SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
รายวิช า 000250 พระอภิธ รรมปิฎ ก ชุด ที่ 2
คำา ชี้แ จง
คำา สั่ง

1.

2.

3.

4.

แบบทดสอบฉบับนี้มี 120 ข้อ จำานวน 14 หน้า
จงอ่านคำาถามข้างล่างนี้ และเลือ กคำา ตอบที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งคำา ตอบเดีย ว
ในกระดาษคำาตอบ โดยการใช้ ดิน สอดำา 2B, BB, ปากกาลูก ลื่น หรือ
ซึม ระบาย
ในวงกลมของตัวเลือกที่ท่านเลือก ให้ด ำา เข็ม เต็ม วง ดังตัวอย่างที่ปรากฎ
ตอบ

คัมภีร์ใดว่าด้วยการแสดงปรมั
ตถธรรม
เป็นคู่ ๆ
ก. คัมภีร์ธาตุกถา
ข. คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ
ค. คัมภีร์กถาวัตถุ
ง. คัมภีร์ยมก
คัมภีร์ธัมมสังคณีว่าด้วยหมวด
แห่งปรมัตถธรรม ทรงแสดงอยู่ 12 วัน มี
เทวดาบรรลุ
ธรรม จำานวนเท่าใด
ก. 5 โกฏิ
ข. 6 โกฏิ
ค. 7 โกฏิ
ง. 8 โกฏิ
พระเถระหัวหน้าสายพระ
อภิธรรมที่ระบุชื่อ
ในอรรถกถาอัฏฐสาลินีคือท่าน
ใด
ก. พระภัททชิเถระ
ข. พระติสสทัตตเถระ
ค. พระโสภิตเถระ
ง. พระสารีบุตรเถระ
ข้อใดมิใช่ผลสรุปจากการ
สังคายนาครั้งที่ 1

5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอรรถกถาแล
พระบาลี
ก. อรรถกถาอธิบายพระบาลี
ข. อรรถกถากับพระบาลีมีเนื้อหาขัดแย้งก
ค. พระบาลีเป็นพุทธพจน์ อรรถกถาเป็น
คำากล่าวของพุทธสาวก
ง. เนื้อหาของอรรถกถาและพระบาลี

ครอบคลุมพุทธวจนะทั้งหมด
6. พุทธพจน์ว่า "ภิกษุในธรรมวินัยนี้แสดง
ธรรมตามที่ตนได้สดับมา...(แต่ตนเอง)
ไม่ประกอบความสงบใจภายใน จึงไม่ชื่อว
เป็นอยู่โดยธรรม" คำาที่ขีดเส้นใต้ตรงกับ
ข้อใด
ก. พระสูตร
ข. พระอภิธรรมและพระวินัย
ค. พระสูตรและพระอภิธรรม
ง. พระสูตร พระอภิธรรมและพระวินัย
7. ภิกขุวิภังค์และภิกขุณีวิภังค์ อยู่ในส่วนใด
ของพระไตรปิฎก
ก. พระวินัยปิฎก
8.

9.

1
0.

ก. ร้อยกรองพระธรรมวินัย
ข. ปรับอาบัติพระอานนท์ให้
แสดงอาบัติ
ค. วิธีลงพรหมทัณฑ์แก่พระฉัน
นะ
ง. จัดพุทธธรรมเป็นไตรปิฎก
ข้อใดมิใช่ความหมายของพระ
อภิธรรม
ก. ธรรมที่เจริญ
ข. ธรรมที่สามารถนึกคิดเองได้
ค. ธรรมที่ควรกำาหนด
ง. ธรรมอันยิ่งและวิเศษ
ที่ชื่อว่า พระอภิธรรม เพราะ
เหตุผลข้อใด
ก. มีเนื้อหามากที่สุดในบรรดา
ปิฎกทั้ง 3
ข. มีเนื้อหาโยงใยตาม
กระบวนการของ
เหตุปัจจัย
ค. มีเนื้อหาเป็นหลายนัย และ
ซับซ้อน
ง. มีเนื้อหาลึกซึ้งคัมภีรภาพ
อย่างยิ่ง
การแจกหรือกระจายปรมัตถ
ธรรม
เป็นส่วน ๆ อยู่ในคัมภีร์ใด
ก. ธัมมสังคณี
ข. วิภังค์
ค. ธาตุกถา
ง. ยมก

1
1. พระอภิธรรมมีกี่คัมภีร์
ก. 4 คัมภีร์
ข. 5 คัมภีร์
ค. 6 คัมภีร์

ข. พระสุตตันตปิฎก
ค. พระอภิธรรมปิฎก
ง. ทั้ง 3 ปิฎก

12
. ประโยชน์ของการศึกษาพระอภิธรรม
คือข้อใด
ก. เข้าใจเรื่องของปรมัตถธรรม คือสภาว
ของกาย จิต วิญญาณ
ข. เกิดความเข้าใจว่ากาย จิต วิญญาณ
ไม่มีจริง
ค. เกิดความเข้าใจว่า กรรมและผลของ

กรรมไม่มีจริง
ง. เกิดความเข้าใจว่าการเกิด แก่ เจ็บ ต
ไม่มีจริง

13
. การแสดงปัจจัยต่าง ๆ ของปรมัตถ์อยู่ใน
คัมภีร์ใดของพระอภิธรรม
ก. วิภังค์
ข. ธาตุกถา
ค. ยมก
ง. ปัฏฐาน

14
. ในพระอภิธรรม คัมภีร์ที่ 1 คือข้อใด
ก.
ข.
ค.
ง.

ธัมมสังคณี
วิภังค์
ธาตุกถา
ปัฏฐาน
ง. 7 คัมภีร์

1 ข้อใดคือความหมายของคัมภีร์
6. ธัมมสังคณี
ก. การจำาแนกสภาวธรรมอย่าง
ละเอียด
ข. การสงเคราะห์ธาตุแห่ง
สภาวธรรม
ค. การจัดกลุ่มของสภาวธรรม
ง. การตรวจสอบเกี่ยวกับสภาว
ธรรม
1 ในคัมภีร์ธัมมสังคณีจะศึกษา
7. เกี่ยวกับ
อภิธรรมและพระสูตรขนาด
กลางพอควร
ในกัณฑ์ใด
ก. จิตตุปปาทกัณฑ์
ข. รูปกัณฑ์
ค. นิพพานกัณฑ์
ง. นิกเขปกัณฑ์
1 ข้อใดเป็นมาติกาของคัมภีร์ธัมม
8. สังคณี
ก. นยมุขติกมาติกา
ข. วินยติกมาติกา
ค. สุตตันตติกมาติกา

15
. โครงสร้างของคัมภีร์ธัมมสังคณีเกี่ยวข้องก
เรื่องใด
ก. สมมติธรรม
ข. ปรมัตถธรรม
ค. โลกิยธรรม
ง. โลกุตตรธรรม

20
. เพราะเหตุใดในกุศลติกมาติกาจึงแสดงกุศล
ธรรมเป็นลำาดับแรก
ก. กุศลมีในใจของคนดีอยู่แล้ว
ข. กุศลเกิดในสุคติภูมิอยู่แล้ว
ค. กุศลน่ายินดี ส่งผลเป็นสุข
ง. กุศลมีพยัญชนะ "ก" เป็นลำาดับแรก

21
. อัพยากตธรรมอธิบายในลำาดับสุดท้าย
ภายหลังกุศลและอกุศลเพราะเหตุใด
ก. ไม่มีความสำาคัญ
ข. ไม่มีความทุกข์ยาก
ค. ไม่มีการส่งผลวิบาก
ง. ไม่มีความเป็นตัวตน
22
. การแบ่งจิตเป็นกุศล - อกุศล - วิบาก กิริยา อาศัยสิ่งใดเป็นเครื่องจำาแนก
ก. สถานที่เกิด
ข. สภาวธรรมที่เกิดร่วมกัน
ง. อภิธัมมติกมาติกา
1 ข้อใดเป็นลำาดับการแสดงจิตใน
9. จิตตุปปาท
กัณฑ์
ก. อกุศลจิต - กุศลจิต - อกุศล
วิบากจิต กุศลวิบากจิต - กิริยาจิต
ข. อกุศลจิต - อกุศลวิบาก กุศลจิต กุศลวิบากจิต - กิริยาจิต
ค. กุศลจิต - กุศลวิบาก - กุศล
จิต อกุศลวิบากจิต - กิริยาจิต
ง. กุศลจิต - อกุศลจิต - กุศล
วิบากจิต อกุศลวิบากจิต - กิริยาจิต

ค. เหตุใกล้ให้เกิด
ง. ลำาดับแห่งการเกิด

23
. ข้อใดคือเหตุใกล้ทำาให้เกิดวิบากอัพยากตจ
ก. คบกับคนพาล
ข. พรหมลิขิต
ค. บุญ - บาป
ง. สภาพแวดล้อม

24
. สภาวธรรมใดที่สามารถประกอบกันได้
ก. จิตเกิดพร้อมกันกับรูป
ข. จิตดับพร้อมกันกับเจตสิก
ค. รูปมีอารมณ์เดียวกับเจตสิก
ง. รูปเกิดที่เดียวกับจิต

