ไมพรอมใชงานในขณะที่เรียก ตัวอยางลักษณะคําสั่งพรอมใชงานในขณะที่เรียก ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่จะปรากฏรายการคําสังยอย ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 ตัวอยางลักษณะคําสั่งที่จะปรากฏกรอบโตตอบ 15 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 16. (1)เมนูFile เก็บคําสั่งที่ใช เกี่ยวกับแฟมขอมูล เชน • คําสั่งเปดแฟมขอมูลใหม • เปดแฟมขอมูลทีสรางไวแลว ่ • การบันทึกแฟมขอมูล • การปดหนาตางงานที่กําลังใชงานอยู • การเพิ่มหนาเอกสารในแฟมขอมูลหนึ่ง ๆ • การพิมพ • การออกจากโปรแกรม The Geometer's Sketchpad เปน ตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 16 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 17. (2) เมนูEdit เก็บคําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการ แกไข เปลี่ยนแปลงขอมูล เชน • การยกเลิก • การทําคําสังซ้ํา ่ • การทําสําเนา • การสรางปุมควบคุมการเคลื่อนไหว (Action Button) เปนตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 17 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 18. (3) เมนู Display เก็บ คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับแสดงภาพ • สี ลักษณะตัวอักษร • ลักษณะของเสน • การซอน/ยกเลิกการซอนของวัตถุ • การสั่งใหวัตถุเคลื่อนไหว (Animate) เปนตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 18 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 19. (4) เมนูConstruct เก็บ คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการสราง วัตถุ เชน • สรางจุดบนวัตถุ • สรางจุดกึ่งกลางของเสน • สรางจุดตัด • สรางเสนตรง เปนตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 19 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 20. (6) เมนูMeasure เก็บ คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับการวัด เชน • วัดความยาวของเสน • วัดระยะทาง • วัดเสนรอบรูป • วัดเสนรอบวง • วัดขนาดของมุม เปนตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 20 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 21. (7) เมนูGraph เก็บคําสั่งที่ ใชเกี่ยวกับสรางกราฟ เชน • การพล็อตจุด • การกําหนดฟงกชั่นใหม • การกําหนดจุดกําเนิด (origin) เปน ตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 21 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 22. (8) เมนูWindow เก็บ คําสั่งที่ใชเกี่ยวกับรายการชื่อ แฟมขอมูลที่กําลังเปดใชงาน และสามารถใหผูใชเลือกทีจะ ่ แสดงเอกสารทั้งหมด แบบ cascade หรือ tile 1 - 4 สิงหาคม 2546 22 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 23. (9) เมนูHelp เก็บคําสั่งที่ใช เกี่ยวกับคําอธิบายที่จะใหความ กระจางในเรื่องหนึ่ง ๆ ลักษณะของคําอธิบายจะ ปรากฏบนโปรแกรม บราวเซอร (Browser) 1 - 4 สิงหาคม 2546 23 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 24. แถบเครืองมือ ่ และความสามารถของเครื่องมือแตละตัว 1 - 4 สิงหาคม 2546 24 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 25. เครื่องมือศรชี้(Translate, Rotate, Dilate) เครื่องมือจุด Toolbox หาย เครื่องมือวงกลม เรียกคืนอยางไร เครื่องมือเสนตรง(Segment, Ray, Line) เครื่องมือตัวอักขระ เครื่องมือCustom 1 - 4 สิงหาคม 2546 25 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 26. การสราง แฟมขอมูลใหม •ในการเรียกใชโปรแกรม The Geometer's Sketchpad แตละครั้ง โปรแกรมจะสราง แฟมขอมูล (document file) ใหโดย อัตโนมัติ และใหชื่อแฟมขอมูลดังกลาววา Untitled1 •ผูใชสามารถเปดแฟมขอมูลใหมตาม ตองการ โดยเลือกใชคําสั่ง New Sketch จากเมนู File หรือเลือกใชคําสั่งจาก แปนพิมพ โดยกดแปน Ctrlแชคางไว และ กดแปนตัว N 1 - 4 สิงหาคม 2546 26 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 27. แบบฝกหัด • เปดแฟมขอมูลSketch ใหมจํานวน 5 แฟม • สลับการทํางานไปมาระหวางแฟมเหลานั้น • จัดเรียงหนาตางงานของแฟมขอมูลตาม – Tile – Cascade 1 - 4 สิงหาคม 2546 27 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 28. การบันทึกแฟมขอมูล ในการทํางานแตละครั้ง และตองการบันทึก เก็บไว เพื่อใหสามารถเรียกใชในการ ทํางานครั้งตอ ๆ ไป สามารถเลือก ดําเนินการ ทํางานใหเหมาะสม ดังนี้ (1) ใชคําสั่ง Save จากเมนู File เพื่อทํา การเก็บบันทึกรายการเปลียนแปลง ่ ทั้งหมด นับแตการเก็บบันทึกครังลาสุด ้ ลงในแฟมขอมูลที่กําลังทํางานอยู หากใช คําสั่งนี้กบแฟมขอมูลที่สรางขึนใหม จะ ั ้ เหมือนกับใชคําสั่ง Save as จากเมนูFile 1 - 4 สิงหาคม 2546 28 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 29. (2) ใชคําสั่ง Save as จากเมนูFile เพื่อทําการบันทึกแฟมขอมูลทีกําลัง ่ ทํางานอยู ดวยชื่อ ลงบนสือหนวยความจํา ่ สํารอง (secondary storage) ที่ตองการ  1 3 2 1 - 4 สิงหาคม 2546 29 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 30. แบบฝกหัด • ทําการบันทึกแฟมขอมูลตัวที่ตองการลงใน ชื่อ Example1 ทีdirectory ชื่อตัวคุณเอง ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 30 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 31. การเปดแฟมขอมูล การเรียกแฟมขอมูลที่สรางไวแลว มาเพื่อ ทํางานตาง ๆ เชนอาน หรือ ทําการแกไข (เพิ่ม ลบ เปลียนแปลง) นัน สามารถใช ่ ้ คําสั่ง Open จากเมนู File 1 - 4 สิงหาคม 2546 31 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 32. การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล Sketchpad (1) • แฟมขอมูล Sketchpad จะเริ่มทํางานดวย หนาเอกสารโดดเสมอ • สามารถเพิ่มหนาเอกสารในแฟมขอมูล มากกวาหนึ่งหนา โดยใชคําสั่ง Document Option จากเมนู File 1 - 4 สิงหาคม 2546 32 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 33. การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล Sketchpad (2) • เพิ่มหนาเอกสารเปลา เลือกรายการ Blank page จากการคลิกปุม Add Page หนาเอกสารใหมมีชื่อวา 2 และการเพิ่ม หนาเอกสารในลําดับตอ ๆ ไป จะมีชื่อเปน 345 1 - 4 สิงหาคม 2546 33 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 34. แบบฝกหัด • เปด Example1 แทรกหนาเอกสารวาง ๆ ใหมจํานวน3หนา • ขณะนี้มีหนาเอกสารใหใชจํานวน 4 หนา • ที่เอกสารหนา 1 วาดรูปวงกลม 1 - 4 สิงหาคม 2546 34 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 35. การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล Sketchpad (3) • การทําซ้ําจากหนาเอกสารทีมีลกษณะ ั เหมือนหนาเอกสารแผนใดแผนหนึ่งใน แฟมขอมูลทีกําลังทํางานอยู ใหเลือก ่ รายการ Duplicate จากการคลิกปุม Add  Page 1 - 4 สิงหาคม 2546 35 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 36. แบบฝกหัด • ใน Example1 สรางเอกสารใหมหนาที่ 5 ใหมีลักษณะ เหมือนกับหนา 1 ทุกประการ 1 - 4 สิงหาคม 2546 36 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 37. การแทรกหนาเอกสารในแฟมขอมูล Sketchpad (4) • การเปลียนชื่อหนาเอกสาร ผูใชสามารถ ่ เปลียนชื่อหนาเอกสารจากทีโปรแกรม ่ ่ กําหนดไวเดิม คือ 1 2 3 ตามลําดับการ ทํางานเปนขอความใด ๆ ตามตองการ โดยเลือกใชคําสั่ง Document option จากเมนู File และนําเมาสไปคลิกที่ กลอง ขอความ (Page Name) พิมพขอความที่  ตองการใหเปนชื่อหนาเอกสาร และคลิก ปุม OK 1 - 4 สิงหาคม 2546 37 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 38. แบบฝกหัด • เปลี่ยนชื่อเอกสารใหมีชื่อตามตองการ • เชน •1 -> pageI •2 -> pageII •3 -> pageIII •4 -> pageIV •5 -> pageV 1 - 4 สิงหาคม 2546 38 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 39. การพิมพ แฟมขอมูลSketchpad หลังการสราง และแกไขแฟมขอมูล Sketchpadเรียบรอยแลว ผูใชที่ประสงค จะพิมพเอกสารออกทางเครื่องพิมพ นั้น สามารถกระทําได แตทั้งนี้ขบวนการ จัดการที่เกี่ยวของกับการพิมพมีทั้งสิ้นสาม สวน คือ • การดูชิ้นงานกอนพิมพ(Preview) • การกําหนดคา(Page Setup) ใหแกการ พิมพ • การพิมพ(Print)เอกสาร 1 - 4 สิงหาคม 2546 39 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 