SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  119
Télécharger pour lire hors ligne
พระพุ ท ธศาสนาได้ อุ บ ัติ ขึ้ น ท่ า มกลางสัง คม
อินเดียที มีความหลากหลายด้านความเชื่อ ศาสนา
ลัทธิต่าง ๆ ที่ อุบติขึ้นก่ อนพระพุทธศาสนา และที่
                   ั
เกิดขึนไล่เลี่ยกัน ตลอดจนลัทธิที่เกิดขึนมาภายหลัง
      ้                                    ้
อีกมากมาย แม้ว่าพระพุทธศาสนาจะเกิดขึ้นมาใน
ดิ นแดนชมพู ท วี ป หรื อ อิ นเดี ย เหมื อ นกั บ ลัท ธิ
ศาสนาต่าง ๆ เหล่านัน แต่พทธ
                        ้     ุ
ศาสนามี ล ัก ษณะพิ เ ศษที่ แ ตกต่ า งจากล ัท ธิ
  ศาสนาต่าง ๆ ได้แก่การอุบติขึ้นมาพร้อมกบ
                                ั                   ั
  การปฏิ รู ป สั ง คมอิ นเดี ย เสี ย ใหม่ คื อ พุ ท ธ
  ศาสนาได้เสนอหลกทฤษฎีใหม่ ซึ่งหกล้างกบ
                        ั                 ั           ั
  ความเชื่ อ ด ั ง เดิ มของชาวอิ นเดี ย ไปมาก
                 ้
  โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หล ัก การที่ แ ตกต่ า งจาก
  ศาสนาพราหมณ์โดยสิ้นเชิง
พุท ธศาสนาเคยได้ เ จริ ญ รุ่ง เรือ งในอินเดี ย มาก่ อ น
ย่อมจะทําให้ สงคมอินเดี ยได้รบอิทธิพลด้านความคิด
                     ั                ั
ความเชื่ อ จากพระพุ ท ธศาสนาอย่ า งแน่ นอน เมื่ อ
ความคิ ด ความเชื่ อ หรื อ ทัศ นคติ ข องคนอิ น เดี ย เป็ น
อย่างไร ก็ย่อมส่งผลให้สงคมเป็ นไปอย่างนันด้วย แม้ว่า
                               ั               ้
ปั จ จุบ น นี้ จ ะเหลื อ แต่ ภ าพเก่ า ๆ ของพุท ธศาสนาใน
         ั
ความทรงจ ํา ของผู้ค น หรื อ อาจจะลื ม ไปแล้ ว ก็ต าม
สาหรบคนอินเดีย แต่อิทธิพลของของพทธศาสนาที่เคย
  ํ ั                                       ุ
มีบทบาทต่อสงคมอินเดียนัน ยงปรากฏอยู่ ทงในอดีต
                   ั              ้ ั             ั้
และ
ปั จ จุ บ น อิ ท ธิ พ ลของพระพุท ธศาสนาในครัง
           ั                                 ้
  พุท ธกาล หลัง จากที่ พ ระพุท ธองค์ท รงตรัส รู้
  อนุ ต ตรสัม มาสัม โพธิ ญ าณแล้ ว ภารกิ จ อัน
  ยิ่งใหญ่ของพระพทธองคคือ การชี้นําแนวทาง
                    ุ      ์
  ดําเนินชีวิตที่ถกต้องแก่มวลประชากร เพื่อ
                  ู
ความสุ ข สงบแก่ ชี วิ ตและสั ง คมแม้ ว่ า จะ
 ยากลําบากเพียงใดก็ตาม พระองค์ใช้เวลาที่ มี
 อยู่ตลอดพระชนม์ชีพ ๔๕
พรรษา เผยแผ่ ห ลัก ธรรมคํา สัง สอนจนพุท ธ
                              ่
 ศาสนาแพร่หลายในแคว้นต่าง ๆ มีประชาชน
 ศรทธาเลื่อมใสและอทิศตนเป็นพทธสาวก นับ
    ั                 ุ         ุ
 ถือพระพทธศาสนาจานวนมากมาย
         ุ          ํ
พระพุทธองค์มิได้จากัดบุคคลในการเทศน์ สอน
                    ํ
ว่าเป็ นชนชันวรรณะใด เพศใด อาชีพใด หรืออายุ
            ้
วัยใด ทรงแสดงธรรมแก่บคคลทุกระดับ ไม่จากัด
                        ุ               ํ
ขอบเขต หากเขามีความสามารถที่จะรบร้ธรรมได้
                                  ั ู
ก็ทรงให้โอกาสเสมอ จนมีพทธศาสนิกชนทุกระดับ
                          ุ
พุทธธรรมได้แทรกซึมอยู่ในบุคคลทุกกลุ่ม ทุกวัย
ทุกสาขาอาชีพ สิทธิเสรีภาพของบคคลได้ถกเปิด
                              ุ       ู
ออกโดยหลั ก การของพุ ท ธศาสนา เพราะ
 เมื่ อ ก่ อ นได้ ถ ก ครอบง ํา ปิ ดก ัน สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ
                     ู                ้
 โดยความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ ประชาชน
 ส่วนมากได้รบอิทธิพลจากพุทธศาสนาในการ
                   ั
 ดํา เนิ นชี วิ ต เช่ น การมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งกรรม
 แทนความเชื่ อเรื่องพระพรหมลิขิต การถวาย
 ทาน การปฏิบติตามศีล ๕ ศีล ๘ เป็นต้น
                       ั
พระราชาผู้ปกครองแว่นแคว้นก็ทรงปกครอง
โดยทศพิธราชธรรม ดงปรากฏว่ามีพระราชาหลาย
                       ั
พระองค์ที่ทรงเป็ นพุทธสาวก เช่นพระเจ้าพิมพิสาร
แห่งแคว้นมคธ พระเจ้าปเสนทิโกศล พระราชาแห่ง
แคว้นโกศล เป็ นต้ น ทรงเป็ นพุทธมามกะ และได้
ปกครองบ้านเมืองด้วยหลกธรรมทางพทธศาสนา
                          ั          ุ
ทรงอุ ป ถั ม ภ์ พุ ท ธศาสนา ด้ ว ยการทนุ บํ า รุ ง
พระภิกษุสงฆ์
มี พระพุท ธเจ้ า เป็ นประธาน และได้ ส ร้ า งวัด วา
   อารามต่ า ง ๆ ถวายแก่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ด้ ว ย
   ภายหลงพทธปรินิพพาน พระพทธศาสนาได้มี
          ั ุ                      ุ
   ความเจริญรุ่งเรืองไปในแคว้นต่าง ๆ มีนิกาย
   ต่าง ๆ เกิดขึ้นทําให้พุทธศาสนาแพร่หลายไป
   พร้ อ มก ั บ ความเสื่ อ มที่ ตามมาก ั บ ความ
   แพร่หลายนันเอง ด้วยเหตผลหลาย
                 ่             ุ
ประการที่ทาให้พระพทธศาสนาเสื่อมจากอินเดีย
          ํ           ุ
    พระพุท ธศาสนาได้ เ จริญ รุ่ง เรื องมาตัง แต่
                                           ้
  ครังพุทธกาล จนถึงประมาณพุทธศตวรรษที่
     ้
  ๑๑ ตงแต่บดนันมาพระพทธศาสนากได้เสื่อม
       ั้    ั ้           ุ            ็
  จากอินเดี ย โดยถูกครอบงําจากอิทธิพลของ
  ศาสนาฮิ น ดู ระยะกาลอัน ยาวนานของพุท ธ
  ศาสนาที่มีต่อวิถีชีวิตคนอินเดียกว่า ๑ พันปี
พุท ธศาสนามี บ ทบาทต่ อ สัง คมอิ น เดี ย ในสมัย
ต่าง ๆ ดังนี้
    เมื่ อ พุท ธศตวรรษที่ ๒ ในร ช สม ย ของพระเจ้ า
                                ั ั
อโศกมหาราช ทรงศรัทธาเลื่ อมใสในพุทธศาสนา
เถรวาทมาก ทรงทํา นุ บ า รุง พระพุท ธศาสนาและ
                          ํ
ปกครองบ้านเมืองให้ สงบร่มเย็น ประชาชนอยู่กน     ั
อย่ า งสงบสุ ข บทบาทสํ า คัญ ของพระเจ้ า อโศก
มหาราชที่ มีต่อพระพุทธศาสนาคือทรงอุปถัมภ์การ
ส ัง คายนาพระธรรมวิ นั ย คร ง ที่ ๓ ขจ ด ภ ย ร้ า ย
                             ั้        ั ั
    ของพระพุ ท ธศาสนาด้ วยการขจั ด พวก
    เดียรถียปลอมบวช และส่งพระสมณทูตไปเผย
              ์
    แผ่ พุ ท ธศาสนา ในดิ น แดนประเทศต่ า ง ๆ
    รวมถึง ๙ สายด้วยกันประมาณพุทธศตวรรษ
    ที่ ๙ - ๑๑ ราชวงศคปตะทางอินเดีย
                     ์ ุ
ตอนเหนื อเจริญรุ่งเรือง ในสมัยราชวงศ์นี้ได้ชื่อ
 ว่ า เ ป็ น ยุ ค ท อ ง ท า ง ศ า ส น า ว ร ร ณ ค ดี
 ศิลปกรรม และปรัชญา แม้ว่าพระเจ้าแผ่นดิน
 ในราชวงศ์นี้จะเป็ นฮินดูส่วนมาก
แต่ก็ทรงอุปถมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนาเป็น
               ั
 อ ย่ า ง ดี โ ด ย เ ฉ พ า ะ ฝ่ า ย ม ห า ย า น จ น
 เจริญร่งเรืองไปสู่ประเทศใกล้เคียง กษตริยที่มี
          ุ                                    ั ์
 บทบาทสาคญได้แก่ พระเจ้าจนทรคุปต์ พระ
             ํ ั                      ั
 เจ้ า สมุ ท รคุป ต์ พระเจ้ า วิ ษ ณุ คุ ป ต์ และพระ
 เจ้าสกนธคปต์
         ั ุ
ในยุคนี้ พระพุทธศาสนาฝ่ ายมหายานได้ รจนา
คมภีรขึนมากมาย ด้านศิลปกรรมทางพทธศาสนามี
   ั ์ ้                                 ุ
ความเจริ ญรุ่ ง เรื อ งอย่ า งมาก เช่ น ศาสนสถาน
และศาสนวตถ ุ ได้สร้างขึ้นอย่างงดงาม พระพทธรป
             ั                                  ุ ู
ศิ ลปะสมัย คุ ป ตะมี ห ลายขนาด หลายปาง แม้
พระพุท ธรูปสมัย ทวาราวดี ก็ไ ด้ ร บ อิ ท ธิ พ ลมาจาก
                                  ั
ศิลปะสมยคปตะ
         ั ุ
ส่ ว นด้ า นปรั ช ญา ได้ มี นั ก ปรั ช ญาทางพุ ท ธ
   ศาสนาหลายท่ า น เช่ น ท่ า นนาคารชุ น ท่ า
   นอส ั ง คะ และท่ านวสุ พ ั น ธ์ ท่ านเหล่ า นี้
   ประกาศ พุ ท ธปรั ช ญาให้ เ ป็ นที่ สนในแก่
   ประชาชน โดยเฉพาะนั ก คิ ดนั ก ปร ั ช ญา
   ทัง หลาย แม้ ว่ า จะเป็นปร ช ญาฝ่ ายมหายาน
     ้                           ั
   แต่ ก็ได้ มีอิทธิพลต่ อความคิด ความเชื่ อของ
ในด้ า นการศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา ราว พ.ศ.
  ๑๐๐๐ การศึกษาทางพุทธศาสนาได้ก้าวหน้า
  ไปมาก ถึง กับขยายการจัดการศึ กษาไปเป็ น
  รูปแบบมหาวิทยาลย จึงได้เกิดมหาวิทยาลย
                    ั                   ั
  แห่ งแรกในโลกขึ้น คือมหาวิทยาลัยนาลันทา
  และมหาวิ ทยาลัย อื่ น ๆ ขยายตามมาอี ก
  กระจายอย่ในอินเดียตอนเหนือ
            ู
มหาวิทยาลัยนาลันทามีคณาจารย์สงสอนธรรม  ั่
มีถึง ๑๕๐๐ ท่าน นักศึกษาจานวนนับหมื่น มีทงชาว
                              ํ                    ั้
อินเดีย และชาวต่างชาติ เช่น จีน ธิเบต อินโดนีเซีย
เตอร์กี ทัง บรรพชิ ต และคฤหัส ถ์ ทัง ฝ่ ายมหายาน
            ้                           ้
แ ล ะ เ ถ ร ว า ท แ ล ะ ศ า ส น า อื่ น ๆ ก า ร ศึ ก ษ า
พระพทธศาสนาจึงเป็นไปอย่างกว้างขวาง
       ุ
พ.ศ. ๑๑๐๐ พระเจ้าหรรษวรรธนะ (พระเจ้าศีลา
  ทิตย) ราชวงศ์วรรธนะ แห่งวรรณะแพศย์ ได้
           ์