2 จิตกับเจตสิกในข้อใดที่สามารถ 30
5. เกิดร่วมกันได้
. ถ้าต้องการทราบคำาอธิบายสุตตันตทุก
ก. มหากุศลจิตกับมานเจตสิก
มาติกาจะศึกษาได้ในกัณฑ์ใด
ข. โมหมูลจิตกับสัทธาเจตสิก
ก. จิตตุปปาทกัณฑ์
ค. จักขุวิญญาณจิตกับปัญญา
เจตสิก
ข. รูปกัณฑ์
ง. รูปฌานจิตกับมุทิตาเจตสิก
ค. นิกเขปกัณฑ์
2 กิริยาจิตไม่เกิดร่วมกันกับเจตสิก
6. กลุ่มใด
ง. อัฏฐกถากัณฑ์
31
ก. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก
. คำาว่า "ภควา" แสดงถึงลักษณะใดของ
ข. สัพพากุสลสาธารณเจตสิก
พระพุทธเจ้า
ค. โสภณสาธารณเจตสิก
ก. เอกังสวาที
ง. ปัญญินทรีย์เจตสิก
2 อกุศลเจตสิกเกิดร่วมกับเจตสิก
7. กลุ่มใด
ก. โสภณสาธารณเจตสิก
ข. อัปปมัญญาเจตสิก
ค. ปกิณณกเจตสิก
ง. ปัญญินทรีย์เจตสิก
2 เจตสิกที่เกิดร่วมกับเจตสิกได้
8. เรียกว่านัย
อะไร
ก. สังคหนัย
ข. สัมปโยคนัย
ค. ชาติเภทนัย
ง. ตทุภยมิสสกนัย
2 ข้อใดกล่าวถึงพระนิพพานได้ถูก
9. ต้อง
ก. เป็นเทวภูมิชั้นสูงที่สุด
ข. เสวยสุขเวทนาอันประณีต
ค. พ้นจากรูปนามขันธ์ 5
ง. เป็นที่อยู่ของพระอรหันต์

3 ข้อใดแสดงจำานวนวิภังค์เท่ากับ
5. หมวดธรรม
ก. ขันธ์
ข. อายตนะ
ค. ธาตุ

ข. สกวาที
ค. ปรวาที
ง. วิภัชชวาที

32
. การแยกส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต
สอดคล้องกับข้อใด
ก. วิจารณ์
ข. วิพากษ์
ค. วิภังค์
ง. วิบาก

33
. คัมภีร์วิภังค์มีจุดเน้นสอดคล้องกับข้อใดมาก
ที่สด
ุ
ก. ความไม่เที่ยงของสังขาร
ข. ความเป็นทุกข์ของสังขาร
ค. ความไม่มีตัวตนของสังขาร
ง. ความไม่สวยงามของสังขาร

34
. ข้อใดมิใช่ธรรมที่แสดงในคัมภีร์วิภังค์
ก. อินทรีย์
ข. อิทธิบาท
ค. อัปปมัญญา
ง. อัปปมาทะ

40
. การจำาแนกธรรมโดยอนุโลมตามอัธยาศัย
ปรากฏนัยใดในคัมภีร์วิภังค์
ก. อภิธัมมภาชนียนัย
ข. สุตตันตภาชนียนัย
ง. สัจจะ
3 วิภังค์หมวดใดที่ไม่มีการแสดง
6. ในปัญหา
ปุจฉกนัย
ก. ปฏิจจสมุปปาทวิภังค์
ข. สติปัฏฐานวิภังค์
ค. สิกขาปทวิภังค์
ง. ปฏิสัมภิทาวิภังค์
3 การนำามาติกามาตั้งเป็นคำาถาม 7. คำาตอบ
จัดเป็นนัยในข้อใด
ก. ปัญหาวินยนัย
ข. ปัญหาอภิธัมมนัย
ค. ปัญหาสุตตนัย
ง. ปัญหาปุจฉกนัย
3 ข้อใดเป็นการจำาแนกธรรมตาม
8. สุตตันตภาชนียนัย
ก. นำามาติกามาถาม - ตอบ
ข. อนุโลมตามอัธยาศัย
ค. มุ่งแสดงองค์ธรรม
ง. เน้นรักษากฎระเบียบ
3 การแสดงธรรมตามสถานการณ์
9. เฉพาะที่
ทำาให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็น
วิภังค์ตาม
นัยใด
ก. ปัญหาปุจฉกนัย
ข. อภิธัมมภาชนียนัย
ค. สุตตันตภาชนียนัย
ง. วินยภาชนียนัย

ค. วินัยภาชนียนัย
ง. วิตถารภาชนียนัย

41
. การจำาแนกธรรมที่มุ่งแสดงองค์ธรรมให้
สมบูรณ์คือนัยในข้อใด
ก. สุตตันตภาชนียนัย
ข. อภิธัมมภาชนียนัย
ค. วินยภาชนียนัย
ง. ปัญหาปุจฉกนัย

42
. ข้อใดจัดว่าเป็นรูปที่ละเอียด
ก. อัชฌัตตรูป
ข. พหิทธรูป
ค. โอฬาริกรูป
ง. สุขุมรูป
43
. รูปที่เป็นอัชฌัตติกะคู่กับข้อใด
ก. รูปที่เป็นพหิทธะ
ข. รูปที่เป็นโอฬาริกะ
ค. รูปที่เป็นพาหิระ
ง. รูปที่เป็นสันติกะ
44
. ข้อใดมิใช่รูปขันธ์ในหมวด 1
ก. อัพยากฤต
ข. อนารัมมณะ
ค. อินทริยะ
ง. อเหตุกะ
4 ข้อใดเป็นการจำาแนกรูปขันธ์
50
5. ตามสุตตันต. กายายตนะ คู่กับอายตนะอะไร
ภาชนียนัย
ก. รูปายตนะ
ก. รูปอดีต รูปอนาคต รูป
ปัจจุบัน
ข. ผัสสายตนะ
ข. ทิฏฐรูป สุตรูป มุตรูป
ค. โผฏฐัพพายตนะ
ค. อัชฌัตติกรูป พาหิรรูป อุ
ปาทายรูป
ง. มนายตนะ
ง. รูปาวจรรูป อรูปาวรรูป กา 51
มาวจรรูป
. ทุกขสัจจะปรากฏในญาณใด
4 พระพุทธองค์ตรัสถึงการหลุดพ้น
6. หมายถึง
ก. สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ
ข้อใด
ข. สัจจญาณ กิจจญาณ ภยญาณ
ก. ผัสสอุทเทส
ค. สัจจญาณ กิจจญาณ นิพพิทาญาณ
ข. เวทนาอุทเทส
ง. สัจจญาณ กิจจญาณ วิราคญาณ
52
ค. จิตตอุทเทส
. องค์ประกอบของการได้ยินคือข้อใด
ง. อธิโมกอุทเทส
ก. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีแสงสว่าง
4 การแบ่งภาคในธาตุกถาได้แก่
7. ข้อใด
มีมนสิการ
ก. ภาคอุทเทส ภาคนิทเทส
ข. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีช่องว่าง
ข. ภาคปฏินิทเทส ภาคปฏินุท
เทส
มีมนสิการ
ค. ภาคสารนิทเทส ภาคสา
รนุทเทส
ค. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีไมโครโฟ
ง. ภาคธรรมนิทเทส ภาคธรรม
มุทเทส
มีมนสิการ
4
8. สภาวะที่ทรงไว้ หมายถึงข้อใด
ง. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีลำาโพง
ก. ธาตุกถา
มีมนสิการ
53
ข. ธาตุนิทเทส
. สมุทัยสัจจะคืออะไร
ค. ธาตุววัฏฐาน
ก. ธรรมที่ควรรู้
ง. ธาตุวิภังค์
ข. ธรรมที่ควรละ
4 อายตนะคู่ใดมีความสัมพันธ์ถูก
9. ต้องที่สุด
ค. ธรรมที่ควรทำาให้แจ้ง
ก. จักขายตนะ
ข. จักขายตนะ
ตนะ
ค. จักขายตนะ
ตนะ
ง. จักขายตนะ
ตนะ

คู่กับรูปายตนะ
คู่กับชิวหาย

ง. ธรรมที่ควรเจริญ

คู่กับฆานาย
คู่กับธัมมาย

5 องค์ประกอบของการมองเห็นรูป 58
4. คือข้อใด
. รูปารมณ์สงเคราะห์เข้ากับปรมัตถธรรม
ก. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี
แสงสว่าง
ข้อใด
มีมนสิการ
ก. สงเคราะห์ด้วยจิตมนสิการ
ข. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี
ช่องว่าง
ข. สงเคราะห์ด้วยรูปมนสิการ
มีมนสิการ
ค. สงเคราะห์ด้วยเจตสิกมนสิการ
ค. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี
การดูรูป
ง. สงเคราะห์ด้วยนิพพาน
59
มีมนสิการ
. ฆานธาตุในส่วนที่เป็นจมูกของคนและสัตว์
ง. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี
หลอด
สงเคราะห์เป็นอะไรไม่ได้
ไฟฟ้า มีมนสิการ
ก. จิต
5 ธาตุใดเป็นเหตุให้เกิดเป็นมนุษย์
5. และสัตว์
ข. เจตสิก
ก. จักขุธาตุ
ค. รูป
ข. รูปธาตุ
ง. นิพพาน
60
ค. มโนวิญญาณธาตุ
. สัททารมณ์ที่เป็นกุศลและเป็นอกุศลเกิดใน
ง. สัททธาตุ
จิตของบุคคลทั่วไปสงเคราะห์เป็นอะไรใน
5
6. รูปลักษณะมีภาวะอย่างไร
ปรมัตถธรรม
ก. มีการแตกสลายเป็นลักษณะ
ข. เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดำาเนินไป
ค. เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แปรไป
ง. อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
5 วิญญาณธาตุ 6 สงเคราะห์กับ
7. ธาตุอะไร
ไม่ได้
ก. โอฬาริกธาตุ 10
ข. จักขุวิญญาณธาตุ 1
ค. มโนวิญญาณธาตุ
ง. วิญญาณธาตุ

ก.
ข.
ค.
ง.