40. การดูชิ้นงานกอนพิมพ(Preview) ยอเขา ขยายใหพอเหมาะ หนาตอไป กับหนากระดาษ สังพิมพ ่ เลิกการPreview หนากอน กําหนดขนาดตามตองการ หนา ขยายออก 1 - 4 สิงหาคม 2546 40 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 41. แบบฝกหัด • จาก Example1 ที่ pageI ใชคําสั่ง Print Preview และศึกษาการทํางานของปุมตาง ๆ กับวัตถุ 1 - 4 สิงหาคม 2546 41 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 42. การกําหนดคา(Page Setup) ใหแกการ พิมพ ทําโดยเลือกรายการคําสั่ง Page Setup จากเมนู File ตัวอยางเชน (1) เลือกรายการ size เพื่อกําหนดขนาดของ กระดาษ (2) เลือกรายการ orientation เพื่อกําหนด ลักษณะการวางขอความในกระดาษ เลือกรายการ Portrait หากตองการวาง ขอความตามแนวตั้งของกระดาษ เลือกรายการ Landscape หากตองการวาง ขอความตามแนวขวางของกระดาษ 1 - 4 สิงหาคม 2546 42 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 43. การพิมพ(Print) แฟมขอมูล Sketchpad หมายถึงการพิมพหนาเอกสารที่ กําลังทํางานในแฟมขอมูลหนึง ่ ออกทางเครื่องพิมพ โดยเลือก รายการคําสั่งPrint จากเมนูFile กรอบโตตอบที่ปรากฏใหผูใช กําหนดรายละเอียดทีเกี่ยวของ ่ ทังนี้รายละเอียดทีปรากฏในแต ้ ่ ละรายการขึ้นอยูกบชนิดของ  ั เครืองพิมพทผูใชเลือก ่ ี่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 43 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 44. การปด แฟมขอมูลSketchpad หมายถึงการปดหนาตางงานของการทํางาน กับแฟมขอมูลปจจุบน ผูใชจะไดรับคําถาม ั ใหยืนยันเกี่ยวกับการบันทึกขอมูล หากยัง มิไดทําการบันทึกรายการเปลียนแปลงใด ่ ๆ ที่เกิดขึนหลังการบันทึกแฟมขอมูลครัง ้ ้ ลาสุด การทํางานนี้ทําโดยเลือกใชคําสั่ง Close จากเมนูFile ทั้งนี้โปรแกรมThe Geometer’s Sketchpad ยังคงเปด ทํางานอยู 1 - 4 สิงหาคม 2546 44 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 45. การออกจากโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หมายถึงผูใชตองการยุติการทํางานกับ โปรแกรม ใหเลือกคําสั่ง Quit จากเมนู File ทํานองเดียวกันหากมีการทํางาน เอกสารใด ๆ อยู และยังมิไดทําการบันทึก รายการเปลียนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึนหลัง ่ ้ การบันทึกแฟมขอมูลครังลาสุด ผูใชจะ ้ ไดรับคําถามใหยืนยันเกี่ยวกับการบันทึก ขอมูล ลักษณะเดียวกับการใชคําสั่งปด งาน(Close) 1 - 4 สิงหาคม 2546 45 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 46. ความรูเกี่ยวกับ The Geometer’s Sketchpad (1) บทที่ 2 1 - 4 สิงหาคม 2546 46 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 47. วัตถุประสงค เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ The Geometer’s Sketchpad ในเรื่อง เอกสาร •วัตถุ •จุด •สวนของเสนตรง รังสี และเสน •วงกลม และ สวนของวงกลม( Arc ) •พื้นที่ภายใน 1 - 4 สิงหาคม 2546 47 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 48. เอกสาร • คําวา “เอกสาร” ในที่นี้เปรียบไดกบ ั หนากระดาษในแฟมขอมูล ที่บรรจุงาน Sketchpadตั้งแตหนึ่งชิ้นขึนไป ้ • งานดังกลาวสรางจากเครื่องมือ และคําสั่ง ของโปรแกรม The Geometer's Sketchpad • โดยแฟมขอมูลSketchpad หนึ่ง ๆ สามารถบรรจุเอกสารตั้งแต1 หนาขึนไป ้ 1 - 4 สิงหาคม 2546 48 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 49. ลักษณะหนาตางงานของเอกสาร ชื่อแฟมขอมูล ปุมเรียกคืน ชื่อหนาของเอกสาร แถบชือเรื่อง ่ ปุมยอ ปุมปด งาน แถบ พื้นทีทํางาน ่ เลื่อน ขึนลง ้ แถบหนา แถบเลื่อนซาย ขวา 1 - 4 สิงหาคม 2546 49 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 50. การเลือนพื้นที่ทํางานSketchpad ไปมา ่ ALT+drag สังเกตุลกษณะของตัวชี้ ั 1 - 4 สิงหาคม 2546 50 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 51. วัตถุใน The Geometer’s Sketchpad Context menu? 1 - 4 สิงหาคม 2546 51 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 52. ประเภทของวัตถุ วัตถุที่ปรากฏในงานของ Sketchpad สามารถแบงออกเปนประเภท ตาง