  กํ า จ ั ด อํ า นาจราชวงศ์ คุ ป ตะแห่ งวรรณะ
  พราหมณ์ลงได้ และขึ้นครองราชเป็นมหาราช
  ที่ยิ่งใหญ่ ทรงเลื่อมใสในพทธศาสนามหายาน
                              ุ
  ได้ทานุบารงพระพทธศาสนา
         ํ ํ ุ         ุ
และอุปถัมภ์บารุงมหาวิทยาลัยนาลันทาด้วย จน
               ํ
  ทํา ให้ ช าวฮิ น ดูข ด เคื อ งว่ า บ า รุง พุท ธศาสนา
                       ั               ํ
  มากกว่าฮินดู จึงวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้า
  หรรษะจนสําเร็จ
ในยุคนี้ ได้มีพระภิกษุชาวจีนท่านหนึ่ งชื่อหลวงจีน
เหี้ ย นจ ัง หรื อ ยวนฉาง (พระถ ัง ซัม จ ั ๋ง) ได้ จ าริ ก สู่
ชมพูทวี ป นอกจากท่ านมาศึ กษาพระพุทธศาสนา
และแปลพระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาจี น เพื่ อ นํ า ไปยัง
ประเทศจีนแล้ว ท่านยงได้เขียนจดหมายเหตุไว้เพื่อ
                         ั
บัน ทึ ก เรื่ อ งราวและสภาพของสั ง คมด้ า นพุ ท ธ
ศาสนาไว้มากมาย ซึ่ งเป็ นประโยชน์ ต่อการศึ กษา
พระพุทธศาสนาในภายหลัง
หลังจากพระเจ้าศี ลาทิ ตย์สวรรคตแล้ว อินเดี ย
 ได้เข้าส่ความระสาระสายเป็นเวลาประมาณ ๑
          ู        ํ่
 ศตวรรษ พระพุท ธศาสนาได้ เ ส่ื อ มถอยจาก
 อิ นเดี ย ตามลํ า ดั บ นั บ ตั ้ง แต่ ห ลั ง ราชวงศ์
 วรรธนะ (พระเจ้ าศี ลาทิตย์ ) ด้ วยสาเหตุม า
 จากปัจจยทงภายในและภายนอกคือ
            ั ั้
๑) ปั จ จัย ภายใน ได้ แ ก่ ค วามอ่ อ นแอ ความ
แตกแยก ขาดความเป็ นปึ กแผ่ น ของคณะสงฆ์
ประกอบกบการรบเอาลทธิตนตระของพราหมณ์มา
            ั      ั   ั ั
ปฏิบติ เกิดเป็นนิกายใหมเรียกว่านิกายพทธตนตระ
      ั                   ่               ุ ั
ซึ่งขดกบหลกการเดิมของพทธศาสนาอย่างรนแรง
     ั ั ั                   ุ               ุ
๒) ปัจจยภายนอก ได้แก่ความระสาระสายของ
       ั                         ํ่
  บ้านเมือง อันเนื่ องมาจากการคุกคามจากชน
  ชาติอื่น จนแตกแยกเป็นรฐน้อยใหญ่ และการ
                           ั
  คุกคามจากศาสนาอื่น เช่น ศาสนาฮินดูและ
  ศาสนาอิสลาม
ขาดผู้อุ ป ถ ัม ภ์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง คื อ กษั ต ริ ย์
 ผู้ ป กครองบ้ า นเมื อ ง เมื่ อ กษั ต ริ ย์ ที่ นั บ ถื อ
 ศาสนาอื่นแล้วไม่ทรงอุปถัมภ์พทธศาสนาแล้ว
                                    ุ
 ก็จะทําให้พทธศาสนาไม่อาจมันคงถาวรได้
                ุ                 ่
เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๐๐ สงคมอินเดียกาลงอยู่ใน
                                ั                ํ ั
ความอ่อนแอ กองทพเตอรกมุสลิมได้เข้ามารกราน
                        ั     ์                      ุ
อิ น เดี ย ทํา ลายล้ า งพุท ธศาสนาที่ มี อ ยู่ ใ นอิ น เดี ย
อย่างราบคาบ ได้ฆ่าพระสงฆ์ เผาคัมภีร์ ทําลายศา
สนสถาน เช่น วดวาอาราม มหาวิทยาลยนาลนทา
                  ั                            ั       ั
เผาตาราทิ้งจนไม่มีเหลือ พระสงฆ์บางส่วนที่หนีทน
       ํ                                                  ั
ได้ลี้ภยไปอย่ที่เนปาล และธิเบต
         ั      ู
พระพุทธศาสนาได้ สูญสิ้น ไปจากอิน เดี ย ตังแต่  ้
 บด นั ้น มา ระยะกาลยาวนานกว่ า ๑ พน ปี ที่
   ั                                         ั
 พุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองในอินเดีย และได้
 สูญสิ้นไปจากอินเดียโดยสิ้นเชิง ที่ ยงเหลืออยู่
                                       ั
 ก็มี เ พี ย งประชากรเพี ย งน้ อยนิ ด ไม่ ถึ ง ๑%
 ของประชากรทังหมดของอินเดีย และคนที่ ยง
                  ้                              ั
 นับถือพุทธศาสนาอยู่ในปั จจุบนนี้ ส่วนมากก็
                                 ั
มูลเหตุสาคญในอนที่จะส่งเสริมให้ศาสนา
                  ํ ั  ั
ใดศาสนาหนึ่ ง เจริญรุ่งเรือง บรรลุความสําเร็จ
เป็นที่ยอมรบนับถือของประชาชนทวไปได้นัน
                ั                    ั่     ้
อยู่ที่เนื้ อหาสาระอันเป็ นคุณสมบัติประจําของ
ศาสนานั ้ น ๆ หากนี้ เป็ นหล ั ก เกณฑ์ แ ห่ ง
ความสาเรจของศาสนาแล้วไซร้
            ํ ็
กต้องยอมรบว่า พทธศาสนาเป็นศาสนาที่
  ็       ั     ุ
 เพียบพร้อมด้วยเนื้อหาสาระ หรือคณสมบติ
                                ุ   ั
 ดงกล่าว อย่างสมบรณ์ที่สด
   ั               ู    ุ
ในศตวรรษที่ ๖ และที่ ๕ ก่อนคริสต์ศกราช   ั
นั น ในทวี ปเอเชี ยและยุโรป มีการตื่ นตัวทาง
    ้
ความคิดด้านศาสนาและปรัชญา อันเป็ นการ
ตื่ นตัวจากความเชื่ อถือทางพหุเทวนิ ยมไปสู่
เอกเทวนิยม หรืออีกนัยหนึ่งจากความเชื่อถือ
ดิ บ ๆ แบบดัง เดิ ม ไปสู่ค วามเชื่ อ ถื อ ที่ ลุ่ ม ลึ ก
                 ้
ละเมียดละไม ดงตวอย่างเช่น ในประเทศจีนมี
                   ั ั
เล่าจือ (เกิ ดปี ๕๗๐ ก่อน ค.ศ.)
        ้
และขงจื้ อ (ถึ ง แก่ ก รรมปี ๔๗๐ ก่ อ น ค.ศ.) ใน
 ประเทศเปอร์ เ ชี ย (อิ หร่ า นในปั จ จุ บ ัน ) มี
 ศาสดาโซโรอาสเตอร์ (ศตวรรษที่ ๖ ก่ อ น
 ค.ศ.) ในประเทศกรีซมีโสเครติด (ถึงแก่กรรม
 ด้ ว ยยาเมื่ อ ปี ๓๙๙ ก่ อ น ค.ศ.) และเปลโต
 (๔๒๗-๓๔๗ ก่อน ค.ศ.) และในประเทศอินเดีย
 ก็มี ศ าสดามหาวี ร ะและพระพุท ธเจ้ า (๕๖๓-
ในประเทศอินเดีย นอกจากเจ้าสานักหลาย    ํ
ท่าน ดังมีข้อความระบุถึงในมหากาพย์ภารตะ
และมหากาพย์รามายณะ ตลอดจนในคัมภี ร์
อปนิษทแล้ว กยงมีเจ้าสานักอื่นอีกบางท่านซึ่ง
 ุ ั          ็ ั          ํ
พระพทธเจ้าทรงวิพากษ์ครงแล้วครงเล่าอีกว่า
        ุ                     ั้            ั้
ดํา เนิ นการสอนที่ ไ ม่นํ า ไปสู่วิ มุต ติ อัน ได้ แ ก่
การหลุดพ้น (จากการเวียนเกิดเวียนตาย)
อาจกล่ า วได้ ว่ า อิ น เดี ย ในยุ ค นั ้น เต็ ม ไปด้ ว ย
 ค ว า ม คิ ด ที่ ส ั บ ส น ข ั ด แ ย้ ง ค ล้ า ย ก ั บ ว่ า
 ปัญญาชนคนมีความรู้ทงประเทศ หมกมุ่นอยู่
                                 ั้
 กับ การแสวงหาสัจ ธรรม โดยหลงลื มการหา
 ประโยชน์ส่วนตวเสียสิ้น จานวนฤๅษีมุนีและ
                       ั              ํ
 ปริพาชก (นักบวชผ้ชายนอกพระพทธศาสนา)
                           ู                ุ
 นัน มีมากมาย อนเป็นสญญาณแสดงว่าการ
   ้                     ั          ั
ดินแดนภารตะทัง ประเทศในสมัยนั น เร่ า
                      ้                       ้
ร้อนไปด้วยความเคลื่อนไหวทางพุทธิปัญญา
ด้วยเหตนี้ จึงเป็นเวลาที่เหมาะสมยิ่งที่นักคิดผู้
         ุ
ปรี ช าสามารถเช่ น พระโคดมพุ ท ธเจ้ า ผู้ไ ด้
ศึ ก ษานานาล ัท ธิ คํา สอนซึ่ ง มี อ ยู่ ใ นสม ย นั ้น
                                                ั
อย่ า งเชี่ ย วชาญทะลุ ป รุ โ ปร่ ง จะได้ อ อกมา
ประกาศประสบการณ์ คาสอน ซึ่ งพระองค์ได้
                          ํ
ทรงพิจารณาแล้วเห็นว่า ถกต้องถ่องแท้และ
                               ู
สมเหตุสมผลเป็นที่สุด พระองคได้ทรงวิพากษ์
                                    ์
๑. คําอวดอ้ างอัน ไม่ส มควรและไร้ เหตุผ ลของ
  พราหมณ์
      ๒. ประสิทธิภาพการบูชายญด้วยชีวิตสตว์
                                       ั               ั
  เพื่ อ สร้ า งความพอใจให้ แ ก่ ท วยเทพ และ
  บันดาลความผาสุกแก่มวลมนุษย์
      ๓ . อ ภิ สิ ท ธ์ ิ แ ล ะ ค ว า ม เ ค ร่ ง ค รั ด ใ น
  ชี วิ ตประจํ า วัน โดยปราศจากเหตุ ผ ลของ
คํ า สอนเชิ งวิ พากษ์ แ ละการโจมตี ของ
พระพุทธเจ้า คงจะเป็ นที่ พอใจของคนจํานวน
หนึ่ ง ซึ่ ง ไม่เห็นด้ วยกับ ระบบสัง คมในยุค นั น
                                                ้
ในสายตาของประชาชนเหล่านี้ พระพุทธองค์
คือวี รบุรุษของนั กคิดใหม่ ผู้เปิดเผยความไม่
ถกต้องของระบบศาสนา ที่เป็นพนธนาการรด
  ู                                  ั            ั
ตรึงพวกเขามาเป็นเวลานับได้ร้อย ๆ ปี
คํา สอนของพระพุท ธเจ้ า ที่ ว่ า “จงเป็ นที่ พึ่ ง แก่
  ตนเอง” (อตฺตที โป อตฺตสรโณ อน�ฺรโณ)    ส
  เป็นการเปิดตาให้แสงสว่างแก่คนเป็นจานวน     ํ
  มาก พระองคได้ทรงสอนว่า มนุษยทุกคนเป็น
                ์                     ์
  ผลแห่งกระทํา (กรรม) ของตนเอง การกราบ
  ไหว้วิงวอนพระเจ้าหรือแม้แต่พระพทธเจ้า จะ
                                        ุ
  ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ใด ๆ ทังสิ้น
                                 ้
พระองคทรงสอนว่าพราหมณ์หรือพระภิกษุ
              ์
เป็นแต่เพียงผนําทางจิตวิญญาณเท่านัน หาใช่
                ู้                          ้
เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษยกบความหลุดพ้น
                               ์ ั
ไม่ วิมุตติภาพหรือการหลุดพ้นจากสงสารวฏ    ั    ั
(การเวียนเกิดเวียนตาย) ขึ้นอยู่กบความเพียร
                                      ั
พยายามและความร้แจ้งของแต่ละบุคคล มิใช่
                      ู