จิต
เจตสิก
รูป
นิพพาน

61
. บัญญัติในข้อใดว่าด้วยเรื่องพฤติกรรมของ
ก. ขันธบัญญัติ
ข. อายตนบัญญัติ
ค. สัจจบัญญัติ
ง. ปุคคลบัญญัติ
62
. ปุคคลบัญญัติจัดอยู่ในธรรมประเภทใด
ก. สมมุติธรรม
ข. ปรมัตถธรรม
ค. ภาเวตัพพธรรม
ง. สัจฉิกาตัพพธรรม

6 ในคัมภีร์ปัญจปกรณ์ให้ความ
68
3. หมายของ
. "กเถตุกัมยตาปุจฉา" เป็นการถามเพื่ออะไ
คำาว่า "ปญฺญตฺติ" ไว้ตรงกับข้อ
ใด
ก. เพื่ออวดความรู้
ก. การชี้แจง
ข. เพื่อทดลองผูอื่น
้
ข. การกำาหนด
ค. เพื่อที่จะตอบเอง
ค. การบัญญัติ
ง. เพื่อให้ผู้อื่นตอบ
69
ง. การอธิบาย
. ปุคคลบัญญัติเป็นคัมภีร์ที่เท่าไรในพระอภิธ
6 คำาว่า "ปญฺญตฺติ" มีความ
4. สอดคล้องกับ
ก. คัมภีร์ที่ 3
ข้อใด
ข. คัมภีร์ที่ 4
ก. ปญฺญาปนา ทสฺสนา และ
ปกาสนา
ค. คัมภีร์ที่ 5
ข. ปญฺญาปนา นิกฺขิปนา และ
ฐปนา
ง. คัมภีร์ที่ 6
ค. ปกาสนา ฐปนา และนิกฺขิ
ปนา
ง. ปญฺญาปนา นิกฺขิปนา และ
ทสฺสนา
6 "นวกปุคคลอุทเทส" หมายถึง
5. การแสดง
หมวดที่ว่าด้วยบุคคลกี่จำาพวก
ก. 7 จำาพวก
ข. 8 จำาพวก
ค. 9 จำาพวก
ง. 10 จำาพวก
6 จำานวนบุคคล 128 บุคคลมี
6. ความเกี่ยวข้อง
กับข้อใด
ก. จตุกกปุคคละ
ข. ปัญจกปุคคละ
ค. ฉักกปุคคละ
ง. สัตตกปุคคละ
6 ข้อใดมีความสอดคล้องกับคำาว่า
7. "สัตตกปุคคละ"
ก. ว่าด้วยบุคคล 1 จำาพวก
ข. ว่าด้วยบุคคล 3 จำาพวก
ค. ว่าด้วยบุคคล 5 จำาพวก
ง. ว่าด้วยบุคคล 7 จำาพวก

7 บุคคลในข้อใดที่ละสัญโญชน์
3. 5 ได้
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์

70
. บุคคลผู้ทำาอนันตริยกรรม 5 จำาพวก ผู้เป็น
นิยตมิจฉาทิฏฐิและพระอริยบุคคล 8
จำาพวก ชื่อว่าบุคคลเช่นไร
ก. ภัพพาคมนะ
ข. อภัพพาคมนะ
ค. นิยตะ
ง. อนิยตะ

71
. บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค 4 จำาพวก
จัดเป็นบุคคลประเภทใด
ก. นิยตะ
ข. อนิยตะ
ค. ปฏิปันนกะ
ง. ผเลฏฐิตะ

72
. ศาสดาที่บัญญัติการละกามและบัญญัติการ
ละรูป แต่ไม่บัญญัติการละเวทนาได้แก่
ศาสดาประเภทใด
ก. ศาสดาผู้ได้รูปาวจรสมาบัติ
ข. ศาสดาผู้ได้อรูปสมาบัติ
ค. ศาสดาผู้รู้เองโดยชอบ
ง. ศาสดาผู้มีวาทะว่าเที่ยง

78
. ข้อใดเป็นวิธีการถามที่แสดงในคัมภีร์
กถาวัตถุ
ก. ต้องถามให้ความเชื่อกับความจริง
ขัดแย้งกัน
ข. ต้องถามยำ้าซำ้าในเรื่องที่เห็นผิด
7 บุคคลผู้ประกอบด้วยสภาวธรรม
4. ที่เป็น
อกุศลฝ่ายดำาโดยส่วนเดียวชื่อ
ว่าบุคคล
ประเภทใด
ก. ผู้โผล่ขึ้นแล้วได้ที่พึ่ง
ข. ผู้โผล่ขึ้นแล้วข้ามไป
ค. ผู้โผล่ขึ้นแล้วจมลงอีก
ง. ผู้จมลงแล้วครั้งเดียวก็ยังจม
อยู่นั่นเอง
7 การบัญญัติลักษณะคนดี มีคุณ
5. ประโยชน์
อย่างไร
ก.
ข.
ค.
ง.

ภูมิใจในความดีของตน
พัฒนาตนให้ดียิ่งขึ้น
ชักชวนคนอื่นให้ทำาดี
สร้างสังคมคนดีให้มากขึ้น

7
6. ข้อใดไม่มีชื่ออยู่ใน 18 นิกาย
ก. นิกายเทวมิกะ - ราชคิริกะ
ข. นิกายราชคิริกะ - สิทธัตถะ
ค. นิกายสิทธัตถะ - ปุพพเสลิ
ยะ
ง. นิกายปุพพเสลิยะ - สังกันติ
กะ
7 นิกายมหายาน เดิมเมื่อก่อตั้ง
7. มีชื่อว่าอะไร
ก. เถรวาท
ข. มหาสังฆิกะ
ค. ทักษิณนิกาย
ง. หีนยาน

ค. ต้องถามให้ฝ่ายถูกถามรับรอง

ความเห็นของตน
ง. ต้องถามเพื่อให้ผู้ถูกถามเห็นว่าตนเห็นผ

79
. การที่ฝ่ายปรวาทีถือว่ามี "บุคคล" เพราะ
เหตุใด
ก. ยึดมั่นในความมีความเป็นตัวตน
ข. ไม่มีความคิดลึกซึ้ง
ค. เพราะยึดมั่นตามประจักษ์นิยม
ง. เชื่อตามลัทธิของตน

80
. สาระสำาคัญของกถาวัตถุคืออะไร
ก. การกล่าวขัดแย้งกัน
ข. การกล่าวข่ม
ค. เพื่อให้เกิดความเห็นถูก
ง. เพื่อให้ฝ่ายถูกถามเก้อเขิน

81
. เมื่อมีผู้ตั้งคำาถามว่า "คนตายแล้วไปไหน"
แสดงให้เห็นว่าบุคคลผู้ถามนั้น ถามเพราะ
เหตุอะไร
ก. ไม่เข้าใจในสภาวธรรม
ข. ไม่เข้าใจในการสืบต่อของจิต
ค. ไม่เข้าใจในธรรมชาติของการสืบต่อ
ของรูป
ง. ไม่เข้าใจในปรมัตถ์ - สมมุติ
8 หลังจากศึกษาคัมภีร์กถาวัตถุ
2. แล้ว นิสิต
เห็นว่านิพพานคืออะไร
ก. ภูมิที่เกิดของพระอรหันต์
ข. สถานที่หนึ่งซึ่งสูงกว่าอรุป
พรหม
ทั้งหลาย
ค. จิตที่ไม่ทุกข์
8
3.

8
4.

ง. สภาวธรรม
ก่อนที่สกวาทีจะถามปรวาที จะ
ต้องรู้อะไร
ก่อน
ก. รู้ถึงเหตุของความเชื่อของ
ฝ่ายปรวาที
ข. รู้ถึงความเชื่อของลัทธิฝ่าย
ปรวาที
ค. รู้ถึงสภาวธรรมตามจริง
ง. รู้หลักการถาม
ผู้ที่เห็นว่าจิตว่างเป็นนิพพาน
เพราะอะไร

ก. ไม่เข้าใจเรื่องจิต
ข. ไม่ทุกข์ ไม่สุข
ค. ตีความหมายของนิพพาน
เข้าข้าง
ทิฏฐิตน
ง. ไม่ประจักษ์นิพพาน
8 ในนิคคหะที่ 2 การที่นิกายฝ่าย
5. ปรวาที
ถามกลับด้วยคำาว่า "ท่านไม่
หยั่งเห็น
บุคคลมีอยู่โดยจริงแท้หรือ"
เหตุที่ปรวาที

86
. ในนิคคหะที่ 5 คำาว่า "บุคคลมีอยู่ใน
สภาวธรรมทั้งปวง" หมายถึงอะไร
ก. ไม่ใช่ขันธ์ 5 แต่ก็ไม่ได้แยกจากขันธ
ข. ไม่ใช่ขันธ์ 5 แต่แทรกอยู่ในขันธ์ 5
ค. จะว่าบุคคลเป็นขันธ์ 5 ก็ใช่
ง. จะว่าบุคคลไม่เป็นขันธ์ 5 ก็ใช่

87
. การเชื่อว่า "นิพพาน" เป็นภูมิอันเป็นที่เกิด

ของพระอรหันต์เพราะอะไร
ก. เห็นว่าปุถุชน ถึงอรหันต์ เมื่อตายแล้ว
ต้องเกิด

ข. เห็นว่าพระอรหันต์ เมื่อไปเกิดที่นิพพา
แล้ว จะไม่ต้องเกิดไม่ต้องตายอีก
ค. ไม่เข้าใจสภาวธรรม
ง. ตรึกตามอาการ

88
. ผู้ที่เห็นว่า จิตว่าง (อัญญานุเบกขา) เป็น
เพราะว่างจากสิ่งใด
ก. อารมณ์
ข. ความทุกข์
ค. ความคิด
ง. ภารกิจ

89
. หลักการและวิธีการใดที่นิสิตจะต้องรู้ก่อน
ถามผู้อื่น
ถามเช่นนั้นเพราะอะไร
ก. ยึดมั่นในความเห็นของตน
ข. เดาเอาเอง
ค. เชื่ออาจารย์ตน
ง. เห็นผิด

ก.
ข.
ค.
ง.