ๆ ไดดังนี้ (1) วัตถุรูปทรงเรขาคณิต เชน จุด สวนของ เสนตรง รังสี วงกลม รูปเหลียม เปนตน ่ (2) ตัวเลขทางคณิตศาสตร เชนคาจากการ วัด พารามิเตอร ฟงกชั่น เปนตน (3) คําอธิบาย ประกอบดวยอักขระที่ใช อธิบายชิ้นงาน หรือตัววัตถุหนึ่ง ๆ 1 - 4 สิงหาคม 2546 52 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 53. ลักษณะของวัตถุ (1) สี (Color) •วัตถุทุกตัวในชิ้นงานSketchpad สามารถ แสดงดวยสีตาง ๆ  •การกําหนดสีใหวัตถุ สามารถทําโดยคลิก เลือกคําสั่ง Color จากเมนู Display 1 - 4 สิงหาคม 2546 53 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 54. แบบฝกหัด • สรางแฟมเอกสารSketch ใหมชื่อ Example2 • สรางสวนของเสนตรง 2 เสน กําหนดใหมี สีตามตองการ 1 - 4 สิงหาคม 2546 54 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 55. ลักษณะของวัตถุ (2) ปายชื่อ (Label) ฉันชื่อวงกลม A วัตถุทางเรขาคณิตมักมีการ กําหนดชือ เพือใชเรียกเชน ่ ่ ดาน AB มุม XYZ ในการ กําหนดชือหรือการแกไขชือ ่ ่ ใหแกวัตถุใด ๆ บนชินงาน ้ Sketchpad สามารถใช เครื่องมือตัวอักขระจากแถบ เครื่องมือ 1 - 4 สิงหาคม 2546 55 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 56. แบบฝกหัด • ตั้งชื่อใหกับสวนของเสนตรง 2 เสน 1 - 4 สิงหาคม 2546 56 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 57. ลักษณะของวัตถุ (3) การมองเห็น (Visibility) วัตถุใด ๆ บนชิ้นงานSketchpad สามารถ กําหนดใหแสดง หรือ ซอน จากการมองได การทํางานเลือกวัตถุตัวที่ตองการซอนโดย คลิกเลือกคําสั่ง Hide Objects จากเมนู Display เพื่อซอนวัตถุ และเรียกวัตถุที่ซอน ใหแสดงโดยคลิกเลือกคําสั่ง Show All Hidden จากเมนู Display 1 - 4 สิงหาคม 2546 57 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 58. แบบฝกหัด • หาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรงทั้ง 2 เสน • ซอนสวนของเสนตรง • ลากจุดกึ่งกลางไปมา • สังเกต การเคลื่อนที่ของจุดกึ่งกลางดังกลาว 1 - 4 สิงหาคม 2546 58 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 59. ลักษณะของวัตถุ (4) การสรางใหเคลื่อนไหว (Animation) การสั่งใหวัตถุตัวที่เลือกไวเคลือนที่ไปมา ่ ทําโดยคลิกเลือกคําสั่ง Animation จากเมนู Display โดยคําสั่งดังกลาวมีสวนใหผูใชระบุ ตัวควบคุมการเคลือนที่ ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 59 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 60. แบบฝกหัด • สรางใหจุดกึ่งกลางของเสนเคลื่อนไหว 1 - 4 สิงหาคม 2546 60 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 61. ลักษณะของวัตถุ (5) รองรอย (Tracing) จากการเคลื่อนที่ ที่กําหนดในขอ(4) จะทํา ใหเกิดการรองรอยการเคลื่อนที่ ผูใช สามารถดูรองรอยการเคลือนที่แสดงผลการ ่ ทํางาน โดยคลิกเลือกคําสั่ง Trace จากเมนู Display และลบการแสดงผลของรองรอยที่ เกิดขึนโดยคลิกเลือกคําสั่ง Erase Traces ้ จากเมนู Display 1 - 4 สิงหาคม 2546 61 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 62. แบบฝกหัด • ติดตามดูลกษณะการเคลื่อนไหวของจุดกึ่งกลางของเสน ั 1 - 4 สิงหาคม 2546 62 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 63. ลักษณะของวัตถุ (6) ความกวางของเสน (Line Width) •วัตถุรูปทรงเรขาคณิตสวนใหญ มักแสดงใน ลักษณะของเสนตรง หรือสวนของเสนโคง •คําสั่งใหเลือกลักษณะการแสดงเสนออกเปน • เสนประ(Dash) •เสนหนา(Thick) •และเสนบาง(Thin) •วิธีการ สามารถทําไดโดยคลิกเลือกคําสั่งยอย จากคําสั่ง Line Width ในเมนู Display 1 - 4 สิงหาคม 2546 63 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 64. แบบฝกหัด • จาก Example2 เพิ่มหนากระดาษใหมชื่อ line • สรางสวนของเสนตรง 3 เสน • กําหนดใหมีความกวางของเสนตามตองการ 1 - 4 สิงหาคม 2546 64 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 65. ลักษณะของวัตถุ (7) คุณสมบัติ (Properties) วัตถุทุกตัวตางมีคุณสมบัติเฉพาะตัว เรา สามารถเลือกวัตถุ และคลิกเลือกคําสั่ง Properties จากเมนู Edit เพื่อทําการดู หรือ เปลียนแปลงคุณสมบัติที่เกี่ยวของกับวัตถุ ่ ตัวนั้น ๆ 1 - 4 สิงหาคม 2546 65 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 66. แบบฝกหัด • จากหนา line • กําหนดจุดปลายเปน A และ B ตามลําดับ • เปลี่ยนชื่อของสวนของเสนตรงที่สรางโดยใชคําสั่งใน Properties ในที่นี้ใหชื่อ segment AB 1 - 4 สิงหาคม 2546 66 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 67. ลักษณะของวัตถุ (8) ความสัมพันธของวัตถุ วัตถุหนึ่ง ๆ ในงานของSketchpad สามารถ บอกความสัมพันธระหวางชิ้นสวนภายใน วัตถุ ในลักษณะพอกับลูก 1 - 4 สิงหาคม 2546 67 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 68. แบบฝกหัด • จากหนา line สรางจุด วัตถุ พอ ลูก กึ่งกลางลงบนสวนของ A - AB เสนตรง B - AB • ศึกษาความสัมพันธของ วัตถุ C AB - AB 1 - 4 สิงหาคม 2546 68 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 69. จุด Points are zero-dimensional. That basically means that they have no height, length, or width. 1 - 4 สิงหาคม 2546 69 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 70. ประเภทของจุด (1) แบงออกเปนสามประเภทใหญ ๆ (คําอธิบายจะยึดหลักของความสัมพันธของวัตถุ เปนหลัก) คือ จุดอิสระ หมายถึงจุดที่ไมขึ้นกับวัตถุ ใด ๆ (ไมเปนลูกใคร) ตัวอยางไดแก จุดใด ๆ วิธีสรางจุดแบบอิสระ คลิกทีเครื่องมือจุด จากแถบเครื่องมือ ่ คลิกลงบนพื้นที่วางบนพื้นที่ทํางานของ เอกสาร 1 - 4 สิงหาคม 2546 70 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 71. ประเภทของจุด (2) จุดบนวัตถุใด ๆ หมายถึงจุดที่ถก ู กําหนดใหอยูบนสวนของวัตถุใด ๆ วิธีสรางจุดบนวัตถุใด ๆ •สรางสวนของเสนตรง AB •คลิกเครื่องมือศรชี้ •คลิกเลือกวัตถุ(ในที่นี้คือสวนของเสนตรง AB ) เพื่อวางจุด จะเห็นวาวัตถุที่ถูกเลือกสีจะ เปลี่ยนไป •จากเมนู Construct เลือกคําสั่ง Point On Segment 1 - 4 สิงหาคม 2546 71 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 72. ประเภทของจุด (3) จุดเชลย หมายถึงจุดที่ไมสามารถเคลื่อนที่ ไปที่อน หากปราศจากพอ ตัวอยางของจุด ื่ นี้คอ จุดตัด (Intersection) บนวัตถุคูหนึ่ง ื หรือจุดกึงกลางของวัตถุคูหนึ่ง ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 72 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 73. แบบฝกหัด • สรางจุดทั้งสามประเภท • ศึกษาการเคลื่อนไหวของจุดแตละประเภท ที่สราง 1 - 4 สิงหาคม 2546 73 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 74. สรุปการเคลือนที่ของจุด ่ จุดแตละประเภทจะมีการเคลื่อนที่ที่แตกตาง กัน ดังนี้ (1) จุดอิสระ การเคลือนที่ของจุดเปนอิสระ ่ (2) จุดบนวัตถุใด ๆ การเคลือนที่ของจุด ่ ดังกลาว จะอยูบนสวนของวัตถุที่กําหนด (3) จุดเชลย ไมสามารถเคลือนที่ไปที่อน ่ ื่ หากปราศจากพอ 1 - 4 สิงหาคม 2546 74 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 75. การแยก / รวม จุด กับวัตถุใด ๆ (Split / Merge) แบบฝกหัด •สรางวัตถุใด ๆ •สรางจุดบนวัตถุดังกลาว •แยกจุดที่สราง ออกจากวัตถุ •รวมจุดที่แยกเขาสูวัตถุ 1 - 4 สิงหาคม 2546 75 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 76. สวนของเสนตรง รังสี และเสน 1 - 4 สิงหาคม 2546 76 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 77. A line is a one-dimensional figure. That is, a line has length, but no width or height. สวนของเสนตรง รังสี เสน 1 - 4 สิงหาคม 2546 77 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 78. การสรางเสนตรง (1) โปรแกรม The Geometer's Sketchpad มีทางเลือกสําหรับการสรางวัตถุที่เกียวของ ่ กับเสนตรง หลายทางไดแก สรางจากจุดสองจุด 3 1 2 1 - 4 สิงหาคม 2546 78 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 79. การสรางเสนตรง (2) สรางจากเครืองมือเสนตรง ่ สวนของ เสนตรง รังสี เสน 1 - 4 สิงหาคม 2546 79 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 80. การสรางเสนตรง (3) สรางเสนตั้งฉาก Construct>Perpendicular Line 1 - 4 สิงหาคม 2546 80 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 