ขึ้นกับผู้ยิ่งใหญ่ ใด ๆ มิใช่ ขึ้น กับครู อาจารย์
เทพเจ้าหรือแม้แต่พระพุทธเจ้า พระองค์ทรง
สอนว่า “จงพากเพียรเพื่อความหลุดพ้นของ
เริ่มแรกพระพทธเจ้าทรงสอนสานุศิษยของ
                     ุ                       ์
พระองค์ซึ่งถกครอบงาด้วยอวิชชา คือความ
                 ู       ํ
ไม่รู้ มิให้ลุ่มหลงเสียเวลาด้วยการถกเถียงถึง
ปั ญหาที่ ไร้ประโยชน์ เช่ น คนเรามาจากไหน
ตายแล้วจะไปยงที่ใด ฯลฯ ทว่า พระองค์ทรง
                   ั
สอนให้ ทุ ก คนตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า แห่ ง ความ
บริสทธ์ ิ ทางกาย
      ุ
วาจา และใจ หรืออีกนัยหนึ่งคือ ให้ตระหนักถึง
  คณค่าแห่งศีล สมาธิ และปัญญา พระองคทรง
      ุ                                     ์
  ยําถึงประโยชน์ แห่ งการศึกษาและภาวนา อัน
    ้
  จะนํ าไปสู่การรู้แจ้งแห่ งสภาวะอันแท้ จริงของ
  ธรรมชาติ ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
คํา สอนของพระพุท ธองค์ที่ มี ชื่ อ ในภาษา
บาลีว่า “ปฏิ จฺจสมุปบาท” (กฎแห่ งธรรมที่
                     ฺ
ต้ อ งอาศัย กัน เกิ ดขึ้ น ) เป็ นที่ ป ระทั บ ใจแก่
ปัญญาชน เช่น พระสารีบุตร พระโมคคลลานะ        ั
และปั ญ ญาชนทุ ก เพศทุ ก วั ย จํ า นวนมาก
ปฏิจจสมุปบาทสอนให้ร้ว่า สิ่งทังหลายในโลก
                            ู         ้
อาศยกนและกนจึงเกิดมีขึ้น ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้น
      ั ั       ั
โดยตัวของมันเอง และไม่มีสิ่งใดที่มีคณสมบัติุ
ถาวรโดย
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในตัวของมัน (อนัตตา) ทุก
  สิ่งทุกอย่างอยู่ในสภาพไหลเลื่อนแปรเปลี่ยน
  อยู่ทุกขณะและตลอดเวลา นิพพานเท่ านั นที่               ้
  ไ ม่ มี ก า ร แ ป ร เ ป ลี่ ย น ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ ก ั บ ก ฎ
  แห่งปฏิจจสมุปบาท (อปฏิ จฺจสมุปปนฺน) ไม่มี  ฺ
  การปรุงแต่ง (อสงขตะ) ไม่มีการเกิด (อชาติ )
                       ั
      ่
  ไมมีการเสื่อมสลายหรือตาย (อมต)
มนุษยจะร้แจ้งในสจจะนี้ได้ด้วยตนเองและ
           ์ ู           ั
เฉพาะตัว ไม่มีผ้ใดอื่นจะสามารถช่วยให้ เขารู้
                 ู
แจ้งได้ อี กทังมนุ ษย์จะบรรลุสจจะนี้ ได้ ก็ด้วย
              ้                   ั
การประพฤติ ดี ป ฏิ บ ติ ช อบตามคํา สอนแห่ ง
                       ั
อริ ย สัจ ๔ และมรรค ๘ กล่ า วโดยย่ อ ก็ คื อ
มนุษย์ต้องมีความสมบูรณ์ในเรื่องศีล สมาธิ
แ ล ะ ปั ญ ญ า จึ ง จ ะ มี ด ว ง ต า เ ห็ น ธ ร ร ม
(ธรรมจักษุ)
พระพุ ท ธองค์ มิ ไ ด้ ท รงแตะต้ อ งความเชื่ อ ถื อ ของ
 พราหมณ์ ซึ่งมีมาแต่ โบราณกาล เป็ นต้ นว่า ความ
 เชื่ อ ถื อ ในเรื่ อ งพระพรหมผู้ส ร้ า งโลก ฯลฯ แต่
 พระองค์ ท รงยํ้ า ว่ า ความรู้ ห รื อ ความเชื่ อ ถื อ
 ประเภทนี้ ไม่ อํา นวยประโยชน์ อ น ใดในการที่ จ ะ
                                       ั
 ช่วยให้คนพ้นทุกข์อนเนื่ องมาจากการเกิด แก่ เจ็บ
                         ั
 ตาย (สังสารวัฏ) พระองค์ทรง
สอนว่าสจจะหรือความจริงเป็นสิ่งที่ภาษามนุษย์
        ั
  ไม่สามารถจะให้ อรรถาธิบายได้ เพราะฉะนัน้
  สถานบท (Premise)                 ใด ๆ ใน
  ตรรกศาสตร์ (Logic) จึงไม่สามารถจะ
  นํามาใช้กบสัจจะได้
            ั
     พระธรรมคําสอนของพระพุท ธองค์เป็ นที่
  จับจิตจับใจปัญญาชนชาวชมพูทวีปในสมัยนัน   ้
  มาก
มูล เหตุ ประการที่ ส อง ซึ่ ง ส่ ง เสริ ม ให้ พุท ธ
ศาสนาเจริ ญ และแผ่ไ พศาลไปอย่ า งรวดเร็ว
ได้แก่ บุคลิกภาพของพระองค์และเหล่าสาวก
ความทั น สมัย และสมเหตุ ส มผลของพุ ท ธ
ศาสนา เป็นที่ดึงดดความสนใจของปัญญาชน
                  ู
ในสมัยนัน ซึ่ งส่วนใหญ่เป็ นชนที่ มีชื่อเสียงใน
          ้
วรรณะพราหมณ์และวรรณะกษตริย์ เช่น พระ ั
พระมหากัสสปะ พระมหากัจจายนะ และอื่ น ๆ
 อีกเป็ นจํานวนมาก
     บ ร ร ด า ส า ว ก ผู้ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม รู้
 ความสามารถ อีกทังมีบุคลิกภาพและจริยวัตร
                       ้
 ดี เด่ นดังกล่าวมานี้ เป็ นกําลังสําคัญที่ ช่วยให้
 พุทธศาสนาหยังรากลึ ก และเผยแผ่ไปอย่า ง
                   ่
 กว้างไกลในดินแดนชมพูทวีป
สาวกของพระพทธองค์ ต่างกเชยวชาญใน
                    ุ                ็ ่ี
วชาการต่าง ๆ ทางพทธศาสตร์ เชน
 ิ                      ุ              ่
     พระสารีบุตร ได้รบการยกย่องเป็ นธรรม
                      ั
           ี ั
เสนาบดี มปญญามาก เป็นอครสาวกฝายขวา ั       ่
และเป็นกาลงสาคญในการประกาศพระศาสนา
          ํ ั ํ ั
     พระโมคคลลานะ ไดรบการยกยองเป็น
               ั            ้ั           ่
เอตทคคะในทางมฤทธิ ์มาก
       ั          ี
     พระมหากัสสปะ เป็ นผูมปฏิปทามักน้อย
                               ้ ี
สนโดษ ไดรบการยกยอง
   ั        ้ั            ่
เป็ นเอตทัคคะในทางถือธุดงค์ (องค์คุณเครื่อง
   กาจดกิเลส) หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน
     ํ ั
   พระมหากั ส สปะได้ เป็ นผู้ ริ เริ่ มและเป็ น
   ประธานในปฐมสงคายนา (การประชุมตรวจ
                   ั
   ชํา ระสอบทาน และจ ัด หมวดหมู่ คํา ส ัง สอน
                                         ่
   ของพระพุทธเจ้า)
พระมหากั จ จายนะ ได้ ร ั บ การยกย่ อ งเป็ น
 เอตทคคะในทางขยายความคาย่อให้พิสดาร
       ั                     ํ
 ว่ากันว่าพระมหากัจจายนะมีรูปร่างสวยงาม
 ผิวพรรณดังทองคํา
พระสาวกของพระพุทธเจ้ าที่ ได้ กล่าวนาม
มานี้ ต่ างได้ อุทิศสติปัญญาความสามารถใน
การเผยแผ่ พุท ธธรรม และได้ ดึ ง ดูด สาธุ ช น
จํา นวนมากในวรรณะสูง ตลอดจนผู้มี ฐานะ
รํารวยได้ชื่อว่า “เสฏฐี ” และแม้แต่ปริพาชก
  ่
(นักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนา) ให้หนมา  ั
นับถือพทธศาสนา บุ ค ลิ กภาพและศั ก ด์ ิ ศรี
          ุ
ของพระพุท ธองค์ในฐานะที่ ทรงเป็ นนั กบวช
(สมณะ) และปรชญาเมธีผเปรื่องปราด
                   ั       ู้
ได้ดึงดูดความสนใจของท้าวพญามหากษัตริยซึ่ง
                                       ์
  ครองราชย์และมีอํานาจในชมพูทวี ปในสมัย
  นัน บรรดาชนชนนําเหล่านัน เช่น พระเจ้าพิม
    ้           ั้       ้
  พิสารและหมอชีวกโกมารภจจแห่งแคว้นมคธ
                           ั ์
  พระเจ้าปเสนทิ อนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี และ
  นางวิ สาขามหาเศรษฐี นี แห่ ง นครสาวัต ถี
  แคว้นโกศล
อีกทงอมพปลี หญิงงามเมองแห่งนครเวสาลี ต่าง
     ั้ ั                  ื
   ได้ ส ร้ า งว ั ด วาอารามถวายพระพุ ท ธเจ้ า
   ตลอดจนเหล่ า ภิ ก ษุ ส งฆ์ ส าวกของพระองค์
   อย่ า งมากมาย ซึ่ ง ในปั จ จุ บ ัน ซากเศษสิ่ ง
   ปรกหกพงของอาคารสิ่งก่อสร้างเหล่านี้ ยงมี
       ั ั ั                                      ั
   ปรากฏให้ เ ราอนุ ช นรุ่น หลัง ได้ เ ห็น เป็ นสัก ขี
   พยาน
ประวัติศาสตร์ชี้ ให้ เราเห็น ว่ า ความเจริ ญ
และความเสื่อมของพทธศาสนานัน ขึ้นอยู่กบ
                     ุ              ้        ั
ความอปถมภ์ หรือการขาดความอุปถมภจาก
         ุ ั                            ั ์
ราชามหากษัตริย์ เป็นสาคญ ในสมยพระเจ้า
                         ํ ั          ั
อโศกมหาราช พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็ น
อย่างยิ่ง แต่ในสมยทายาทของพระเจ้าอโศก
                 ั
ในยุคต่อมา พุทธศาสนาถึงแก่ความอับเฉา ครัน     ้
  ต่ อมาในยุคของกษัตริย์เชื้ อสายอินเดี ยผสม
  แบคเทรี ย (Indo-Bactria)              ได้ แ ก่
  Menander (พระเจ้ามิลินท์ ในคมภีร์      ั
  พุท ธศาสนา) และในยุ ค ของกษัต ริ ย์อิ น เดี ย
  ผสม Scythia ได้แก่ พระเจ้ากนิษกะ พทธ      ุ
  ศาสนาร่งเรืองขึนอีก
          ุ      ้
พุ ท ธ ศ า ส น า ต ก อ ยู่ ใ น ส ภ า พ อั บ เ ฉ า
จนกระทังถึงสมัยกษัตริย์ศกราทิตย์ พุทธคุป
              ่                 ั
ตะ และหรรษวรรธนะ พุทธศาสนาจึ งกลับมี
พล ั ง ว ั ง ชาขึ้ น ใหม่ ในสม ัย ราชวงศ์ ป าละ
(คริ สต์ ศ ตวรรษที่ ๘-๑๒) พุ ท ธศาสนาใน
รูป แบบและว ัต รปฏิ บ ติ ของล ัท ธิ “ตัน ตระ”
                           ั
และ “วชรยาน” มีอิทธิพลไพศาลในชมพูทวีป
            ั
โดยเฉพาะในแคว้นเบงกอล แต่เป็ นพลังที่ วิปริต
  ผิดแปลกไปจากคาสอนเดิมของพระพทธองค์
                         ํ                      ุ
  อย่ า งหน้ า มือ เป็ นหลัง มือ และในที่ สุ ด ความ
  วิ ป ริ ต นี้ ได้ ก ลายเป็ นมู ล เหตุ สํา คัญ ที่ ทํา ให้
  พุทธศาสนาเสื่ อมสลายไปจากดินแดนที่ เกิด
  ของตน
จะเหนได้ว่า ความเจริญร่งเรืองของพทธศาสนา
     ็                    ุ         ุ
  ในชมพทวีปนัน เกิดจากการอปถมภของราชา
          ู     ้               ุ ั ์
  มหากษัตริ ย์และชนชันสูง เป็ นปั จจัยประการ
                        ้
  สําคัญ แม้ในประเทศอื่ นที่ พุทธศาสนาแผ่ไป
  ถึง เช่น พม่า ศรีลงกา จีน ทิเบต และไทย ก็มี
                      ั
  สภาพคล้ายคลึงกน   ั
ก า ร อุ บั ติ ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส น า นิ ก า ย
“มหายาน”            ถื อกันว่ าเป็ นวิวฒ นาการที่
                                       ั
ก ว้ า ง ไ ก ล แ ล ะ มี ค ว า ม สํ า ค ั ญ ยิ่ ง ใ น
ประวติศาสตรของพทธศาสนา
       ั        ์      ุ                 ความคิ ด
ควา มเชื่ อหลั ก ของมหายาน ที่ ว่ า “พร ะ
โพธิสตวคือสญลกษณ์ของความเมตตากรณา
         ั ์ ั ั                                 ุ
อัน สัต ว์โ ลกทัง ผองพึ ง บํา เพ็ญ และปฏิ บติ ต่ อ
                  ้                            ั
เป็นความคิดความเชื่อที่จงใจ และครองใจคน
                            ู
 ไม่ เ ฉพาะในอิ นเดี ย เท่ า นั ้น ทว่ า ในทวี ป เอเชี ย
   ท ัง หมดเลยก็ว่ า ได้ พุท ธศาสนาแบบ “เถรวาท”
      ้
   หรือ “หิ นยาน” ได้เจริญแพร่หลายไปยังเอเชี ย
   ตะว น ตก (ตง แต่รชสม ยพระเจ้ าอโศก) แต่ต่อมา
           ั     ั้   ั ั
   พุทธศาสนาแบบมหายาน ได้เ ข้ า ไปครองแทนที่
   และได้แผ่ขยายไปถึงทิเบต จีน มองโกเลีย เกาหลี
   ญี่ป่ น เวียดนาม ฯลฯ
         ุ
คําสอนและอุดมการณ์ ของมหายานตังอยู่    ้
บนรากฐานแห่งความเชื่อในองคพระพทธเจ้า
                                  ์     ุ
พระโพธิสตว์ (ผ้ที่จะได้ตรสร้เป็นพระพทธเจ้า)
            ั     ู      ั ู          ุ
อี ก ทัง เทพและเทพี ห ลายองค์ เช่ น อมิ ต าภะ
        ้
อวโลกิเตศวร หรือปัทมปาณิ มญชุศรี สมนต
                                ั             ั
ภทรหรือจกรปาณิ อกโษภย ไวโรจน รตนสม
   ั          ั      ั    ั               ั
ภพ อโมฆสิ ทธิ มหาสถามไมเตรยะหรือ อริ ย
เมตไตรย์ ไภษชราช อากาศครภ วชรปาณิ ตา
                ั                   ั
รามารีจี ฯลฯ
พระนามของพระโพธิสตว์เหล่านี้ เป็ นนามธรรม
                      ั
 ของคุ ณ สมบ ั ติ เช่ น อวโลกิ เตศวร เป็ น
 นามธรรมของความเมตตากรุ ณ า ม ญ ชุ ศ รี
                                    ั
 เป็ นนามธรรมของสติ ปั ญญา ฯลฯ แต่ ก็
 เช่ นเดี ยวกับคําสอนในศาสนาทัง หลาย เมื่อ
                                 ้
 กาลเวลาล่ ว งเลยไป ผู้ ค นพาก ั น หลงลื ม
 นามธรรม แต่กลับไปยึดมันในรูปธรรม
                         ่
กล่ า วคื อ ไม่ นํ า พาต่ อ คุ ณ สมบ ัติ เช่ น ความ
 เมตตากรุณา ทว่าไปยึดมันในรูปสมบัติ เช่ น
                                  ่
 อวโลกิเตศวร คือความเมตตากรณา แต่ได้รบ  ุ         ั
 การสมมติให้มีตวตนเป็นพระโพธิสตว์ มีฐานะ
                      ั                   ั
 เท่ากบเทพเจ้าองคหนึ่ง และเมื่อเป็นเทพเจ้าก็
         ั                 ์
 ต้องได้รบการบูชากราบไหว้ เซ่นสรวงเอาใจ
             ั
 เหมอนเทพเจ้าทวไป
       ื                ั่
ด้วยเหตุนี้จึงมีการรจนาบทกราบไหว้สดุดี
ที่ มีชื่อในภาษาสันสกฤต (พุทธศาสนานิกาย
มหายาน ใช้ภาษาสันสกฤตแทนภาษาบาลี ซึ่ง
ใช้ ใ นนิ กายเถรวาทหรื อ หิ น ยาน) ว่ า สฺโ ตตฺ ร
บ้าง ธารณี บ้าง สฺตวและมนฺตร (มนตร์) บ้าง
พร้ อ มกัน นั น ก็มีก ารกํา หนดพิธี ก รรมต่ า ง ๆ
                  ้
ตามฐานานุรูปของเทพเจ้า และนี่ คือที่ มาของ
“คาถา” หรือ “มนตร์” (คําเป่ าเสกที่ ถือว่า
ศกด์ ิ สิทธ์ ิ ) เช่น “โอม มณี ปทฺเม หุม” (โอม
    ั                                   ฺ
ดวงแก้วเกิดในดอกบัว) ของชาวพทธทิเบต   ุ
หรือ “นโม โฮ เรง เก โกยฺ” ของชาวพุทธญี่ปุ่น
  (นิ กายนิจิเรน) ฯลฯ มหายานเชื่อว่า ด้วยการ
  ท่องบน “คาถา” หรือ “มนตร” อนศกด์ ิ สิทธ์ ิ
        ่                        ์ ั ั
  สน ๆ เช่นนี้ มนุษยจะบรรลุความหลุดพ้นจาก
    ั้               ์
  การเวียนเกิดเวียนตาย (นิ พพาน) ได้
          เมื่ อ เทพเจ้ าทั ้ง ชายห ญิ ง เกิ ด ขึ้ น
       มากมายพร้อมกบพิธีกรรมเซ่น
                       ั
สรวงอันละเมียดละไมเช่นนี้ บรรดาสมณะ
 หรือภิกษุ สงฆ์ก็พากันหันมาสนใจในการ
 ประกอบพิ ธี ก รรมเหล่ า นี้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น จน
 การศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย ตลอดจนการ
 บาเพญศีลภาวนาหย่อนยานลงไปเป็นเงา
   ํ ็
 ตามตัว เราต้ อ งไม่ ลื ม ว่ า การประกอบ
 พิธีกรรมเซ่นสรวงนานาชนิดนัน นํามาซึ่ง
                                 ้
 ลาภสกการะอย่างมากและง่ายดาย
       ั
ด้วยประการฉะนี้ ตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๔
                       ้
ถึ ง ที่ ๗ พุ ท ธศาสนาในอิ น เดี ย จึ ง กลายเป็ น
ศาสนาแห่งพิธีกรรม แทนที่จะเป็นศานาแห่ง
การค้ น คว้ า ทางปั ญ ญาและเหตุ ผ ล อัน เป็ น
วัต ถุประสงค์ และเป้ าหมายเดิ ม ของพระโค
ดมพระพุทธเจ้า หลวงจีนฮวนฉ่าง (หรือยวน
จ่าง)
นั กจาริกแสวงบุญจากประเทศจีน ผู้เดินทางไป
   สื บพระพุทธศาสนาในอินเดี ย ใน ค.ศ. ๖๒๙
   ใ น ร ั ช ส ม ั ย พ ร ะ เ จ้ า ห ร ร ษ ว ร ร ธ น ะ ซึ่ ง
   ครองราชยอยู่ ณ นครอชไชน (Ujjain) ได้
                   ์              ุ
   บัน ทึ ก ไว้ ใ นรายงานการเดิ น ทางของท่ า น
   เกี่ยวกบพิธีกรรมทางมหายานอย่างใหญ่หลวง
            ั
   เช่นเดียวกบพระเจ้าอโศกมหาราช
                 ั
ทรงทะนุ บ า รุง พุท ธศาสนานิ กายเถรวาทก่ อ น
           ํ
 หน้ านั ้น และนี้ เองเป็ นเหตุ ใ ห้ พุ ท ธศาสนา
 นิ กายมหายานรุ่ง เรื อ ง และแผ่ ไ พศาลอย่ า ง
 กว้ า งไกล ในอิ น เดี ย ในยุ ค หล ง จากพระเจ้ า
                                   ั
 อโศกมหาราช
ประวัติศาสตร์ให้ บทเรี ยนว่ า สถาบันหรือ
ขนบธรรมเนียมใด ๆ กตามซึ่งในระยะเริ่มต้น
                       ็
อาจจะมีคุณูปการหรือประโยชน์ ต่อสังคม แต่
เมื่อกาลเวลาได้ ล่วงเลยไป หากสถาบันหรือ
ขนบธรรมเนี ยมนั ้ น ๆ ไม่ มี ก ารปร ับ ปรุ ง
เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกบกาละเทศะ
                           ั
สถาบ ัน หรื อ ขนบธรรมเนี ยมด ั ง กล่ า ว อาจ
 ก ล า ย เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค สิ่ ง ขั ด ข ว า ง ต่ อ ก า ร
 เจริ ญก้ า วหน้ าของส ั ง คมนั ้ น ได้ มี นิ ทั ศ น์
 อุทาหรณ์ ให้เห็นอยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น การ
    ่
 แบงอาชีพกนทาเพื่อทกษะ
               ั ํ         ั
และความชํา นาญ (การแบ่ ง คนออกเป็ น
 วรรณะในสังคมอินเดี ยโบราณ) การประกอบ
 พิธีทางศาสนา
การเชื่ อ ถื อ พระเจ้ า หลายองค์ (พหุเ ทวนิ ยม)
 ของชาวกรีกโรมันและชาวอียิปต์โบราณ การ
 ยกย่องระบบกษตริยให้เป็นสมมติเทพ
                   ั ์
การเสกคาถาอาคมและปลุ ก ผี ส างเทวดา
 พฤติกรรมเหล่านี้มีประโยชน์ต่อสงคมขวาง
                                     ั
ในยุคหนึ่ งสมัยหนึ่ ง แต่เมือกาลเวลาได้
                             ่
 ล่วงเลยไป พฤติกรรมดงกล่าวกลบเป็น
                          ั        ั
 อุปสรรคสิ่งกีด
การแยกตนไปดารงชีวิตต่างหากของสงฆ์
                        ํ
เป็ นเหตุ สํา คัญ ประการหนึ่ ง แห่ ง การอ่ อ น
กาลงของพทธศาสนา
   ํ ั        ุ
        จริงอยู่ในระยะแรก ๆ แห่งการก่อตัง การ
                                            ้
ที่ ส งฆ์ แ ยกจากส ัง คมคฤหัส ถ์ไ ปดํา เนิ นชี วิ ต
ต่างหาก เป็นการรกษาความมีระเบียบ ความ
                      ั
บริสทธ์ ิ ผองใส
       ุ ่
แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ
  ความก้ าวหน้ าทางจิ ตวิ ญญาณ แต่ เมื่ อ
  กาลเวลาได้ ล่ ว งเลยไป สงฆ์ ไ ด้ ห ลงลื ม
  ว ต ถ ุป ระสงค์เ ดิ ม ตามคํา สอนของพุท ธองค์
    ั
  สงฆ์หัน ไปหมกมุ่น อยู่กบกิ จธุระส่ วนตัว เป็ น
                               ั
  สําคัญ สงฆ์ทอดทิ้งไม่ดูแลการศึ กษา และให้
  การอบรมด้ า นศี ล ธรรม และสติ ปั ญ ญาแก่
หลกฐานทางประวติศาสตรชี้ให้เห็นว่า ใน
       ั            ั        ์
ระยะแรก ๆ แห่งการก่อตังสงฆ์โดยพุทธานุมติ
                         ้                   ั
นัน สงฆ์ได้บาเพ็ญกรณี ยกิจ ในฐานะเป็ นผู้ให้
   ้          ํ
การศึ ก ษา ฝึ กอบรมศี ล ธรรม และพฒ นาจิ ต
                                     ั
วิ ญ ญาณ แก่ ป ระชาชนเป็ นอย่ า งยิ่ ง แต่ ใ น
กาลเวลาต่ อ มาอุดมการณ์ ด้านนี้ ข องสงฆ์ไ ด้
เลือนลางจางหายไป
พุ ท ธศาสนามี คุ ณู ป การอย่ า งใหญ่ ห ลวงต่ อ
   พ ฒ นาการด้ า นว ัฒ นธรรมของอิ น เดี ย และ
     ั
   ของหลายประเทศในทวีปเอเชี ย พุทธศาสนา
   เป็ นพลังดลใจในศิลปศาสตร์นานาแขนงทัว          ่
   เอเชี ย แต่ ใ นประเทศอิน เดี ยเองด้ วยเหตุผ ล
   ดัง กล่ า วแล้ ว พุ ท ธศาสนาได้ สู ญ เสี ย ฐานะ
   ความเป็นผนําทางศาสนา ไปอย่างน่าเสียดาย
                ู้
สัมฤทธิผลของศาสนาใดศาสนาหนึ่ งนัน ขึ้นอยู่