อนุโลมแห่งปัญจกะ
รู้จริงในเรื่องที่ถาม
ต้องถามปัญหาแรกก่อน
ต้องถามให้ฝ่ายถูกถามเสียขวัญก่อน

9 สมมติว่ามีผู้เชื่อว่าตายแล้วไม่
95
0. เกิด ท่าน
. วาระที่ว่าด้วยนามบัญญัติ หมายถึงข้อใด
ควรถามคำาถามแรกว่าอะไร
ก. ปัณณัตติวาร
ก. บิดามารดาของท่านตาย
แล้วไม่เกิดหรือ
ข. ปวัตติวาร
ข. ปุถุชนตายแล้วไม่เกิดหรือ
ค. ปริญญาวาร
ค. ทุกคนตายแล้วไม่เกิดหรือ
ง. ปุจฉาวาร
ง. พระอรหันต์ตายแล้วไม่เกิด
96
หรือ
. ประโยคคำาถามที่มีองค์ธรรมบทหลัง
9 คัมภีร์ใดที่แสดงอนุโลมนัย คู่
1. กับ
มากกว่าองค์ธรรมบทหน้าตรงกับลักษณะ
ปัจจนีกนัย
ปัญหาประเภทใด
ก. สังคณี
ก. ปัจฉาปัญหา
ข. วิภังค์
ข. ปุเรปัญหา
ค. ธาตุกถา
ค. โมฆปัญหา
ง. ยมก
ง. มัชฌิมปัญหา
9 ยมก แบ่งเป็น 2 ภาค ตรงกับ 97
2. ข้อใด
. การวิสัชชนาที่กล่าวคำาตอบตรงกันข้ามกับ
ก. ภาคอนุโลม กับภาคปัจจนี
กะ
คำาถามคำาว่าวิสัชชนาว่า "กำาลังเกิด" ภาษ
ข. ภาคปุจฉา กับภาควิสัช
ชนา
บาลีว่าอย่างไร
ค. ภาคสันนิฏฐาน กับภาค
สังสย
ก. อามนฺตา
ง. ภาคอุทเทส กับภาคนิทเทส
ข. นตฺถิ
9 ปุจฉาในคัมภีร์ยมก มี 2 ฝ่าย
3. คือข้อใด
ก. อนุโลมปุจฉา กับปัจจนีก
ปุจฉา
ข. อนุโลมปุจฉา กับปฏิโลม
ปุจฉา
ค. อุทเทสปุจฉา กับนิทเทส
ปุจฉา
ง. อุทเทสปุจฉา กับปัจจนีก
ปุจฉา
9 วาระที่ว่าด้วยความเป็นไปคือ
4. การเกิดการ
ดับหมายถึงข้อใด
ก. วิสัชชนาวาร
ข. ปริญญาวาร
ค. ปวัตติวาร
ง. ปัณณัตติวาร

9 คำาถามที่ถามถึงองค์ธรรมของ
9. สันนิฏฐานบท
ซึ่งไม่มีองค์ธรรม คำาถาม
ประเภทนี้เป็น
ลักษณะปัญหาใด
ก. โมฆะปัญหา
ข. สังสยบท
ค. ปริปุณณปัญหา
ง. ปุเรปัญหา

1
0 นัยที่มีการปฏิเสธด้วย น นิบาต
0. ตรงกับ
ความหมายใด
ก. อนุโลมนัย

ค. อุปฺปชฺชติ
ง. โน

98
. การวิสัชชนากล่าวรับรององค์ธรรมของ

สันนิฏฐานบท คำาวิสัชชนาว่า "ใช่" ภาษ
บาลีว่าอย่างไร
ก.
ข.
ค.
ง.

โน
ภนฺเต
อามนฺตา
นตฺถิ

10
4. ข้อใดจัดเป็นอเหตุกอกุศล
ก.
ข.
ค.
ง.

อกุศลจิต 12
อกุศลเจตสิก 14
เจตสิก 27 ในอกุศลจิต 12
โมหเจตสิกในโมหมูลจิต 2

10
5. ข้อใดมิใช่หมวดธรรมในคัมภีร์ยมก
ก. อายตนะ
ข. อัปปมัญญา
ค. อนุสัย
ง. อินทริยะ
ข. ปฏิโลมนัย
ค. ปัจจนีกนัย
ง. ปุจฉานัย

1
0 "ธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็น
1. กุศลมีอยู่"
เป็นคำากล่าวที่อยู่ในส่วนใด
ก. สังสยบท
ข. สันนิฏฐานบท
ค. อนุโลมบท
ง. ปฏิโลมบท

1
0 ในมูลนัยแบ่งเป็น 3 ยมกะ
2. ยกเว้นข้อใด
ก. มูลยมกะ
ข. มูลมูลยมกะ
ค. เอกมูลยมกะ
ง. อัญญมัญญมูลยมกะ

1
0 องค์ธรรมที่เป็นเนื้อหาของมูล
3. ยมก
แบ่งเป็นกี่หมวด
ก. 1 หมวด
ข. 2 หมวด
ค. 3 หมวด
ง. 4 หมวด

1
0 ข้อใดกล่าวถึงองค์ประกอบของ
9. ปัฏฐานได้
ถูกต้อง

10
6. พระฉัพพรรณรังสีแผ่ประกายออกมา
เป็นผลมาจากอะไร
ก. อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์

ข. พระพุทธบารมีโปรดเวไนยสัตว์
ค. การแผ่ข่ายพระญาณสำารวจสัตว์
ง. การสำาแดงพลังของพระสัพพัญญุตญาณ

10
7. ข้อใดเป็นความหมายของคัมภีร์ปัฏฐาน
ก. ประมวลหมวดหมู่ปรมัตถธรรม
ข. จำาแนกกลุ่มปรมัตถธรรม
ค. ปัจจัยของปรมัตถธรรม
ง. เปรียบเทียบปรมัตถธรรม

10
8. มหาปัฏฐานปกรณ์มีความวิจิตรพิสดาร
เพราะเกี่ยวกับธรรมหลายหมวด ยกเว้น
ข้อใด
ก.
ข.
ค.
ง.

มาติกา 6 หมวด
ธัมมนยะ 4 นัย
สังขยาวาระ 4 นัย
ปัจจยนยะ 4 นัย

11
3. เหตุปัจจัย จัดอยู่ในประเภทใด
ก. นามธรรม อุปการะแก่ นามธรรม
ก. จิตเป็นปัจจัยได้ แต่เป็น
ปัจจยุปบัน
ไม่ได้
ข. เจตสิกเป็นปัจจยุปบันได้
แต่เป็น
ปัจจัยไม่ได้
ค. รูปเป็นปัจจัยไม่ได้ แต่เป็น
ปัจจยุปบันได้
ง. นิพพานเป็นปัจจยุปบันไม่ได้
แต่เป็น
ปัจจัยได้

1
1 สภาวธรรมใดที่เป็นปัจจัยได้แต่
0. เป็น
ปัจจยุปบันไม่ได้
ก.
จิต
ข. เจตสิก
ค.
รูป
ง. นิพพาน
1
1 ข้อใดเป็นปัจจัยที่เป็นเจตสิก
1. อย่างเดียว
ก. เหตุปัจจัย
ข. อนันตรปัจจัย
ค. ปัจฉาชาตปัจจัย
ง. อวิคตปัจจัย

1
1
2. ข้อใดจัดอยู่ในกลุ่มอนันตรชาติ
ก. อธิปติปัจจัย
ข. อัญญมัญญปัจจัย
ค. อินทริยปัจจัย

ข. นามธรรม อุปการะแก่ รูปธรรม
ค. นามธรรม อุปการะแก่ นามธรรมและ
รูปธรรม
ง. นามธรรม - รูปธรรม อุปการะแก่
นามธรรม - รูปธรรม

11
4. ข้อใดเป็นปัจจัยประเภทนามธรรม
อุปการะแก่รูปธรรม
ก. สหชาตปัจจัย
ข. ปุเรชาตปัจจัย
ค. ปัจฉาชาตปัจจัย
ง. กัมมปัจจัย

11
5. อารัมมณปัจจัย เกิดไม่ได้ในภูมิใด
ก. เอกโวการภูมิ
ข. จตุโวการภูมิ
ค. ปัญจโวการภูมิ
ง. โลกียภูมิ

11
6. ข้อใดเป็นปัจจัยที่เกิดไม่ได้ในอรูปภูมิ
ก. อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย
ข. ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
ค. อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย
ง. นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย

11
7. ปุเรชาตปัจจัย เกิดอยู่ในกาลใด
ง. อาเสวนปัจจัย

ก.
ข.
ค.
ง.

1
1 ข้อใดมิใช่กลุ่มปัจจัยที่ทำาหน้าที่
8. ชนกสัตติ
และอุปถัมภกสัตติ
ก. อารัมมณชาติ
ข. อนันตรชาติ
ค. วัตถุปุเรชาตชาติ
ง. รูปอาหารชาติ
1
1 ข้อใดมิใช่เป็นปัจจัยที่เป็นรูป
9. ธรรม
ก. อารัมมณปัจจัย
ข. อธิปติปัจจัย
ค. อุปนิสสยปัจจัย
ง. อาเสวนปัจจัย

อดีตกาล
ปัจจุบันกาล
อนาคตกาล
ไม่จำากัดกาล

12
0. ข้อใดเป็นหน้าที่ของปุเรชาตปัจจัย
ก. ชนกสัตติอย่างเดียว
ข. อุปถัมภกสัตติอย่างเดียว
ค. ชนกสัตติและอุปถัมภกสัตติ
ง. ชนกสัตติและอนุปาลกสัตติ

*****************************
เฉลย แนวข้อ สอบรายวิช า 000250 พระ
อภิธ รรมปิฎ ก ชุด ที่ 2
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21

ง
ค
ง
ง
ข
ง
ก
ข
ง
ข
ง
ก
ง
ก
ข
ค
ง
ง
ง
ค
ค

29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49

ค
ค
ง
ค
ค
ง
ค
ก
ง
ข
ค
ข
ข
ง
ค
ค
ก
ง
ก
ก
ก

57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77

ก
ข
ค
ค
ง
ก
ก
ก
ค
ก
ง
ค
ข
ค
ค
ข
ค
ง
ข
ง
ข

85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105

ง
ก
ก
ค
ข
ค
ง
ง
ข
ค
ก
ก
ค
ค
ก
ค
ข
ข
ง
ง
ข

113
114
115
116
117
118
119
120

ข
ค
ก
ข
ข
ข
ง
ค
22
23
24
25
26
27
28

ค
ค
ข
ง
ข
ค
ง

50
51
52
53
54
55
56

ค
ก
ข
ข
ก
ค
ก

78
79
80
81
82
83
84

ค
ก
ค
ง
ง
ค
ก

106
107
108
109
110
111
112

ง
ค
ค
ง
ง
ก
ง

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 

Tendances (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 

Similaire à รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)

ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมPrachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายแบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายWichai Likitponrak
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษาChalinee Tonsing
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 

Similaire à รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ) (20)

ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
Buddhm202
Buddhm202Buddhm202
Buddhm202
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
1176
11761176
1176
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอสำเร็จ
งานนำเสนอสำเร็จงานนำเสนอสำเร็จ
งานนำเสนอสำเร็จ
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวมวิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
วิทยาศาสตร์ศึกษาแบบองค์รวม
 
แบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลายแบบทดสอบความหลากหลาย
แบบทดสอบความหลากหลาย
 
Brands gat
Brands gatBrands gat
Brands gat
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษา
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)

  • 1. รายวิช า 000250 พระอภิธ รรมปิฎ ก ชุด ที่ 2 คำา ชี้แ จง คำา สั่ง 1. 2. 3. 4. แบบทดสอบฉบับนี้มี 120 ข้อ จำานวน 14 หน้า จงอ่านคำาถามข้างล่างนี้ และเลือ กคำา ตอบที่ถ ูก ที่ส ุด เพีย งคำา ตอบเดีย ว ในกระดาษคำาตอบ โดยการใช้ ดิน สอดำา 2B, BB, ปากกาลูก ลื่น หรือ ซึม ระบาย ในวงกลมของตัวเลือกที่ท่านเลือก ให้ด ำา เข็ม เต็ม วง ดังตัวอย่างที่ปรากฎ ตอบ คัมภีร์ใดว่าด้วยการแสดงปรมั ตถธรรม เป็นคู่ ๆ ก. คัมภีร์ธาตุกถา ข. คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ค. คัมภีร์กถาวัตถุ ง. คัมภีร์ยมก คัมภีร์ธัมมสังคณีว่าด้วยหมวด แห่งปรมัตถธรรม ทรงแสดงอยู่ 12 วัน มี เทวดาบรรลุ ธรรม จำานวนเท่าใด ก. 5 โกฏิ ข. 6 โกฏิ ค. 7 โกฏิ ง. 8 โกฏิ พระเถระหัวหน้าสายพระ อภิธรรมที่ระบุชื่อ ในอรรถกถาอัฏฐสาลินีคือท่าน ใด ก. พระภัททชิเถระ ข. พระติสสทัตตเถระ ค. พระโสภิตเถระ ง. พระสารีบุตรเถระ ข้อใดมิใช่ผลสรุปจากการ สังคายนาครั้งที่ 1 5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอรรถกถาแล พระบาลี ก. อรรถกถาอธิบายพระบาลี ข. อรรถกถากับพระบาลีมีเนื้อหาขัดแย้งก ค. พระบาลีเป็นพุทธพจน์ อรรถกถาเป็น คำากล่าวของพุทธสาวก ง. เนื้อหาของอรรถกถาและพระบาลี ครอบคลุมพุทธวจนะทั้งหมด 6. พุทธพจน์ว่า "ภิกษุในธรรมวินัยนี้แสดง ธรรมตามที่ตนได้สดับมา...(แต่ตนเอง) ไม่ประกอบความสงบใจภายใน จึงไม่ชื่อว เป็นอยู่โดยธรรม" คำาที่ขีดเส้นใต้ตรงกับ ข้อใด ก. พระสูตร ข. พระอภิธรรมและพระวินัย ค. พระสูตรและพระอภิธรรม ง. พระสูตร พระอภิธรรมและพระวินัย 7. ภิกขุวิภังค์และภิกขุณีวิภังค์ อยู่ในส่วนใด ของพระไตรปิฎก ก. พระวินัยปิฎก
  • 2. 8. 9. 1 0. ก. ร้อยกรองพระธรรมวินัย ข. ปรับอาบัติพระอานนท์ให้ แสดงอาบัติ ค. วิธีลงพรหมทัณฑ์แก่พระฉัน นะ ง. จัดพุทธธรรมเป็นไตรปิฎก ข้อใดมิใช่ความหมายของพระ อภิธรรม ก. ธรรมที่เจริญ ข. ธรรมที่สามารถนึกคิดเองได้ ค. ธรรมที่ควรกำาหนด ง. ธรรมอันยิ่งและวิเศษ ที่ชื่อว่า พระอภิธรรม เพราะ เหตุผลข้อใด ก. มีเนื้อหามากที่สุดในบรรดา ปิฎกทั้ง 3 ข. มีเนื้อหาโยงใยตาม กระบวนการของ เหตุปัจจัย ค. มีเนื้อหาเป็นหลายนัย และ ซับซ้อน ง. มีเนื้อหาลึกซึ้งคัมภีรภาพ อย่างยิ่ง การแจกหรือกระจายปรมัตถ ธรรม เป็นส่วน ๆ อยู่ในคัมภีร์ใด ก. ธัมมสังคณี ข. วิภังค์ ค. ธาตุกถา ง. ยมก 1 1. พระอภิธรรมมีกี่คัมภีร์ ก. 4 คัมภีร์ ข. 5 คัมภีร์ ค. 6 คัมภีร์ ข. พระสุตตันตปิฎก ค. พระอภิธรรมปิฎก ง. ทั้ง 3 ปิฎก 12 . ประโยชน์ของการศึกษาพระอภิธรรม คือข้อใด ก. เข้าใจเรื่องของปรมัตถธรรม คือสภาว ของกาย จิต วิญญาณ ข. เกิดความเข้าใจว่ากาย จิต วิญญาณ ไม่มีจริง ค. เกิดความเข้าใจว่า กรรมและผลของ กรรมไม่มีจริง ง. เกิดความเข้าใจว่าการเกิด แก่ เจ็บ ต ไม่มีจริง 13 . การแสดงปัจจัยต่าง ๆ ของปรมัตถ์อยู่ใน คัมภีร์ใดของพระอภิธรรม ก. วิภังค์ ข. ธาตุกถา ค. ยมก ง. ปัฏฐาน 14 . ในพระอภิธรรม คัมภีร์ที่ 1 คือข้อใด ก. ข. ค. ง. ธัมมสังคณี วิภังค์ ธาตุกถา ปัฏฐาน
  • 3. ง. 7 คัมภีร์ 1 ข้อใดคือความหมายของคัมภีร์ 6. ธัมมสังคณี ก. การจำาแนกสภาวธรรมอย่าง ละเอียด ข. การสงเคราะห์ธาตุแห่ง สภาวธรรม ค. การจัดกลุ่มของสภาวธรรม ง. การตรวจสอบเกี่ยวกับสภาว ธรรม 1 ในคัมภีร์ธัมมสังคณีจะศึกษา 7. เกี่ยวกับ อภิธรรมและพระสูตรขนาด กลางพอควร ในกัณฑ์ใด ก. จิตตุปปาทกัณฑ์ ข. รูปกัณฑ์ ค. นิพพานกัณฑ์ ง. นิกเขปกัณฑ์ 1 ข้อใดเป็นมาติกาของคัมภีร์ธัมม 8. สังคณี ก. นยมุขติกมาติกา ข. วินยติกมาติกา ค. สุตตันตติกมาติกา 15 . โครงสร้างของคัมภีร์ธัมมสังคณีเกี่ยวข้องก เรื่องใด ก. สมมติธรรม ข. ปรมัตถธรรม ค. โลกิยธรรม ง. โลกุตตรธรรม 20 . เพราะเหตุใดในกุศลติกมาติกาจึงแสดงกุศล ธรรมเป็นลำาดับแรก ก. กุศลมีในใจของคนดีอยู่แล้ว ข. กุศลเกิดในสุคติภูมิอยู่แล้ว ค. กุศลน่ายินดี ส่งผลเป็นสุข ง. กุศลมีพยัญชนะ "ก" เป็นลำาดับแรก 21 . อัพยากตธรรมอธิบายในลำาดับสุดท้าย ภายหลังกุศลและอกุศลเพราะเหตุใด ก. ไม่มีความสำาคัญ ข. ไม่มีความทุกข์ยาก ค. ไม่มีการส่งผลวิบาก ง. ไม่มีความเป็นตัวตน 22 . การแบ่งจิตเป็นกุศล - อกุศล - วิบาก กิริยา อาศัยสิ่งใดเป็นเครื่องจำาแนก ก. สถานที่เกิด ข. สภาวธรรมที่เกิดร่วมกัน