81. แบบฝกหัด • สรางสี่เหลี่ยม มุมฉาก 1 - 4 สิงหาคม 2546 81 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 82. แบบฝกหัด • สรางสี่ เหลี่ยม ดานขนาน 1 - 4 สิงหาคม 2546 82 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 83. แบบฝกหัด • สรางมุมขนาด 5.625 องศา 1 - 4 สิงหาคม 2546 83 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 84. แบบฝกหัด • คํานวณหาความยาวของเสนรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ABCD 1 - 4 สิงหาคม 2546 84 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 85. วงกลม และสวนของวงกลม 1 - 4 สิงหาคม 2546 85 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 86. การสรางวงกลม(1) โปรแกรม The Geometer's Sketchpad มีทางเลือกสําหรับการสรางวัตถุรูปวงกลม หลายทางไดแก สรางจากจุดศูนยกลาง 1 - 4 สิงหาคม 2546 86 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 87. การสรางวงกลม(2) สรางจากจุดศูนยกลาง และจุดใด ๆ Construct>Circle by Center+Point 1 - 4 สิงหาคม 2546 87 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 88. การสรางวงกลม(3) สรางจากจุดศูนยกลาง และจุดใด ๆ Construct>Circle by Center+Radius 1 - 4 สิงหาคม 2546 88 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 89. การสรางสวนของวงกลม(1) สรางจากจุดสามจุด Construct>Arc through 3 points 1 - 4 สิงหาคม 2546 89 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 90. การสรางสวนของวงกลม(2) สรางบนวงกลมใด ๆ Construct>Arc on Circle แบบฝกหัด (1)เลือกวงกลม และคอยเลือกจุดทั้งสอง (2)เลือกจุดทั้งสอง และคอยเลือกวงกลม 1 - 4 สิงหาคม 2546 90 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 91. การวัด กับ วงกลม(1-3) • หาความยาวเสนรอบวง • Measure>Circumference • หาความยาวรัศมี • Measure>Radius • หาพื้นที่วงกลม • Measure>Area ตัวอยาง Circumference AB = 9.65 cm Area AB = 7.41 cm 2 Radius AB = 1.54 cm 1 - 4 สิงหาคม 2546 91 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 92. แบบฝกหัด • จงสรางสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ มีดานสัมผัสวงกลม ทั้งสี่ดาน และแนบในวงกลม 1 - 4 สิงหาคม 2546 92 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 93. แบบฝกหัด 1 - 4 สิงหาคม 2546 93 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 94. การวัด กับ สวนของวงกลม(1-2) หาArc Angle Measure>Arc Angle หาArc Length Measure>Arc Length ตัวอยาง 1 - 4 สิงหาคม 2546 94 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 95. พื้นที่ภายใน(1) Construct>Interior ตัวอยาง 1 - 4 สิงหาคม 2546 95 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 96. พื้นที่ภายใน(2) Segment and Sector Construct>Arc Interior ตัวอยาง เซคเตอร (สวนของวงกลมที่ตัดออกดวย รัศมีสองเสน) และ เซคเมนต (เสี้ยวของวงกลม) 1 - 4 สิงหาคม 2546 96 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 97. การวัดพื้นที่ภายใน Measure ตัวอยาง 1 - 4 สิงหาคม 2546 97 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 98. Tip • กําหนดจุดใด ๆ 5 จุด • Construct>Pentagon Interior • Select Parents • Construct>Segment 1 - 4 สิงหาคม 2546 98 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 99. แบบฝกหัด • ใหสรางสามเหลี่ยม ที่สามารถขยับมุม ยอดไปมา แตพื้นทีไม ่ เปลี่ยนแปลง 1 - 4 สิงหาคม 2546 99 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 100. Tip: Custom Tool :- square Slide2/tool11 1 - 4 สิงหาคม 2546 100 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 101. แบบฝกหัด • สราง Custom tool ชื่อ Ractangle slide2/rectangle • สราง Custom tool ชื่อ Triangle slide2/tri 1 - 4 สิงหาคม 2546 101 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 102. แบบฝกหัด • ใหสรางสามเหลี่ยมที่ สามารถขยับมุมยอดไปมา