                                   ้
  กับประชาชนผู้เป็ นบริ ษัทบริวารของศาสนา
  นันด้วย
    ้
ศาสนาชิน (Jain) ซึ่งมีคาสอนและวัตร
                                   ํ
ปฏิ บัติ คล้ า ยคลึ ง กับ พุ ท ธศาสนาอยู่ ห ลาย
อย่ า งหลายประการ มี ก ารจัด ตั ง ในสัง คม
                                      ้
ฆราวาส (คนทวไปที่ไม่ใช่นักบวช) ด้วยเหตุนี้
                  ั่
ศาสนาชิ น จึ ง ย ง คงดํา รงสถานะเป็ นศาสนา
                     ั
หนึ่ ง ในประเทศอิ น เดี ย ได้ ต ราบจนทุ ก ว น นี้
                                             ั
ศาสนาพราหมณ์ หรื อ ฮิ นดู ก็ เ ช่ น เดี ย วกัน
กล่าวคือ สงคมฆราวาสกบสงคมนักบวชหาได้
             ั                ั ั
แยกกนไม่ ทงสองเกี่ยวข้องกนอยางแนบแน่น
        ั      ั้                 ั ่
พทธศาสนาเป็นศาสนาที่เกิดในอินเดียศาสนาเดียวที่
 ุ
   ไม่เข้ า ไปข้ องเกี่ ยวกับวัตรปฏิ บติทางสังคม พุทธ
                                      ั
   ศาสนาไม่มี บ ทบ ญ ญ ติเป็ นกิ จ จะล ก ษณะในเรื่อ ง
                         ั ั             ั
   เกี่ ย วก บ การเกิ ด การตาย หรือ การแต่ ง งานของ
             ั
   พุทธศาสนิกชน พุทธศาสนาให้เสรีภาพในกิจกรรม
   เหล่านี้อย่างสมบูรณ์ โดยถือว่าเป็นสิทธิของแต่ละ
   บุคคล
ตัวอย่างที่ เห็นได้ ชดในประวัติศาสตร์ของพุทธ
                     ั
  ศาสนาในอินเดี ยก็คือ มหาเศรษฐี อนาถบิณ
  ฑิก ผู้เป็ นพุทธอุปัฏฐากคนสําคัญแห่ งนครสา
  วตถี ได้ยกธิดาคนหวปีชื่อมหาสุภททา ให้แก่
    ั                   ั           ั
  คหบดี แห่ งเมืองอุคคนครผู้นับถือศาสนาชิน
  (ในภาษาบาลีมีชื่อว่า นิคณฐนาถปตตะ)
                          ั       ุ
ความมี ใ จกว้ า งหรื อ การให้ เ สรี ภ าพแก่ ศ า
สนิกเช่นนี้ ในทศนะของปราชญบางท่าน (เช่น
               ั                   ์
นายนลิ นากฺ ษ ทั ต ต) เห็ น ว่ า แม้ ใ นระยะ
เริ่มแรกแห่ งการก่อตังและเผยแผ่จะเป็ นผลดี
                       ้
แก่ พุท ธศาสนา แต่ ใ นกาลไกลแล้ ว เป็ นโทษ
มากกว่ า เป็ นคุ ณ เพราะทํ า ให้ ว ัต รปฏิ บ ัติ
ของศาสนิกหย่อนยาน เปิดโอกาสให้ผ้มีทศนะ     ู ั
และความเชื่อถือแปลกแยกเข้าไปปะปนและ
  ่ ํ
บอนทาลายเอกภาพ
ในระยะเริ่ ม แรกนั ้น เป็ นการส่ ง เสริ ม ให้
พุทธศาสนา เจริญแพร่หลายไปอย่างรวดเรว               ็
ทั ง นี้ เพราะประชาชนมี ค วามพอใจที่ พุ ท ธ
   ้
ศาสนาให้ เสรีภาพ ไม่แทรกแซงเปลี่ยนแปลง
หรื อเลิ กล้ มจารี ต ประเพณี ที่ ยึ ดถื อปฏิ บติ ก น
                                              ั ั
มาแต่เดิม
พระพทธองคเป็นปัญญาชน เป็นนักคิด พระองค์
    ุ         ์
 มาจากราชตระกูลที่ ดารงอยู่ในจารีตประเพณี
                       ํ
 ตลอดจนความเชื่ อ ถื อ ตามระบบของส ัง คม
 อันมีพราหมณ์ เป็ นผู้นํามาแต่ โบราณกาล ใน
 ฐานะที่ เ ป็ นปั ญ ญาชน นั ก คิ ด พระองค์ ท รง
 สะท้อนพระทยเมอได้
                ั ื่
ทอดพระเนตรเหน “นิ มิต ๔” มี คนแก่ คนเจบ
                 ็                            ็
 คนตาย และนั กบวช อันเป็ นเหตุให้ พระองค์
 ทรงโทมนัสถึงกบตดสินพระทยออกบรรพชา
                    ั ั           ั
 ทังนี้ เพื่อทรงค้ นหาวิธีที่คนเราจะได้ พบอิสระ
   ้
 จากการ เกิด แก่ เจบ ตาย
                      ็
ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ แ ม้ เ มื่ อ ท ร ง บ ร ร พ ช า แ ล้ ว
พระองค์ก็มิได้ ทรงข้องเกี่ ยวกับความเชื่ อถือ
หรื อ จารี ต ประเพณี ข องส ัง คม พระองค์ท รง
ปล่อยให้ ความเชื่อถือหรือวัตรปฏิบตรเหล่านี้     ั
เป็ นไปตามสภาพเดิม พระองค์ทรงมุ่งมันอยู่               ่
กับการค้นหา “สจธรรม” ที่ทาอย่างไรคนเรา
                       ั                 ํ
จะได้ไมต้องเวียนว่ายตายเกิดในสงสารวฏ
          ่                                   ั      ั
ในคํา สอนของพระองค์ที่ มี ป รากฏในพระสู ต ร
  ต่ าง ๆ พระองค์ได้ ทรงห้ ามมิให้ เวไนยยนิกร
  เสียเวลาถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์หรือคาดคะเน
  ในเรื่องที่ไร้ประโยชน์ ไม่นําไปสู่ความหลุดพ้น
  (นิ พพาน) เช่ น ความเห็ น ที่ ยึ ด เอาที่ สุ ด ๑๐
  ประการ (อ ัน ตคาหิ ก ทิ ฏ ฐิ ) ในค ัม ภี ร์ม ช ฌิ ม
                                               ั
  นิกาย เป็นต้น
นายนลิ น ากฺ ษ ทัต ต ปราชญ์ช าวอิน เดี ย ผู้
รจนาตําราหลายเล่มเกี่ยวกบพุทธศาสนาใน
                                   ั
อินเดีย ได้เขียนแสดงความเห็นไว้ว่า การวาง
ตนไม่เข้ าไปแทรกแซงกิจการทางสังคมของ
พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น อิ น เ ดี ย ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก ๆ
โดยเฉพาะในช่ ว งเวลาที่ พ ระพุ ท ธองค์ แ ละ
สานุ ศิ ษ ย์ผู้ป รี ช าญาณของพระองค์ย ง ดํา รงั
พระชนมชีพอย่นัน
          ์         ู ้
เป็นผลดีแก่การเผยแผพทธศาสนาอย่างแน่นอน
                       ่ ุ
   แต่เมื่อกาลเวลาล่วงเลยไป และเมื่อไม่มีพระ
   พุทธองค์ตลอดจนสานุศิษยผ้ปรีชาญาณเป็น
                              ์ ู
   ผู้นําและให้แสงสว่าง ลัทธิความเชื่อตลอดจน
   พิ ธี ก รรมเก่ า ๆ ของพราหมณ์ ซึ่ ง มี ม าแต่
   โบราณกาล จึงกลับฟื้ นคืนชีพขึนอีก
                                  ้
ภายในระยะเวลามิช้ามินานหลัง จากพุทธ
ปรินิพพาน และหลังจากอัครสาวกองค์สาคัญ            ํ
ๆ ผู้เปรื่องปราดได้ ล่วงลับไปแล้ว ประชาชน
ต่ า งก็เ ริ่ ม ลื ม เลื อ นสารัต ถะแห่ ง คํา สอนของ
พระพุ ท ธเจ้ า และต่ า งกลับ ไม่ เ ชื่ อ ถื อ และ
ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต า ม ลั ท ธิ คํ า ส อ น ข อ ง
พระพทธเจ้า แต่ต่างกลบไป
       ุ                       ั
เชื่อถือและประพฤติปฏิบติตามลัทธิคาสอนของ
                             ั        ํ
   พราหมณ์ ซึ่ ง พระพุท ธองค์ท รงค ัด ค้ า นและ
   ต้องการเปลี่ยนแปลงตลอดพระชนมชีพของ    ์
   พระองค์ กล่ า วโดยย่อก็คือ แก่ นแห่ งศาสนา
   พทธ ได้ถกกระพี้แห่งศาสนาพราหมณ์ ปกปิด
     ุ      ู
   หรื อ บด บั ง ไ ว้ อย่ า ง แทบจะ มอง ไ ม่ เ ห็ น
   โดยเฉพาะจากสามัญชนคนธรรมดา
พฤติการณ์ ทํานองเดี ยวกันนี้ ได้ เกิดขึ้นใน
ประเทศอื่ นที่ พุทธศาสนาได้ แผ่ไปถึง เช่ นใน
ประเทศจี น ทิ เบต เนปาล พม่า สยาม ลัง กา
ญี่ ปุ่ น ตลอดจนเกาหลี มองโกเลี ย และ
อินโดนีเซีย ในทุกประเทศที่ได้กล่าวนามมานี้
เ ป็ น ค ว า ม จ ริ ง ที่ พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ด้ เ ข้ า ไ ป
ประดิษฐานอยู่เป็ นเวลาช้านาน ทังได้รบความ้ ั
เทิ ด ทู น ส ัก การะอย่ า งสู ง จากประชาชน แต่ ใ น
  ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น อิ ท ธิ พ ล ข อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม
  ตลอดจนลัทธิความเชื่ อถือ เดิมของท้ องถิ่นก็
  ได้ เ ข้ า ไปผสมผสานปนเปกั บ คํ า สอนอั น
  แท้จริงของพุทธศาสนา อย่างแทบจะแยกกน                ั
      ่
  ไมออก
โดยย่อก็คือ “ปรมตถธรรม” ที่พระโคดมพทธ
                    ั                             ุ
  เจ้าได้ทรงสงสอนไว้ ได้เลือนลางจางหายจน
               ั่
  แทบจะสูญความหมาย ในอินเดีย โดยเฉพาะ
                               ่
  แล้ว ภายในระยะเวลาไมกี่ร้อยปีหลงจากพทธ  ั         ุ
  ศ า ส น า แ ม้ ใ น ถิ่ น ที่ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ค ย
  เจริญร่งเรืองที่สุดมาแล้ว เช่นในรฐพิหาร อตร
         ุ                              ั             ุ
  ประเทศ และเบงกอล กตาม    ็
สาเหตุอีกประการหนึ่ งที่ ทําให้ พุทธศาสนา
เสื่อมอิทธิพลน่าจะได้แก่ ความตกตํ่าทางภมิ     ู
ปัญญาของบุคคลที่ เข้ามาเป็ นสมาชิกในคณะ
ภิกษุสงฆ์ ตราบใดที่คณะสงฆ์มีสมาชิกที่ทรง
ความรู้ความสามารถ เป็นประทีปทางปัญญา
ให้ แ ก่ ป วงชน ตราบนั ้น พุท ธศาสนาก็อ ยู่ ใ น
ฐานะสูงส่ง
มี ร าชามหากษั ต ริ ย์ ต ลอดจนประชาชนคน
   ธรรมดาประกาศตน เป็นสมาชิกมากมาย แต่
   หลังจากพุทธปรินิพพานไม่นานก็ปรากฏตาม
   หลัก ฐานทางประวัติ ศาสตร์ ว่ า ได้ มี ค วาม
   หย่อ นยานเกิดขึ้นทัง ในทางระดับ ภูมิปัญญา
                        ้
   และในวัต รปฏิ บัติ ของสงฆ์ จนต้ อ งมี ก าร
   สังคายนากันเป็ นระยะ ๆ ตลอดมา
ใ น อิ น เ ดี ย ส ม ั ย โ บ ร า ณ มี ก า ร โ ต้ ว า ที
(ศาสตรารฺ ถ ) กัน ในเรื่ อ งของศาสนาที่ เ ป็ น
สาธารณะ โดยเปิดให้ประชาชนทุกลทธิความ           ั
เชื่ อถือเข้าฟั งได้ ผลของการโต้ วาที มีอิทธิพล
ของความเชื่อของคนในยุคนันมาก ปรากฏว่า ้
ในการโต้วาที เหล่านัน ปราชญ์ฝ่ายพราหมณ์ -
                            ้
ฮินดู เช่น ท่ านกุมาริละ และท่ านศังกราจารย์
ลทธิตนตระเป็นวิวฒนาการขนต่อมาของ
      ั ั                ั            ั้
พทธศาสนาฝ่ายมหายาน
   ุ
     เหตุ ก ารณ์ ใ นประวัติ ศาสตร์ ซึ่ ง เกิ ดขึ้ น