  • 4. ง. อภิธัมมติกมาติกา 1 ข้อใดเป็นลำาดับการแสดงจิตใน 9. จิตตุปปาท กัณฑ์ ก. อกุศลจิต - กุศลจิต - อกุศล วิบากจิต กุศลวิบากจิต - กิริยาจิต ข. อกุศลจิต - อกุศลวิบาก กุศลจิต กุศลวิบากจิต - กิริยาจิต ค. กุศลจิต - กุศลวิบาก - กุศล จิต อกุศลวิบากจิต - กิริยาจิต ง. กุศลจิต - อกุศลจิต - กุศล วิบากจิต อกุศลวิบากจิต - กิริยาจิต ค. เหตุใกล้ให้เกิด ง. ลำาดับแห่งการเกิด 23 . ข้อใดคือเหตุใกล้ทำาให้เกิดวิบากอัพยากตจ ก. คบกับคนพาล ข. พรหมลิขิต ค. บุญ - บาป ง. สภาพแวดล้อม 24 . สภาวธรรมใดที่สามารถประกอบกันได้ ก. จิตเกิดพร้อมกันกับรูป ข. จิตดับพร้อมกันกับเจตสิก ค. รูปมีอารมณ์เดียวกับเจตสิก ง. รูปเกิดที่เดียวกับจิต 2 จิตกับเจตสิกในข้อใดที่สามารถ 30 5. เกิดร่วมกันได้ . ถ้าต้องการทราบคำาอธิบายสุตตันตทุก ก. มหากุศลจิตกับมานเจตสิก มาติกาจะศึกษาได้ในกัณฑ์ใด ข. โมหมูลจิตกับสัทธาเจตสิก ก. จิตตุปปาทกัณฑ์ ค. จักขุวิญญาณจิตกับปัญญา เจตสิก ข. รูปกัณฑ์ ง. รูปฌานจิตกับมุทิตาเจตสิก ค. นิกเขปกัณฑ์ 2 กิริยาจิตไม่เกิดร่วมกันกับเจตสิก 6. กลุ่มใด ง. อัฏฐกถากัณฑ์ 31 ก. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก . คำาว่า "ภควา" แสดงถึงลักษณะใดของ ข. สัพพากุสลสาธารณเจตสิก พระพุทธเจ้า ค. โสภณสาธารณเจตสิก ก. เอกังสวาที
  • 5. ง. ปัญญินทรีย์เจตสิก 2 อกุศลเจตสิกเกิดร่วมกับเจตสิก 7. กลุ่มใด ก. โสภณสาธารณเจตสิก ข. อัปปมัญญาเจตสิก ค. ปกิณณกเจตสิก ง. ปัญญินทรีย์เจตสิก 2 เจตสิกที่เกิดร่วมกับเจตสิกได้ 8. เรียกว่านัย อะไร ก. สังคหนัย ข. สัมปโยคนัย ค. ชาติเภทนัย ง. ตทุภยมิสสกนัย 2 ข้อใดกล่าวถึงพระนิพพานได้ถูก 9. ต้อง ก. เป็นเทวภูมิชั้นสูงที่สุด ข. เสวยสุขเวทนาอันประณีต ค. พ้นจากรูปนามขันธ์ 5 ง. เป็นที่อยู่ของพระอรหันต์ 3 ข้อใดแสดงจำานวนวิภังค์เท่ากับ 5. หมวดธรรม ก. ขันธ์ ข. อายตนะ ค. ธาตุ ข. สกวาที ค. ปรวาที ง. วิภัชชวาที 32 . การแยกส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต สอดคล้องกับข้อใด ก. วิจารณ์ ข. วิพากษ์ ค. วิภังค์ ง. วิบาก 33 . คัมภีร์วิภังค์มีจุดเน้นสอดคล้องกับข้อใดมาก ที่สด ุ ก. ความไม่เที่ยงของสังขาร ข. ความเป็นทุกข์ของสังขาร ค. ความไม่มีตัวตนของสังขาร ง. ความไม่สวยงามของสังขาร 34 . ข้อใดมิใช่ธรรมที่แสดงในคัมภีร์วิภังค์ ก. อินทรีย์ ข. อิทธิบาท ค. อัปปมัญญา ง. อัปปมาทะ 40 . การจำาแนกธรรมโดยอนุโลมตามอัธยาศัย ปรากฏนัยใดในคัมภีร์วิภังค์ ก. อภิธัมมภาชนียนัย ข. สุตตันตภาชนียนัย
  • 6. ง. สัจจะ 3 วิภังค์หมวดใดที่ไม่มีการแสดง 6. ในปัญหา ปุจฉกนัย ก. ปฏิจจสมุปปาทวิภังค์ ข. สติปัฏฐานวิภังค์ ค. สิกขาปทวิภังค์ ง. ปฏิสัมภิทาวิภังค์ 3 การนำามาติกามาตั้งเป็นคำาถาม 7. คำาตอบ จัดเป็นนัยในข้อใด ก. ปัญหาวินยนัย ข. ปัญหาอภิธัมมนัย ค. ปัญหาสุตตนัย ง. ปัญหาปุจฉกนัย 3 ข้อใดเป็นการจำาแนกธรรมตาม 8. สุตตันตภาชนียนัย ก. นำามาติกามาถาม - ตอบ ข. อนุโลมตามอัธยาศัย ค. มุ่งแสดงองค์ธรรม ง. เน้นรักษากฎระเบียบ 3 การแสดงธรรมตามสถานการณ์ 9. เฉพาะที่ ทำาให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็น วิภังค์ตาม นัยใด ก. ปัญหาปุจฉกนัย ข. อภิธัมมภาชนียนัย ค. สุตตันตภาชนียนัย ง. วินยภาชนียนัย ค. วินัยภาชนียนัย ง. วิตถารภาชนียนัย 41 . การจำาแนกธรรมที่มุ่งแสดงองค์ธรรมให้ สมบูรณ์คือนัยในข้อใด ก. สุตตันตภาชนียนัย ข. อภิธัมมภาชนียนัย ค. วินยภาชนียนัย ง. ปัญหาปุจฉกนัย 42 . ข้อใดจัดว่าเป็นรูปที่ละเอียด ก. อัชฌัตตรูป ข. พหิทธรูป ค. โอฬาริกรูป ง. สุขุมรูป 43 . รูปที่เป็นอัชฌัตติกะคู่กับข้อใด ก. รูปที่เป็นพหิทธะ ข. รูปที่เป็นโอฬาริกะ ค. รูปที่เป็นพาหิระ ง. รูปที่เป็นสันติกะ 44 . ข้อใดมิใช่รูปขันธ์ในหมวด 1 ก. อัพยากฤต ข. อนารัมมณะ ค. อินทริยะ ง. อเหตุกะ
  • 7. 4 ข้อใดเป็นการจำาแนกรูปขันธ์ 50 5. ตามสุตตันต. กายายตนะ คู่กับอายตนะอะไร ภาชนียนัย ก. รูปายตนะ ก. รูปอดีต รูปอนาคต รูป ปัจจุบัน ข. ผัสสายตนะ ข. ทิฏฐรูป สุตรูป มุตรูป ค. โผฏฐัพพายตนะ ค. อัชฌัตติกรูป พาหิรรูป อุ ปาทายรูป ง. มนายตนะ ง. รูปาวจรรูป อรูปาวรรูป กา 51 มาวจรรูป . ทุกขสัจจะปรากฏในญาณใด 4 พระพุทธองค์ตรัสถึงการหลุดพ้น 6. หมายถึง ก. สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ ข้อใด ข. สัจจญาณ กิจจญาณ ภยญาณ ก. ผัสสอุทเทส ค. สัจจญาณ กิจจญาณ นิพพิทาญาณ ข. เวทนาอุทเทส ง. สัจจญาณ กิจจญาณ วิราคญาณ 52 ค. จิตตอุทเทส . องค์ประกอบของการได้ยินคือข้อใด ง. อธิโมกอุทเทส ก. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีแสงสว่าง 4 การแบ่งภาคในธาตุกถาได้แก่ 7. ข้อใด มีมนสิการ ก. ภาคอุทเทส ภาคนิทเทส ข. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีช่องว่าง ข. ภาคปฏินิทเทส ภาคปฏินุท เทส มีมนสิการ ค. ภาคสารนิทเทส ภาคสา รนุทเทส ค. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีไมโครโฟ ง. ภาคธรรมนิทเทส ภาคธรรม มุทเทส มีมนสิการ 4 8. สภาวะที่ทรงไว้ หมายถึงข้อใด ง. มีโสตปสาท มีสัททารมณ์ มีลำาโพง ก. ธาตุกถา มีมนสิการ 53 ข. ธาตุนิทเทส . สมุทัยสัจจะคืออะไร ค. ธาตุววัฏฐาน ก. ธรรมที่ควรรู้ ง. ธาตุวิภังค์ ข. ธรรมที่ควรละ 4 อายตนะคู่ใดมีความสัมพันธ์ถูก 9. ต้องที่สุด ค. ธรรมที่ควรทำาให้แจ้ง
  • 8. ก. จักขายตนะ ข. จักขายตนะ ตนะ ค. จักขายตนะ ตนะ ง. จักขายตนะ ตนะ คู่กับรูปายตนะ คู่กับชิวหาย ง. ธรรมที่ควรเจริญ คู่กับฆานาย คู่กับธัมมาย 5 องค์ประกอบของการมองเห็นรูป 58 4. คือข้อใด . รูปารมณ์สงเคราะห์เข้ากับปรมัตถธรรม ก. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี แสงสว่าง ข้อใด มีมนสิการ ก. สงเคราะห์ด้วยจิตมนสิการ ข. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี ช่องว่าง ข. สงเคราะห์ด้วยรูปมนสิการ มีมนสิการ ค. สงเคราะห์ด้วยเจตสิกมนสิการ ค. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี การดูรูป ง. สงเคราะห์ด้วยนิพพาน 59 มีมนสิการ . ฆานธาตุในส่วนที่เป็นจมูกของคนและสัตว์ ง. มีจักษุปสาท มีรูปารมณ์ มี หลอด สงเคราะห์เป็นอะไรไม่ได้ ไฟฟ้า มีมนสิการ ก. จิต 5 ธาตุใดเป็นเหตุให้เกิดเป็นมนุษย์ 5. และสัตว์ ข. เจตสิก ก. จักขุธาตุ ค. รูป ข. รูปธาตุ ง. นิพพาน 60 ค. มโนวิญญาณธาตุ . สัททารมณ์ที่เป็นกุศลและเป็นอกุศลเกิดใน ง. สัททธาตุ จิตของบุคคลทั่วไปสงเคราะห์เป็นอะไรใน 5 6. รูปลักษณะมีภาวะอย่างไร ปรมัตถธรรม