แตสวนสูงเปลี่ยนไปมาได โดยอิสระ 1 - 4 สิงหาคม 2546 102 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 103. ความรูเกี่ยวกับ The Geometer’s Sketchpad (2) บทที่ 3 1 - 4 สิงหาคม 2546 103 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 104. วัตถุประสงค เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ The Geometer’s Sketchpad ในเรื่อง •การสรางตัวอักขระ และ ถาดอักขระ •เครื่องคํานวณ •ตาราง •การกําหนดสีใหวัตถุ 1 - 4 สิงหาคม 2546 104 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 105. การสรางตัวอักขระ และะถาดอักขระ ในโปรแกรม The Geometer's Sketchpad ถาดอักขระจะ เปดใหอยางอัตโนมัติ ทุกครั้งเมือผูใชประสงคจะทําการ ่ ปรับปรุง (สราง และแกไข) เกียวกับตัวอักขระ เชน ่ ประเภท ขนาด รูปแบบ และ สี เปนตน ดังนันในสวนนี้ จึงมี ้ เรืองทีเกียวของกับตัวอักขระ ดังนี้ ่ ่ ่ (1) การสรางตัวอักขระ เชนกําหนดชื่อใหแก จุด เสน หรือ การเขียนคําอธิบายใด ๆ เปนตน แบงงานที่เกียวของกันออกเปน ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 105 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 106. ตัวอยางขอความที่สรางจากเครื่องมืออักขระ เสนประนีเกิด ้ จากการคลิก และลากจาก เครื่องมือตัว อักขระ 1 - 4 สิงหาคม 2546 106 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 107. •การสรางคําอธิบาย สามารถทําโดย •คลิกเลือกเครื่องมือตัวอักขระ •นําเมาสมาคลิกทีพื้นทีทํางาน ลากใหไดขนาดของ ่ ่ กลองบรรจุขอความตามตองการ จะปรากฏเปนเสนประ และมีตัวชีกระพริบอยูมมบนซายของกลองเสนประ ซึ่ง ้ ุ สามารถพิมพขอความไดทนที สิงทีตามมาจากการ ั ่ ่ เรียกใชเครื่องมือตัวอักขระคือการแสดงถาดตัวอักขระ เหนือแถบสถานะภาพ 1 - 4 สิงหาคม 2546 107 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 108. • การกําหนดชือใหแกวัตถุ สามารถทําไดสองวิธีคือ ่ 1. กําหนดดวยตนเอง ดวยการคลิกเลือกวัตถุที่ตองการ จากนันคลิกเครื่องมือตัวอักขระ ตัวชี้จะเปลียนเปนรูป ้ ่ มือซาย(ลักษณะเปนลายเสน)ทีชเฉพาะนิวชี้ เมือ ่ ู ้ ่ นํามาสัมผัสกับวัตถุ ตัวชีดังกลาวจะเปลียนเปนสีดํา ้ ่ ทึบ สามารถคลิกลงบนวัตถุ จะเกิดตัวอักขระให โดย ปกติจะเริมจากอักขระ A B C ...สําหรับจุดใด ๆ ซึ่ง ่ ผูใชสามารถทําการเปลียนแปลงแกไขไดตาม ่ ตองการ ซึ่งจะกลาวในหัวขอตอไป 2. โปรแกรมกําหนดอักขระ ทังนีผูใชเพียงแตการคลิก ้ ้ เลือกวัตถุทตองการ และเรียกใชคําสัง Show Label ี่ ่ จากเมนู Display จะใหผลลักษณะเดียวกับขางตน 1 - 4 สิงหาคม 2546 108 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 109. แบบอักขระเอียง สัญลักษณ ถาดอักขระ จานสี ชนิดอักขระ ขนาดอักขระ แบบอักขระหนา เมนูสี แบบอักขระขีดเสนใต 1 - 4 สิงหาคม 2546 109 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 110. •ชนิดอักขระ ใชเพือเปลียนชนิดของอักขระ ่ ่ •ขนาดอักขระ ใชเพือเปลียนขนาดของอักขระ ขนาดของ ่ ่ อักขระจะปรากฏเพือใหเลือกใช หรือผูใชสามารถพิมพ ่ ขนาดของอักขระทีตองการลงไปในกลองโดยตรงได ่ •แบบอักขระ ใชเพือเปลียนแบบของอักขระ สามารถเลือก ่ ่ แบบอักขระ ได สามประเภทคือ แบบตัวพิมพชนิดหนา (Bold) แบบตัวพิมพชนิดเอียง(Italic) แบบตัวพิมพชนิดขีด เสนใต (Underline) •เมนูสี ใชเพื่อเปลียนสีของอักขระ สามารถเลือกสีอกขระ ที่ ่ ั ตองการ โดยใชเมาสคลิกทีลูกศรหัวลงขางกลองเมนูสี จะ ่ ปรากฏเมนูของสีตาง ๆ จานสี ใชเพือเปลียนสีของอักขระ ่ ่ สามารถเลือกสีอกขระตามระดับความเขมออนของสี หรือ ั กําหนดคาของสีตามตองการ โดยใชเมาสคลิกทีจานสี ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 110 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 111. เมนูสี จานสี 1 - 4 สิงหาคม 2546 111 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 112. ถาดอักขระ I II III IV I คือกลุมของปุม Overbar II คือกลุมของปุม ตัวดําเนินการ III คือกลุมของปุม เพื่อการจัดกลุม IV คือกลุมของปุม สัญลักษณ 1 - 4 สิงหาคม 2546 112 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 113. •กลุม