มากมายทั ว โลก มี อ าทิ ในประเทศอิ นเดี ย
              ่
อียิปต์ ประเทศจีนยุคกลาง ในตะวันออกกลาง
ยุ โ รป สหร ัฐ อเมริ ก า (ล่ า สุ ด ในญี่ ปุ่ น ได้ แ ก่
กรณี โอมชินริเกียว
Aum Shinrikyo ซึ่งได้สร้างความหายนะ
 ทัง ในชี วิ ต และทรัพ ย์ สิ น แก่ ช าวญี่ ปุ่ นอย่ า ง
    ้
 มหาศาล) ชี้ ให้ เราเห็นว่า ความเชื่ อลัทธิทาง
 ศาสนานั ้ น มี อิ ทธิ พลอย่ า งมากมายต่ อ
 พฤติ ก รรมในชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ พิ ธี ก รรมหรื อ
 วตรปฏิบติ อนเกิดจากความเชื่อทางศาสนา
  ั          ั ั
 มากมายหลายกรณี ซึ่งแรกเริ่มเดิมที เกิดจาก
เป้ าหมายหรื อ ว ัต ถ ุป ระสงค์อ ัน ดี ง าม เป็ นบุ ญ
   กุศล แต่ พอกาลเวลาล่วงเลยไป กิเลสของคน
   กลับแปรเปลี่ ยนให้ พิธีกรรมหรือ วัตรปฏิบติ       ั
   เหล่านัน หันเหไปในทางที่เลวทรามตําช้าสุดที่
          ้                                 ่
   จะพรรณนา กล่าวได้ว่า ตันตระเป็ นลัทธิความ
   เชื่อและวตรปฏิบติที่นํา พทธศาสนาไปส่ความ
              ั      ั       ุ                 ู
   หายนะขันสุดท้ายในประเทศอินเดีย
            ้
ตนตระประกอบด้วยคาสอนหลก ๕ ประการ
    ั                   ํ           ั
ที่ มีชื่อว่า “๕ ม” มี (๑) มทยะ - เหล้า (๒)
                              ั
มางสะ - เนื้ อ (๓) มัต สยะ - ปลา (๔) มุท รา -
ท่าทาง (๕) ไมถุน – การเสพสงวาส  ั
      ผที่เชื่อในหลกคาสอนของตนตระจะต้องใช้
       ู้          ั ํ            ั
“๕ ม” นี้ประกอบ การบชากราบไหว้
                          ู
เพียงเท่านี้ก็น่าจะเพียงพอแล้วสาหรบการที่จะ
                                      ํ ั
  เข้ า ใจว่ า ตั น ตระคื อ อะไร และทํ า ไมพุ ท ธ
  ศาสนาในอิ น เดี ย จึ ง ถึ ง ซึ่ ง กาลอวสานด้ ว ย
  ตนตระ
    ั
สมองของมนุ ษย์ นั ้ น ว่ า กั น ว่ า เป็ นเลิ ศ
ประเสริฐสุดในบรรดาสัตว์ ทุกชนิดที่ มีให้เห็น
ในโลก แต่ ประวัติศาสตร์กมีนิทัศน์ อุทาหรณ์
                             ็
ให้ เ ราต้ อ งยอมรับ และเชื่ อ ว่ า ก็ ส มองของ
มนุษย์นี่แหละที่ได้สร้างความชวช้าสามานย์
                                   ั่
ตลอดจนความพินาศวอดวายที่ เลวร้ายที่ สุด
ให้แก่มนุษย์
    ทุกวนนี้ “ตนตระ” กยงมีให้เหนทว ๆ ไป
         ั      ั        ็ ั           ็ ั่
ตันตระนันหรือคือลัทธิที่สอนให้ คนเชื่อในเวทย์
            ้
  มนต์คาถาอาคม การทรงเจ้าเข้าผี ตลอดจน
  ทุกสิ่งทุกอย่างที่รวมอยู่ในไสยศาสตร์ ไสยเวท
  อ ั น มี กํ า เนิ ดจากค ั ม ภี ร์ อ าถรรพเวทของ
  พราหมณ์ และอยู่นอกเหนื อวิสย ของปุถชน  ั     ุ
  คนธรรมดา
กล่าวได้ว่า ตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๘ จนถึง
                   ้
คริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ ชาวอินเดียทงประเทศซึ่ง
                                 ั้
เดิ ม เคยนั บ ถื อ ศาสนาพราหมณ์ -ฮิ น ดู และ
ศาสนาพุทธ ต่างก็ตกอยู่ในความครอบงําของ
ลัทธิตนตระอย่างไม่ลืมหูลืมตา ทังนี้ ไม่เฉพาะ
         ั                       ้
แต่สามญชนคนธรรมดาเท่านัน หากชนชนสูง
           ั                  ้          ั้
รวมทังชนชันผูปกครองด้วยก็เช่นเดียวกัน
       ้     ้ ้
อิสลามในฐานะเป็นกาลงสาคญทงในทาง
                           ํ ั ํ ั ั้
การเมื อ งและการศาสนา ได้ แ ผ่ เ ข้ า ไปใน
อิ น เดี ย ทางทิ ศ ตะวัน ตกเฉี ย งเหนื อ โดยเริ่ ม
ตงแต่ตอนต้น ของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๑ และ
   ั้
ภายในเวลาไม่กี่ร้อยปี กสามารถครอบครอง
                            ็
ดิ นแดนภาคเหนื อ ภาคกลาง และภาค
ตะวนออกของอินเดียไว้แทบจะทงหมด และ
        ั                            ั้
การที่ อิ สลามเข้ า ไปมี อํ า นาจทางอาณาจัก ร
 และศาสนจกรในอินเดียเป็นเวลาหลายร้อยปี
                ั
 ทํ า ให้ อิ ทธิ พลของว ั ฒ นธรรมอิ สลามแผ่
 กระจาย และคลุมครอบชีวิตของชาวอินเดีย
 อย่างลุ่มลึกและกว้างไกล ซึ่งอิทธิพลนี้ยงมีให้
                                        ั
 เห็ น ตราบจนปั จ จุ บ น โดยเฉพาะในอิ น เดี ย
                       ั
 ภาคเหนื อ
ในส่วนที่เกี่ยวกับพุทธศาสนานัน อาจกล่าว
                                   ้
ได้ว่า การปรากฏตัวของอิสลามเป็ นมรสุมลูก
สุดท้ายที่ กระหนํ่ าให้ “พุทธนาวา” ลํานี้ กอยู่็
ในสภาพ “ชํารุด” เตมประดา ด้วยท้องนาวา
                         ็
ถกแมงกระพรนตนตระกดกิน เป็นรรวนํ้าไหล
  ู              ุ ั        ั        ู ั่
เข้ า ได้ จวนเจี ย นจะพลิ กคว ํ่ า อยู่ แ ล้ ว แต่
“มรสุม”
ลูกสุดท้ ายที่ ทําให้ พุทธศาสนาต้ องพังพินาศไป
  จากแผนดินอินเดียนัน แน่นอน คือ “อิ สลาม”
          ่                ้
  พระลามา “ตารานาถ” ได้บนทึกไว้ในหนังสือ
                               ั
  “ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา” ของท่านว่า
  “บรรดาภิ กษุสงฆเมอถกฆ่าและถกทาร้าย
                       ์ ื่ ู       ู ํ
โดยพวกมุสลิมในศตวรรษที่ ๑๒ ต่ างก็พากัน
หนี ไปยัง ประเทศทิ เบต และประเทศอื่ น ๆ
นอกอิ น เดี ย เมื่ อ ภิ ก ษุ ส งฆ์ ไ ม่ มี เ หลื อ อยู่ ทัง
                                                          ้
โบสถ์วิ ห ารก็ถ ก ทํา ลายลงจนหมดสิ้ น จิ ต ใจ
                     ู
ของพวกฆราวาสพทธมามกะ จึงเป็นธรรมดา
                          ุ
อ ยู่ เ อ ง ที่ จ ะ ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ต า ม
สภาพการณ์ ผลกคือ        ็
พุ ท ธศาสนิ กชนส่ ว นใหญ่ ไ ด้ ส วามิ ภั ก ด์ ิ ต่ อ
   พราหมณ์ ซึ่งมีความสมพนธกนทางเลือดเนื้อ
                        ั ั ์ ั
   และวฒนธรรมอยู่แล้ว พวกที่เหลืออย่กหนไป
           ั                           ู ็ ั
   นั บถือหรือถูกบังคับให้ นับถือศาสนาอิ สลาม
   ซึ่ งมีอานาจทางการเมืองอยู่ในเวลานั น ด้ วย
             ํ                           ้
   ประการฉะนี้ เองที่ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ สู ญ
   หายไปจากอินเดีย ดินแดนที่เกิดของตน”.
ศาสนาพุท ธถื อ อุบ ติ แ ละเจริ ญ รุ่ง เรื อ งใน
                            ั
อินเดีย ปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 12 จึงเริ่ม
เสื่อม และอันตรธานไปจากอินเดี ย ชาวพุทธ
ที่มีอยู่ในอินเดียปัจจุบนทุกวนนี้ เป็นชาวพทธ
                          ั   ั                  ุ
ใหม่ที่ได้รบการชกชวนจาก ดร.บี อาร์ อมเบด
            ั      ั                          ั ็
การ์ เมื่อประมาณซก 60-70 ปี ที่ ผ่านมา
                        ั
เกือบแทบทงหมดทงสิ้น
              ั้     ั้
อ ั ม เบ ็ ด การ์ ถื อ กํ า เนิ ดเกิ ดมาดู โ ลกเมื่ อ 14
    เมษายน พ.ศ.2434 ในครอบครัวของชาว
    ฮินดู ที่ รฐ มหาราช ในชนชันวรรณะศูทร ซึ่ ง
               ั                       ้
    เป็ นวรรณะตํ่าสุดใน 4 วรรณะของอินเดี ย
    แม้ว่ า จะมาจากวรรณะ ศูท รยากจนข้ น แค้ น
    แต่ท่านก็เรียนหนังสือเก่ง ขนาดสอบชิงทุนได้
    ไปเรียนกฎหมายที่องกฤษ และภาย หลังมาจบ
                               ั
ดร.อัม เบ็ด การ์ มี ส่ ว นสํ า คัญ ในการร่ า ง
รัฐ ธรรมนู ญ ของอิ น เดี ย คนอิ น เดี ย ยอมรับ
ท่านมาก ถึงขนาด ประกาศให้เป็น “บิ ดาแห่ ง
รัฐธรรมนู ญอิ นเดี ย”        ท่ านออกบรรยาย
ปราศรัยไปในที่ ต่างๆ เรื่อง รัฐธรรมนูญ เรื่อง
กฎหมาย สุ ด ท้ า ยก่ อ นจบคํ า บรรยายท่ า น
มักจะวกไปเรื่องศาสนา
โดยมักจะ หยอดเรื่องศาสนาพุทธเป็ นของแถม
  วาทะของท่านที่สาคัญซึ่งทุกคนยังจํากันได้ดีก็
                       ํ
  คือ I was born as a Hindu but
  I will not die Hindu.“ข้าพเจ้าถือ
  กํา เนิ ดเกิ ด มาเป็ นคนฮิ น ดู แต่ ข้ า พเจ้ า จะไม่
  ตายอย่างฮินด”    ู
ดร.อมเบดการประกาศว่าจะเปลี่ยนศาสนา
          ั ็          ์
เป็นพทธตงแต่ พ.ศ.2478 แต่กไม่ได้เปลี่ยน
        ุ ั้                          ็
จน กระทง วนที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2499 ท่าน
            ั่ ั
นํ าผู้ ค น เชื่ อถื อ ศร ั ท ธาท่ านจ ํ า นวนกว่ า
400,000 คน ทําการเปลี่ยน ศาสนาครัง                ้
ใหญ่ ที่คนอินเดียเรียกว่า the massive
religious con versionเปลี่ยน จาก
ฮิ น ดู ม า เ ข้ า พุ ท ธ ที่ เ มื อ ง น า ค ปู ร์
นับถือพุทธได้ไม่ทนถึง 2
                  ั           เดือน ดร.อมเบด
                                          ั ็
 การ์ก็จากโลกนี้ ไปเมื่อวันที่ 6     ธันวาคม
 พ.ศ.2499 ตงแต่นันเป็นต้นมา กยงมีฮินดู
                ั้     ้              ็ ั
 ค่ อ ย ๆ ท ย อ ย เ ข้ า ม า อ า ศ ั ย ใ ต้ ร่ ม
 พระพุทธศาสนาอยู่บ้างแต่ ไม่มาก โบสถ์ฮินดู
 ในรฐทมิฬนาฑูทางภาคใต้หลายแห่ง
     ั
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