  • 9. ก. มีการแตกสลายเป็นลักษณะ ข. เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดำาเนินไป ค. เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แปรไป ง. อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา 5 วิญญาณธาตุ 6 สงเคราะห์กับ 7. ธาตุอะไร ไม่ได้ ก. โอฬาริกธาตุ 10 ข. จักขุวิญญาณธาตุ 1 ค. มโนวิญญาณธาตุ ง. วิญญาณธาตุ ก. ข. ค. ง. จิต เจตสิก รูป นิพพาน 61 . บัญญัติในข้อใดว่าด้วยเรื่องพฤติกรรมของ ก. ขันธบัญญัติ ข. อายตนบัญญัติ ค. สัจจบัญญัติ ง. ปุคคลบัญญัติ 62 . ปุคคลบัญญัติจัดอยู่ในธรรมประเภทใด ก. สมมุติธรรม ข. ปรมัตถธรรม ค. ภาเวตัพพธรรม ง. สัจฉิกาตัพพธรรม 6 ในคัมภีร์ปัญจปกรณ์ให้ความ 68 3. หมายของ . "กเถตุกัมยตาปุจฉา" เป็นการถามเพื่ออะไ คำาว่า "ปญฺญตฺติ" ไว้ตรงกับข้อ ใด ก. เพื่ออวดความรู้ ก. การชี้แจง ข. เพื่อทดลองผูอื่น ้ ข. การกำาหนด ค. เพื่อที่จะตอบเอง ค. การบัญญัติ ง. เพื่อให้ผู้อื่นตอบ 69 ง. การอธิบาย . ปุคคลบัญญัติเป็นคัมภีร์ที่เท่าไรในพระอภิธ 6 คำาว่า "ปญฺญตฺติ" มีความ 4. สอดคล้องกับ ก. คัมภีร์ที่ 3 ข้อใด ข. คัมภีร์ที่ 4 ก. ปญฺญาปนา ทสฺสนา และ ปกาสนา ค. คัมภีร์ที่ 5 ข. ปญฺญาปนา นิกฺขิปนา และ ฐปนา ง. คัมภีร์ที่ 6
  • 10. ค. ปกาสนา ฐปนา และนิกฺขิ ปนา ง. ปญฺญาปนา นิกฺขิปนา และ ทสฺสนา 6 "นวกปุคคลอุทเทส" หมายถึง 5. การแสดง หมวดที่ว่าด้วยบุคคลกี่จำาพวก ก. 7 จำาพวก ข. 8 จำาพวก ค. 9 จำาพวก ง. 10 จำาพวก 6 จำานวนบุคคล 128 บุคคลมี 6. ความเกี่ยวข้อง กับข้อใด ก. จตุกกปุคคละ ข. ปัญจกปุคคละ ค. ฉักกปุคคละ ง. สัตตกปุคคละ 6 ข้อใดมีความสอดคล้องกับคำาว่า 7. "สัตตกปุคคละ" ก. ว่าด้วยบุคคล 1 จำาพวก ข. ว่าด้วยบุคคล 3 จำาพวก ค. ว่าด้วยบุคคล 5 จำาพวก ง. ว่าด้วยบุคคล 7 จำาพวก 7 บุคคลในข้อใดที่ละสัญโญชน์ 3. 5 ได้ ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์ 70 . บุคคลผู้ทำาอนันตริยกรรม 5 จำาพวก ผู้เป็น นิยตมิจฉาทิฏฐิและพระอริยบุคคล 8 จำาพวก ชื่อว่าบุคคลเช่นไร ก. ภัพพาคมนะ ข. อภัพพาคมนะ ค. นิยตะ ง. อนิยตะ 71 . บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค 4 จำาพวก จัดเป็นบุคคลประเภทใด ก. นิยตะ ข. อนิยตะ ค. ปฏิปันนกะ ง. ผเลฏฐิตะ 72 . ศาสดาที่บัญญัติการละกามและบัญญัติการ ละรูป แต่ไม่บัญญัติการละเวทนาได้แก่ ศาสดาประเภทใด ก. ศาสดาผู้ได้รูปาวจรสมาบัติ ข. ศาสดาผู้ได้อรูปสมาบัติ ค. ศาสดาผู้รู้เองโดยชอบ ง. ศาสดาผู้มีวาทะว่าเที่ยง 78 . ข้อใดเป็นวิธีการถามที่แสดงในคัมภีร์ กถาวัตถุ ก. ต้องถามให้ความเชื่อกับความจริง ขัดแย้งกัน ข. ต้องถามยำ้าซำ้าในเรื่องที่เห็นผิด
  • 11. 7 บุคคลผู้ประกอบด้วยสภาวธรรม 4. ที่เป็น อกุศลฝ่ายดำาโดยส่วนเดียวชื่อ ว่าบุคคล ประเภทใด ก. ผู้โผล่ขึ้นแล้วได้ที่พึ่ง ข. ผู้โผล่ขึ้นแล้วข้ามไป ค. ผู้โผล่ขึ้นแล้วจมลงอีก ง. ผู้จมลงแล้วครั้งเดียวก็ยังจม อยู่นั่นเอง 7 การบัญญัติลักษณะคนดี มีคุณ 5. ประโยชน์ อย่างไร ก. ข. ค. ง. ภูมิใจในความดีของตน พัฒนาตนให้ดียิ่งขึ้น ชักชวนคนอื่นให้ทำาดี สร้างสังคมคนดีให้มากขึ้น 7 6. ข้อใดไม่มีชื่ออยู่ใน 18 นิกาย ก. นิกายเทวมิกะ - ราชคิริกะ ข. นิกายราชคิริกะ - สิทธัตถะ ค. นิกายสิทธัตถะ - ปุพพเสลิ ยะ ง. นิกายปุพพเสลิยะ - สังกันติ กะ 7 นิกายมหายาน เดิมเมื่อก่อตั้ง 7. มีชื่อว่าอะไร ก. เถรวาท ข. มหาสังฆิกะ ค. ทักษิณนิกาย ง. หีนยาน ค. ต้องถามให้ฝ่ายถูกถามรับรอง ความเห็นของตน ง. ต้องถามเพื่อให้ผู้ถูกถามเห็นว่าตนเห็นผ 79 . การที่ฝ่ายปรวาทีถือว่ามี "บุคคล" เพราะ เหตุใด ก. ยึดมั่นในความมีความเป็นตัวตน ข. ไม่มีความคิดลึกซึ้ง ค. เพราะยึดมั่นตามประจักษ์นิยม ง. เชื่อตามลัทธิของตน 80 . สาระสำาคัญของกถาวัตถุคืออะไร ก. การกล่าวขัดแย้งกัน ข. การกล่าวข่ม ค. เพื่อให้เกิดความเห็นถูก ง. เพื่อให้ฝ่ายถูกถามเก้อเขิน 81 . เมื่อมีผู้ตั้งคำาถามว่า "คนตายแล้วไปไหน" แสดงให้เห็นว่าบุคคลผู้ถามนั้น ถามเพราะ เหตุอะไร ก. ไม่เข้าใจในสภาวธรรม ข. ไม่เข้าใจในการสืบต่อของจิต ค. ไม่เข้าใจในธรรมชาติของการสืบต่อ ของรูป ง. ไม่เข้าใจในปรมัตถ์ - สมมุติ
  • 12. 8 หลังจากศึกษาคัมภีร์กถาวัตถุ 2. แล้ว นิสิต เห็นว่านิพพานคืออะไร ก. ภูมิที่เกิดของพระอรหันต์ ข. สถานที่หนึ่งซึ่งสูงกว่าอรุป พรหม ทั้งหลาย ค. จิตที่ไม่ทุกข์ 8 3. 8 4. ง. สภาวธรรม ก่อนที่สกวาทีจะถามปรวาที จะ ต้องรู้อะไร ก่อน ก. รู้ถึงเหตุของความเชื่อของ ฝ่ายปรวาที ข. รู้ถึงความเชื่อของลัทธิฝ่าย ปรวาที ค. รู้ถึงสภาวธรรมตามจริง ง. รู้หลักการถาม ผู้ที่เห็นว่าจิตว่างเป็นนิพพาน เพราะอะไร ก. ไม่เข้าใจเรื่องจิต ข. ไม่ทุกข์ ไม่สุข ค. ตีความหมายของนิพพาน เข้าข้าง ทิฏฐิตน ง. ไม่ประจักษ์นิพพาน 8 ในนิคคหะที่ 2 การที่นิกายฝ่าย 5. ปรวาที ถามกลับด้วยคำาว่า "ท่านไม่ หยั่งเห็น บุคคลมีอยู่โดยจริงแท้หรือ" เหตุที่ปรวาที 86 . ในนิคคหะที่ 5 คำาว่า "บุคคลมีอยู่ใน สภาวธรรมทั้งปวง" หมายถึงอะไร ก. ไม่ใช่ขันธ์ 5 แต่ก็ไม่ได้แยกจากขันธ ข. ไม่ใช่ขันธ์ 5 แต่แทรกอยู่ในขันธ์ 5 ค. จะว่าบุคคลเป็นขันธ์ 5 ก็ใช่ ง. จะว่าบุคคลไม่เป็นขันธ์ 5 ก็ใช่ 87 . การเชื่อว่า "นิพพาน" เป็นภูมิอันเป็นที่เกิด ของพระอรหันต์เพราะอะไร ก. เห็นว่าปุถุชน ถึงอรหันต์ เมื่อตายแล้ว ต้องเกิด ข. เห็นว่าพระอรหันต์ เมื่อไปเกิดที่นิพพา แล้ว จะไม่ต้องเกิดไม่ต้องตายอีก ค. ไม่เข้าใจสภาวธรรม ง. ตรึกตามอาการ 88 . ผู้ที่เห็นว่า จิตว่าง (อัญญานุเบกขา) เป็น เพราะว่างจากสิ่งใด ก. อารมณ์ ข. ความทุกข์ ค. ความคิด ง. ภารกิจ 89 . หลักการและวิธีการใดที่นิสิตจะต้องรู้ก่อน ถามผู้อื่น