Overbar มีประโยชนในการพิมพชอเพื่ออธิบาย สวน  ื่ ของเสนตรง รังสี เสนตรง และสวนโคง ดังตัวอยาง สวนของเสนตรง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB รังสี AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB เสนตรง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB สวนของเสนโคง AB สามารถเขีย นไดดังนี้ AB 1 - 4 สิงหาคม 2546 113 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 114. •กลุมตัวดําเนินการ มีประโยชนในการพิมพเลขเศษสวน ตัว  เลขทีอยูภายใตเครื่องหมายกรณฑ เลขยกกําลัง และเลข ่ ฐานตาง ๆ ดังตัวอยาง 2 เศษสองสวนสาม สามารถเขียนไดดังนี้ 3 รากที่สองของหา สามารถเขียนไดดังนี้ 5 a ยกกําลัง b สามารถเขียนไดดังนี้ ab เลขจํานวน 1001 ฐานสอง สามารถเขียนไดดังนี้ (1001) 2 1 - 4 สิงหาคม 2546 114 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 115. •กลุมเพื่อการจัดกลุม มีประโยชนในการพิมพ   จํานวนในวงเล็บ และคาสัมบุรณ ดังตัวอยาง 2 มีคาเทากับ 2 {2*[24/(3+3)-2 ]}มีคาเทากับเทาไร 1 - 4 สิงหาคม 2546 115 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 116. กลุมสัญลักษณ มีประโยชนในการพิมพ  สัญลักษณตาง ๆ เชน มุม สัญลักษณพาย องศา เปนตน ดังตัวอยาง ABC มี ∠ABC+∠BCA+∠CAB=180° พื้นที่ของวงกลม = πr2 AB ⊥ CD π ≈ 3.14 1 - 4 สิงหาคม 2546 116 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 117. การแกไขขอความ ในที่นี้หมายถึงการพิมพ แทรก แกไข ลบ สามารถทําได ดังนี้ •นําเมาสคลิกทีเครื่องมือศรชี้ ่ •ดับเบิลคลิกทีขอความที่ตองการแกไข ่  •เมื่อพบวาตัวชี้เปลียนเปนรูปตัว I ใหเลือน ่ ่ เคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ตองการแกไข และ ทําการแกไขตามตองการ 1 - 4 สิงหาคม 2546 117 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 118. เครืองคํานวณ ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 118 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 119. พื้นทีแสดงผลลัพธของ ่ เครื่องคํานวณ จอของเครื่องคํานวณ แปนพิมพปอนคา ของเครื่องคํานวณ ปุมเมนูชวยเหลือ ปุมยกเลิกการใชเครื่องคํานวณ ปุมกําหนดใหแสดงผล ลัพธการคํานวณที่บน พื้นทีทํางานของเอกสาร ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 119 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 120. ประโยชน ใชสําหรับทําการคํานวณนิพจนทางคณิตศาสตร ซึ่งจะเกียวของกับปจจัย สองตัว ่ คือ การวัด (Measure) และ ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร ไดแก บวก ลบ คูณ หาร เปนตน ตัวอยางเชนการคํานวณหาเสนรอบรูปของวงกลม การคํานวณจะใชรัศมีจากรูปทีเลือก ่ หากรัศมีเปลี่ยน คาที่ปรากฏจะเปลียนตามไปดวย ่ นอกจากนันยังมีความสามารถในการกําหนดคาคงที่ ้ ของตัวแปรตาง ๆ 1 - 4 สิงหาคม 2546 120 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 121. Tip: สรางสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาว ดานละ 5 ซม. 1 - 4 สิงหาคม 2546 121 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 122. ตาราง (Table) ใชตารางเพื่อ •แสดงการเปลียนแปลงของ ่ ตัวเลขทีเกิดจากการวัด และ ่ การคํานวณ •โดยตารางจะแสดงอยูในรูป ของแถว และสดมภ •ตัวเลขทีแสดงในแตละแถว ่ คือขอมูลทีวัดไดใน ครั้ง ่ หนึง ๆ ่ 1 - 4 สิงหาคม 2546 122 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 123. การสรางตาราง •คลิกเลือกเครื่องมือศรชี้ •คลิกเลือกขอมูลทีเกิดจากการวัด หรือการคํานวณดวยวิธี ่ ใด ๆ อยางนอย 1 รายการ ในกรณีทตองการเลือกมากกวาหนึงรายการ ใหกดปุม ี่ ่ Shift แชคางไวแลวคลิกเลือกขอมูล •เลือกคลิกคําสั่ง Tabulate... จากเมนู Graph 1 - 4 สิงหาคม 2546 123 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 124. 3 1 2 1 - 4 สิงหาคม 2546 124 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved
  • 125. ตารางที่ โปรแกรมสรา ง จากรายการข อ มูล ที่ ผู ใช เ ลื อ ก 1 - 4 สิงหาคม 2546 125 © ผูชวยศาสตราจารยนวลนดา สงวนวงษทอง All rights reserved