  • 13. ถามเช่นนั้นเพราะอะไร ก. ยึดมั่นในความเห็นของตน ข. เดาเอาเอง ค. เชื่ออาจารย์ตน ง. เห็นผิด ก. ข. ค. ง. อนุโลมแห่งปัญจกะ รู้จริงในเรื่องที่ถาม ต้องถามปัญหาแรกก่อน ต้องถามให้ฝ่ายถูกถามเสียขวัญก่อน 9 สมมติว่ามีผู้เชื่อว่าตายแล้วไม่ 95 0. เกิด ท่าน . วาระที่ว่าด้วยนามบัญญัติ หมายถึงข้อใด ควรถามคำาถามแรกว่าอะไร ก. ปัณณัตติวาร ก. บิดามารดาของท่านตาย แล้วไม่เกิดหรือ ข. ปวัตติวาร ข. ปุถุชนตายแล้วไม่เกิดหรือ ค. ปริญญาวาร ค. ทุกคนตายแล้วไม่เกิดหรือ ง. ปุจฉาวาร ง. พระอรหันต์ตายแล้วไม่เกิด 96 หรือ . ประโยคคำาถามที่มีองค์ธรรมบทหลัง 9 คัมภีร์ใดที่แสดงอนุโลมนัย คู่ 1. กับ มากกว่าองค์ธรรมบทหน้าตรงกับลักษณะ ปัจจนีกนัย ปัญหาประเภทใด ก. สังคณี ก. ปัจฉาปัญหา ข. วิภังค์ ข. ปุเรปัญหา ค. ธาตุกถา ค. โมฆปัญหา ง. ยมก ง. มัชฌิมปัญหา 9 ยมก แบ่งเป็น 2 ภาค ตรงกับ 97 2. ข้อใด . การวิสัชชนาที่กล่าวคำาตอบตรงกันข้ามกับ ก. ภาคอนุโลม กับภาคปัจจนี กะ คำาถามคำาว่าวิสัชชนาว่า "กำาลังเกิด" ภาษ ข. ภาคปุจฉา กับภาควิสัช ชนา บาลีว่าอย่างไร ค. ภาคสันนิฏฐาน กับภาค สังสย ก. อามนฺตา ง. ภาคอุทเทส กับภาคนิทเทส ข. นตฺถิ
  • 14. 9 ปุจฉาในคัมภีร์ยมก มี 2 ฝ่าย 3. คือข้อใด ก. อนุโลมปุจฉา กับปัจจนีก ปุจฉา ข. อนุโลมปุจฉา กับปฏิโลม ปุจฉา ค. อุทเทสปุจฉา กับนิทเทส ปุจฉา ง. อุทเทสปุจฉา กับปัจจนีก ปุจฉา 9 วาระที่ว่าด้วยความเป็นไปคือ 4. การเกิดการ ดับหมายถึงข้อใด ก. วิสัชชนาวาร ข. ปริญญาวาร ค. ปวัตติวาร ง. ปัณณัตติวาร 9 คำาถามที่ถามถึงองค์ธรรมของ 9. สันนิฏฐานบท ซึ่งไม่มีองค์ธรรม คำาถาม ประเภทนี้เป็น ลักษณะปัญหาใด ก. โมฆะปัญหา ข. สังสยบท ค. ปริปุณณปัญหา ง. ปุเรปัญหา 1 0 นัยที่มีการปฏิเสธด้วย น นิบาต 0. ตรงกับ ความหมายใด ก. อนุโลมนัย ค. อุปฺปชฺชติ ง. โน 98 . การวิสัชชนากล่าวรับรององค์ธรรมของ สันนิฏฐานบท คำาวิสัชชนาว่า "ใช่" ภาษ บาลีว่าอย่างไร ก. ข. ค. ง. โน ภนฺเต อามนฺตา นตฺถิ 10 4. ข้อใดจัดเป็นอเหตุกอกุศล ก. ข. ค. ง. อกุศลจิต 12 อกุศลเจตสิก 14 เจตสิก 27 ในอกุศลจิต 12 โมหเจตสิกในโมหมูลจิต 2 10 5. ข้อใดมิใช่หมวดธรรมในคัมภีร์ยมก ก. อายตนะ ข. อัปปมัญญา ค. อนุสัย ง. อินทริยะ
  • 15. ข. ปฏิโลมนัย ค. ปัจจนีกนัย ง. ปุจฉานัย 1 0 "ธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็น 1. กุศลมีอยู่" เป็นคำากล่าวที่อยู่ในส่วนใด ก. สังสยบท ข. สันนิฏฐานบท ค. อนุโลมบท ง. ปฏิโลมบท 1 0 ในมูลนัยแบ่งเป็น 3 ยมกะ 2. ยกเว้นข้อใด ก. มูลยมกะ ข. มูลมูลยมกะ ค. เอกมูลยมกะ ง. อัญญมัญญมูลยมกะ 1 0 องค์ธรรมที่เป็นเนื้อหาของมูล 3. ยมก แบ่งเป็นกี่หมวด ก. 1 หมวด ข. 2 หมวด ค. 3 หมวด ง. 4 หมวด 1 0 ข้อใดกล่าวถึงองค์ประกอบของ 9. ปัฏฐานได้ ถูกต้อง 10 6. พระฉัพพรรณรังสีแผ่ประกายออกมา เป็นผลมาจากอะไร ก. อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ ข. พระพุทธบารมีโปรดเวไนยสัตว์ ค. การแผ่ข่ายพระญาณสำารวจสัตว์ ง. การสำาแดงพลังของพระสัพพัญญุตญาณ 10 7. ข้อใดเป็นความหมายของคัมภีร์ปัฏฐาน ก. ประมวลหมวดหมู่ปรมัตถธรรม ข. จำาแนกกลุ่มปรมัตถธรรม ค. ปัจจัยของปรมัตถธรรม ง. เปรียบเทียบปรมัตถธรรม 10 8. มหาปัฏฐานปกรณ์มีความวิจิตรพิสดาร เพราะเกี่ยวกับธรรมหลายหมวด ยกเว้น ข้อใด ก. ข. ค. ง. มาติกา 6 หมวด ธัมมนยะ 4 นัย สังขยาวาระ 4 นัย ปัจจยนยะ 4 นัย 11 3. เหตุปัจจัย จัดอยู่ในประเภทใด ก. นามธรรม อุปการะแก่ นามธรรม
  • 16. ก. จิตเป็นปัจจัยได้ แต่เป็น ปัจจยุปบัน ไม่ได้ ข. เจตสิกเป็นปัจจยุปบันได้ แต่เป็น ปัจจัยไม่ได้ ค. รูปเป็นปัจจัยไม่ได้ แต่เป็น ปัจจยุปบันได้ ง. นิพพานเป็นปัจจยุปบันไม่ได้ แต่เป็น ปัจจัยได้ 1 1 สภาวธรรมใดที่เป็นปัจจัยได้แต่ 0. เป็น ปัจจยุปบันไม่ได้ ก. จิต ข. เจตสิก ค. รูป ง. นิพพาน 1 1 ข้อใดเป็นปัจจัยที่เป็นเจตสิก 1. อย่างเดียว ก. เหตุปัจจัย ข. อนันตรปัจจัย ค. ปัจฉาชาตปัจจัย ง. อวิคตปัจจัย 1 1 2. ข้อใดจัดอยู่ในกลุ่มอนันตรชาติ ก. อธิปติปัจจัย ข. อัญญมัญญปัจจัย ค. อินทริยปัจจัย ข. นามธรรม อุปการะแก่ รูปธรรม ค. นามธรรม อุปการะแก่ นามธรรมและ รูปธรรม ง. นามธรรม - รูปธรรม อุปการะแก่ นามธรรม - รูปธรรม 11 4. ข้อใดเป็นปัจจัยประเภทนามธรรม อุปการะแก่รูปธรรม ก. สหชาตปัจจัย ข. ปุเรชาตปัจจัย ค. ปัจฉาชาตปัจจัย ง. กัมมปัจจัย 11 5. อารัมมณปัจจัย เกิดไม่ได้ในภูมิใด ก. เอกโวการภูมิ ข. จตุโวการภูมิ ค. ปัญจโวการภูมิ ง. โลกียภูมิ 11 6. ข้อใดเป็นปัจจัยที่เกิดไม่ได้ในอรูปภูมิ ก. อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย ข. ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย ค. อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย ง. นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย 11 7. ปุเรชาตปัจจัย เกิดอยู่ในกาลใด
  • 17. ง. อาเสวนปัจจัย ก. ข. ค. ง. 1 1 ข้อใดมิใช่กลุ่มปัจจัยที่ทำาหน้าที่ 8. ชนกสัตติ และอุปถัมภกสัตติ ก. อารัมมณชาติ ข. อนันตรชาติ ค. วัตถุปุเรชาตชาติ ง. รูปอาหารชาติ 1 1 ข้อใดมิใช่เป็นปัจจัยที่เป็นรูป 9. ธรรม ก. อารัมมณปัจจัย ข. อธิปติปัจจัย ค. อุปนิสสยปัจจัย ง. อาเสวนปัจจัย อดีตกาล ปัจจุบันกาล อนาคตกาล ไม่จำากัดกาล 12 0. ข้อใดเป็นหน้าที่ของปุเรชาตปัจจัย ก. ชนกสัตติอย่างเดียว ข. อุปถัมภกสัตติอย่างเดียว ค. ชนกสัตติและอุปถัมภกสัตติ ง. ชนกสัตติและอนุปาลกสัตติ *****************************
  • 18. เฉลย แนวข้อ สอบรายวิช า 000250 พระ อภิธ รรมปิฎ ก ชุด ที่ 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ง ค ง ง ข ง ก ข ง ข ง ก ง ก ข ค ง ง ง ค ค 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 ค ค ง ค ค ง ค ก ง ข ค ข ข ง ค ค ก ง ก ก ก 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 ก ข ค ค ง ก ก ก ค ก ง ค ข ค ค ข ค ง ข ง ข 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 ง ก ก ค ข ค ง ง ข ค ก ก ค ค ก ค ข ข ง ง ข 113 114 115 116 117 118 119 120 ข ค ก ข ข ข ง ค