Contenu connexe

Tendances

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียPadvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Tendances (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 

En vedette

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
United Arab Emirates
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates
United Arab EmiratesOksana Lomaga
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn senchaRahul Kumar
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Let your light shine
Let your light shineLet your light shine
Let your light shineAdrian Buban
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Pierre Ringborg
 
Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sinsAdrian Buban
 
The stubborn heart
The stubborn heartThe stubborn heart
The stubborn heartAdrian Buban
 
Three dangerous sins part 2
Three dangerous sins   part 2Three dangerous sins   part 2
Three dangerous sins part 2Adrian Buban
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) William GOURG
 

En vedette (20)

เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
 
หลักการเรียงบทกิริยา
หลักการเรียงบทกิริยาหลักการเรียงบทกิริยา
หลักการเรียงบทกิริยา
 
หลักการเรียงบทวิเสสนะ
หลักการเรียงบทวิเสสนะหลักการเรียงบทวิเสสนะ
หลักการเรียงบทวิเสสนะ
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
United Arab Emirates
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates
United Arab Emirates
 
A wise builder
A wise builderA wise builder
A wise builder
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
Let your light shine
Let your light shineLet your light shine
Let your light shine
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
 
Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sins
 
The stubborn heart
The stubborn heartThe stubborn heart
The stubborn heart
 
Three dangerous sins part 2
Three dangerous sins   part 2Three dangerous sins   part 2
Three dangerous sins part 2
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
 

Similaire à พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์NisachonKhaoprom
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
เวียดนาม 03
เวียดนาม 03เวียดนาม 03
เวียดนาม 03Savage Tappreeda
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 

Similaire à พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
เวียดนาม 03
เวียดนาม 03เวียดนาม 03
เวียดนาม 03
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย

  • 1. พระพุ ท ธศาสนาได้ อุ บ ัติ ขึ้ น ท่ า มกลางสัง คม อินเดียที มีความหลากหลายด้านความเชื่อ ศาสนา ลัทธิต่าง ๆ ที่ อุบติขึ้นก่ อนพระพุทธศาสนา และที่ ั เกิดขึนไล่เลี่ยกัน ตลอดจนลัทธิที่เกิดขึนมาภายหลัง ้ ้ อีกมากมาย แม้ว่าพระพุทธศาสนาจะเกิดขึ้นมาใน ดิ นแดนชมพู ท วี ป หรื อ อิ นเดี ย เหมื อ นกั บ ลัท ธิ ศาสนาต่าง ๆ เหล่านัน แต่พทธ ้ ุ
  • 2. ศาสนามี ล ัก ษณะพิ เ ศษที่ แ ตกต่ า งจากล ัท ธิ ศาสนาต่าง ๆ ได้แก่การอุบติขึ้นมาพร้อมกบ ั ั การปฏิ รู ป สั ง คมอิ นเดี ย เสี ย ใหม่ คื อ พุ ท ธ ศาสนาได้เสนอหลกทฤษฎีใหม่ ซึ่งหกล้างกบ ั ั ั ความเชื่ อ ด ั ง เดิ มของชาวอิ นเดี ย ไปมาก ้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หล ัก การที่ แ ตกต่ า งจาก ศาสนาพราหมณ์โดยสิ้นเชิง
  • 3. พุท ธศาสนาเคยได้ เ จริ ญ รุ่ง เรือ งในอินเดี ย มาก่ อ น ย่อมจะทําให้ สงคมอินเดี ยได้รบอิทธิพลด้านความคิด ั ั ความเชื่ อ จากพระพุ ท ธศาสนาอย่ า งแน่ นอน เมื่ อ ความคิ ด ความเชื่ อ หรื อ ทัศ นคติ ข องคนอิ น เดี ย เป็ น อย่างไร ก็ย่อมส่งผลให้สงคมเป็ นไปอย่างนันด้วย แม้ว่า ั ้ ปั จ จุบ น นี้ จ ะเหลื อ แต่ ภ าพเก่ า ๆ ของพุท ธศาสนาใน ั ความทรงจ ํา ของผู้ค น หรื อ อาจจะลื ม ไปแล้ ว ก็ต าม สาหรบคนอินเดีย แต่อิทธิพลของของพทธศาสนาที่เคย ํ ั ุ มีบทบาทต่อสงคมอินเดียนัน ยงปรากฏอยู่ ทงในอดีต ั ้ ั ั้ และ
  • 4. ปั จ จุ บ น อิ ท ธิ พ ลของพระพุท ธศาสนาในครัง ั ้ พุท ธกาล หลัง จากที่ พ ระพุท ธองค์ท รงตรัส รู้ อนุ ต ตรสัม มาสัม โพธิ ญ าณแล้ ว ภารกิ จ อัน ยิ่งใหญ่ของพระพทธองคคือ การชี้นําแนวทาง ุ ์ ดําเนินชีวิตที่ถกต้องแก่มวลประชากร เพื่อ ู
  • 5. ความสุ ข สงบแก่ ชี วิ ตและสั ง คมแม้ ว่ า จะ ยากลําบากเพียงใดก็ตาม พระองค์ใช้เวลาที่ มี อยู่ตลอดพระชนม์ชีพ ๔๕ พรรษา เผยแผ่ ห ลัก ธรรมคํา สัง สอนจนพุท ธ ่ ศาสนาแพร่หลายในแคว้นต่าง ๆ มีประชาชน ศรทธาเลื่อมใสและอทิศตนเป็นพทธสาวก นับ ั ุ ุ ถือพระพทธศาสนาจานวนมากมาย ุ ํ
  • 6. พระพุทธองค์มิได้จากัดบุคคลในการเทศน์ สอน ํ ว่าเป็ นชนชันวรรณะใด เพศใด อาชีพใด หรืออายุ ้ วัยใด ทรงแสดงธรรมแก่บคคลทุกระดับ ไม่จากัด ุ ํ ขอบเขต หากเขามีความสามารถที่จะรบร้ธรรมได้ ั ู ก็ทรงให้โอกาสเสมอ จนมีพทธศาสนิกชนทุกระดับ ุ พุทธธรรมได้แทรกซึมอยู่ในบุคคลทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกสาขาอาชีพ สิทธิเสรีภาพของบคคลได้ถกเปิด ุ ู
  • 7. ออกโดยหลั ก การของพุ ท ธศาสนา เพราะ เมื่ อ ก่ อ นได้ ถ ก ครอบง ํา ปิ ดก ัน สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ ู ้ โดยความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ ประชาชน ส่วนมากได้รบอิทธิพลจากพุทธศาสนาในการ ั ดํา เนิ นชี วิ ต เช่ น การมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งกรรม แทนความเชื่ อเรื่องพระพรหมลิขิต การถวาย ทาน การปฏิบติตามศีล ๕ ศีล ๘ เป็นต้น ั
  • 8. พระราชาผู้ปกครองแว่นแคว้นก็ทรงปกครอง โดยทศพิธราชธรรม ดงปรากฏว่ามีพระราชาหลาย ั พระองค์ที่ทรงเป็ นพุทธสาวก เช่นพระเจ้าพิมพิสาร แห่งแคว้นมคธ พระเจ้าปเสนทิโกศล พระราชาแห่ง แคว้นโกศล เป็ นต้ น ทรงเป็ นพุทธมามกะ และได้ ปกครองบ้านเมืองด้วยหลกธรรมทางพทธศาสนา ั ุ ทรงอุ ป ถั ม ภ์ พุ ท ธศาสนา ด้ ว ยการทนุ บํ า รุ ง พระภิกษุสงฆ์
  • 9. มี พระพุท ธเจ้ า เป็ นประธาน และได้ ส ร้ า งวัด วา อารามต่ า ง ๆ ถวายแก่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ด้ ว ย ภายหลงพทธปรินิพพาน พระพทธศาสนาได้มี ั ุ ุ ความเจริญรุ่งเรืองไปในแคว้นต่าง ๆ มีนิกาย ต่าง ๆ เกิดขึ้นทําให้พุทธศาสนาแพร่หลายไป พร้ อ มก ั บ ความเสื่ อ มที่ ตามมาก ั บ ความ แพร่หลายนันเอง ด้วยเหตผลหลาย ่ ุ
  • 10. ประการที่ทาให้พระพทธศาสนาเสื่อมจากอินเดีย ํ ุ พระพุท ธศาสนาได้ เ จริญ รุ่ง เรื องมาตัง แต่ ้ ครังพุทธกาล จนถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ ้ ๑๑ ตงแต่บดนันมาพระพทธศาสนากได้เสื่อม ั้ ั ้ ุ ็ จากอินเดี ย โดยถูกครอบงําจากอิทธิพลของ ศาสนาฮิ น ดู ระยะกาลอัน ยาวนานของพุท ธ ศาสนาที่มีต่อวิถีชีวิตคนอินเดียกว่า ๑ พันปี
  • 11. พุท ธศาสนามี บ ทบาทต่ อ สัง คมอิ น เดี ย ในสมัย ต่าง ๆ ดังนี้ เมื่ อ พุท ธศตวรรษที่ ๒ ในร ช สม ย ของพระเจ้ า ั ั อโศกมหาราช ทรงศรัทธาเลื่ อมใสในพุทธศาสนา เถรวาทมาก ทรงทํา นุ บ า รุง พระพุท ธศาสนาและ ํ ปกครองบ้านเมืองให้ สงบร่มเย็น ประชาชนอยู่กน ั อย่ า งสงบสุ ข บทบาทสํ า คัญ ของพระเจ้ า อโศก มหาราชที่ มีต่อพระพุทธศาสนาคือทรงอุปถัมภ์การ
  • 12. ส ัง คายนาพระธรรมวิ นั ย คร ง ที่ ๓ ขจ ด ภ ย ร้ า ย ั้ ั ั ของพระพุ ท ธศาสนาด้ วยการขจั ด พวก เดียรถียปลอมบวช และส่งพระสมณทูตไปเผย ์ แผ่ พุ ท ธศาสนา ในดิ น แดนประเทศต่ า ง ๆ รวมถึง ๙ สายด้วยกันประมาณพุทธศตวรรษ ที่ ๙ - ๑๑ ราชวงศคปตะทางอินเดีย ์ ุ
  • 13. ตอนเหนื อเจริญรุ่งเรือง ในสมัยราชวงศ์นี้ได้ชื่อ ว่ า เ ป็ น ยุ ค ท อ ง ท า ง ศ า ส น า ว ร ร ณ ค ดี ศิลปกรรม และปรัชญา แม้ว่าพระเจ้าแผ่นดิน ในราชวงศ์นี้จะเป็ นฮินดูส่วนมาก
  • 14. แต่ก็ทรงอุปถมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนาเป็น ั อ ย่ า ง ดี โ ด ย เ ฉ พ า ะ ฝ่ า ย ม ห า ย า น จ น เจริญร่งเรืองไปสู่ประเทศใกล้เคียง กษตริยที่มี ุ ั ์ บทบาทสาคญได้แก่ พระเจ้าจนทรคุปต์ พระ ํ ั ั เจ้ า สมุ ท รคุป ต์ พระเจ้ า วิ ษ ณุ คุ ป ต์ และพระ เจ้าสกนธคปต์ ั ุ
  • 15. ในยุคนี้ พระพุทธศาสนาฝ่ ายมหายานได้ รจนา คมภีรขึนมากมาย ด้านศิลปกรรมทางพทธศาสนามี ั ์ ้ ุ ความเจริ ญรุ่ ง เรื อ งอย่ า งมาก เช่ น ศาสนสถาน และศาสนวตถ ุ ได้สร้างขึ้นอย่างงดงาม พระพทธรป ั ุ ู ศิ ลปะสมัย คุ ป ตะมี ห ลายขนาด หลายปาง แม้ พระพุท ธรูปสมัย ทวาราวดี ก็ไ ด้ ร บ อิ ท ธิ พ ลมาจาก ั ศิลปะสมยคปตะ ั ุ
  • 16. ส่ ว นด้ า นปรั ช ญา ได้ มี นั ก ปรั ช ญาทางพุ ท ธ ศาสนาหลายท่ า น เช่ น ท่ า นนาคารชุ น ท่ า นอส ั ง คะ และท่ านวสุ พ ั น ธ์ ท่ านเหล่ า นี้ ประกาศ พุ ท ธปรั ช ญาให้ เ ป็ นที่ สนในแก่ ประชาชน โดยเฉพาะนั ก คิ ดนั ก ปร ั ช ญา ทัง หลาย แม้ ว่ า จะเป็นปร ช ญาฝ่ ายมหายาน ้ ั แต่ ก็ได้ มีอิทธิพลต่ อความคิด ความเชื่ อของ
  • 17. ในด้ า นการศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา ราว พ.ศ. ๑๐๐๐ การศึกษาทางพุทธศาสนาได้ก้าวหน้า ไปมาก ถึง กับขยายการจัดการศึ กษาไปเป็ น รูปแบบมหาวิทยาลย จึงได้เกิดมหาวิทยาลย ั ั แห่ งแรกในโลกขึ้น คือมหาวิทยาลัยนาลันทา และมหาวิ ทยาลัย อื่ น ๆ ขยายตามมาอี ก กระจายอย่ในอินเดียตอนเหนือ ู
  • 18. มหาวิทยาลัยนาลันทามีคณาจารย์สงสอนธรรม ั่ มีถึง ๑๕๐๐ ท่าน นักศึกษาจานวนนับหมื่น มีทงชาว ํ ั้ อินเดีย และชาวต่างชาติ เช่น จีน ธิเบต อินโดนีเซีย เตอร์กี ทัง บรรพชิ ต และคฤหัส ถ์ ทัง ฝ่ ายมหายาน ้ ้ แ ล ะ เ ถ ร ว า ท แ ล ะ ศ า ส น า อื่ น ๆ ก า ร ศึ ก ษ า พระพทธศาสนาจึงเป็นไปอย่างกว้างขวาง ุ
  • 19. พ.ศ. ๑๑๐๐ พระเจ้าหรรษวรรธนะ (พระเจ้าศีลา ทิตย) ราชวงศ์วรรธนะ แห่งวรรณะแพศย์ ได้ ์ กํ า จ ั ด อํ า นาจราชวงศ์ คุ ป ตะแห่ งวรรณะ พราหมณ์ลงได้ และขึ้นครองราชเป็นมหาราช ที่ยิ่งใหญ่ ทรงเลื่อมใสในพทธศาสนามหายาน ุ ได้ทานุบารงพระพทธศาสนา ํ ํ ุ ุ
  • 20. และอุปถัมภ์บารุงมหาวิทยาลัยนาลันทาด้วย จน ํ ทํา ให้ ช าวฮิ น ดูข ด เคื อ งว่ า บ า รุง พุท ธศาสนา ั ํ มากกว่าฮินดู จึงวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้า หรรษะจนสําเร็จ
  • 21. ในยุคนี้ ได้มีพระภิกษุชาวจีนท่านหนึ่ งชื่อหลวงจีน เหี้ ย นจ ัง หรื อ ยวนฉาง (พระถ ัง ซัม จ ั ๋ง) ได้ จ าริ ก สู่ ชมพูทวี ป นอกจากท่ านมาศึ กษาพระพุทธศาสนา และแปลพระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาจี น เพื่ อ นํ า ไปยัง ประเทศจีนแล้ว ท่านยงได้เขียนจดหมายเหตุไว้เพื่อ ั บัน ทึ ก เรื่ อ งราวและสภาพของสั ง คมด้ า นพุ ท ธ ศาสนาไว้มากมาย ซึ่ งเป็ นประโยชน์ ต่อการศึ กษา พระพุทธศาสนาในภายหลัง
  • 22. หลังจากพระเจ้าศี ลาทิ ตย์สวรรคตแล้ว อินเดี ย ได้เข้าส่ความระสาระสายเป็นเวลาประมาณ ๑ ู ํ่ ศตวรรษ พระพุท ธศาสนาได้ เ ส่ื อ มถอยจาก อิ นเดี ย ตามลํ า ดั บ นั บ ตั ้ง แต่ ห ลั ง ราชวงศ์ วรรธนะ (พระเจ้ าศี ลาทิตย์ ) ด้ วยสาเหตุม า จากปัจจยทงภายในและภายนอกคือ ั ั้
  • 23. ๑) ปั จ จัย ภายใน ได้ แ ก่ ค วามอ่ อ นแอ ความ แตกแยก ขาดความเป็ นปึ กแผ่ น ของคณะสงฆ์ ประกอบกบการรบเอาลทธิตนตระของพราหมณ์มา ั ั ั ั ปฏิบติ เกิดเป็นนิกายใหมเรียกว่านิกายพทธตนตระ ั ่ ุ ั ซึ่งขดกบหลกการเดิมของพทธศาสนาอย่างรนแรง ั ั ั ุ ุ
  • 24. ๒) ปัจจยภายนอก ได้แก่ความระสาระสายของ ั ํ่ บ้านเมือง อันเนื่ องมาจากการคุกคามจากชน ชาติอื่น จนแตกแยกเป็นรฐน้อยใหญ่ และการ ั คุกคามจากศาสนาอื่น เช่น ศาสนาฮินดูและ ศาสนาอิสลาม
  • 25. ขาดผู้อุ ป ถ ัม ภ์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง คื อ กษั ต ริ ย์ ผู้ ป กครองบ้ า นเมื อ ง เมื่ อ กษั ต ริ ย์ ที่ นั บ ถื อ ศาสนาอื่นแล้วไม่ทรงอุปถัมภ์พทธศาสนาแล้ว ุ ก็จะทําให้พทธศาสนาไม่อาจมันคงถาวรได้ ุ ่
  • 26. เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๐๐ สงคมอินเดียกาลงอยู่ใน ั ํ ั ความอ่อนแอ กองทพเตอรกมุสลิมได้เข้ามารกราน ั ์ ุ อิ น เดี ย ทํา ลายล้ า งพุท ธศาสนาที่ มี อ ยู่ ใ นอิ น เดี ย อย่างราบคาบ ได้ฆ่าพระสงฆ์ เผาคัมภีร์ ทําลายศา สนสถาน เช่น วดวาอาราม มหาวิทยาลยนาลนทา ั ั ั เผาตาราทิ้งจนไม่มีเหลือ พระสงฆ์บางส่วนที่หนีทน ํ ั ได้ลี้ภยไปอย่ที่เนปาล และธิเบต ั ู
  • 27. พระพุทธศาสนาได้ สูญสิ้น ไปจากอิน เดี ย ตังแต่ ้ บด นั ้น มา ระยะกาลยาวนานกว่ า ๑ พน ปี ที่ ั ั พุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองในอินเดีย และได้ สูญสิ้นไปจากอินเดียโดยสิ้นเชิง ที่ ยงเหลืออยู่ ั ก็มี เ พี ย งประชากรเพี ย งน้ อยนิ ด ไม่ ถึ ง ๑% ของประชากรทังหมดของอินเดีย และคนที่ ยง ้ ั นับถือพุทธศาสนาอยู่ในปั จจุบนนี้ ส่วนมากก็ ั
  • 28. มูลเหตุสาคญในอนที่จะส่งเสริมให้ศาสนา ํ ั ั ใดศาสนาหนึ่ ง เจริญรุ่งเรือง บรรลุความสําเร็จ เป็นที่ยอมรบนับถือของประชาชนทวไปได้นัน ั ั่ ้ อยู่ที่เนื้ อหาสาระอันเป็ นคุณสมบัติประจําของ ศาสนานั ้ น ๆ หากนี้ เป็ นหล ั ก เกณฑ์ แ ห่ ง ความสาเรจของศาสนาแล้วไซร้ ํ ็
  • 29. กต้องยอมรบว่า พทธศาสนาเป็นศาสนาที่ ็ ั ุ เพียบพร้อมด้วยเนื้อหาสาระ หรือคณสมบติ ุ ั ดงกล่าว อย่างสมบรณ์ที่สด ั ู ุ
  • 30. ในศตวรรษที่ ๖ และที่ ๕ ก่อนคริสต์ศกราช ั นั น ในทวี ปเอเชี ยและยุโรป มีการตื่ นตัวทาง ้ ความคิดด้านศาสนาและปรัชญา อันเป็ นการ ตื่ นตัวจากความเชื่ อถือทางพหุเทวนิ ยมไปสู่ เอกเทวนิยม หรืออีกนัยหนึ่งจากความเชื่อถือ ดิ บ ๆ แบบดัง เดิ ม ไปสู่ค วามเชื่ อ ถื อ ที่ ลุ่ ม ลึ ก ้ ละเมียดละไม ดงตวอย่างเช่น ในประเทศจีนมี ั ั เล่าจือ (เกิ ดปี ๕๗๐ ก่อน ค.ศ.) ้
  • 31. และขงจื้ อ (ถึ ง แก่ ก รรมปี ๔๗๐ ก่ อ น ค.ศ.) ใน ประเทศเปอร์ เ ชี ย (อิ หร่ า นในปั จ จุ บ ัน ) มี ศาสดาโซโรอาสเตอร์ (ศตวรรษที่ ๖ ก่ อ น ค.ศ.) ในประเทศกรีซมีโสเครติด (ถึงแก่กรรม ด้ ว ยยาเมื่ อ ปี ๓๙๙ ก่ อ น ค.ศ.) และเปลโต (๔๒๗-๓๔๗ ก่อน ค.ศ.) และในประเทศอินเดีย ก็มี ศ าสดามหาวี ร ะและพระพุท ธเจ้ า (๕๖๓-
  • 32. ในประเทศอินเดีย นอกจากเจ้าสานักหลาย ํ ท่าน ดังมีข้อความระบุถึงในมหากาพย์ภารตะ และมหากาพย์รามายณะ ตลอดจนในคัมภี ร์ อปนิษทแล้ว กยงมีเจ้าสานักอื่นอีกบางท่านซึ่ง ุ ั ็ ั ํ พระพทธเจ้าทรงวิพากษ์ครงแล้วครงเล่าอีกว่า ุ ั้ ั้ ดํา เนิ นการสอนที่ ไ ม่นํ า ไปสู่วิ มุต ติ อัน ได้ แ ก่ การหลุดพ้น (จากการเวียนเกิดเวียนตาย)
  • 33. อาจกล่ า วได้ ว่ า อิ น เดี ย ในยุ ค นั ้น เต็ ม ไปด้ ว ย ค ว า ม คิ ด ที่ ส ั บ ส น ข ั ด แ ย้ ง ค ล้ า ย ก ั บ ว่ า ปัญญาชนคนมีความรู้ทงประเทศ หมกมุ่นอยู่ ั้ กับ การแสวงหาสัจ ธรรม โดยหลงลื มการหา ประโยชน์ส่วนตวเสียสิ้น จานวนฤๅษีมุนีและ ั ํ ปริพาชก (นักบวชผ้ชายนอกพระพทธศาสนา) ู ุ นัน มีมากมาย อนเป็นสญญาณแสดงว่าการ ้ ั ั
  • 34. ดินแดนภารตะทัง ประเทศในสมัยนั น เร่ า ้ ้ ร้อนไปด้วยความเคลื่อนไหวทางพุทธิปัญญา ด้วยเหตนี้ จึงเป็นเวลาที่เหมาะสมยิ่งที่นักคิดผู้ ุ ปรี ช าสามารถเช่ น พระโคดมพุ ท ธเจ้ า ผู้ไ ด้ ศึ ก ษานานาล ัท ธิ คํา สอนซึ่ ง มี อ ยู่ ใ นสม ย นั ้น ั อย่ า งเชี่ ย วชาญทะลุ ป รุ โ ปร่ ง จะได้ อ อกมา ประกาศประสบการณ์ คาสอน ซึ่ งพระองค์ได้ ํ ทรงพิจารณาแล้วเห็นว่า ถกต้องถ่องแท้และ ู สมเหตุสมผลเป็นที่สุด พระองคได้ทรงวิพากษ์ ์
  • 35. ๑. คําอวดอ้ างอัน ไม่ส มควรและไร้ เหตุผ ลของ พราหมณ์ ๒. ประสิทธิภาพการบูชายญด้วยชีวิตสตว์ ั ั เพื่ อ สร้ า งความพอใจให้ แ ก่ ท วยเทพ และ บันดาลความผาสุกแก่มวลมนุษย์ ๓ . อ ภิ สิ ท ธ์ ิ แ ล ะ ค ว า ม เ ค ร่ ง ค รั ด ใ น ชี วิ ตประจํ า วัน โดยปราศจากเหตุ ผ ลของ
  • 36. คํ า สอนเชิ งวิ พากษ์ แ ละการโจมตี ของ พระพุทธเจ้า คงจะเป็ นที่ พอใจของคนจํานวน หนึ่ ง ซึ่ ง ไม่เห็นด้ วยกับ ระบบสัง คมในยุค นั น ้ ในสายตาของประชาชนเหล่านี้ พระพุทธองค์ คือวี รบุรุษของนั กคิดใหม่ ผู้เปิดเผยความไม่ ถกต้องของระบบศาสนา ที่เป็นพนธนาการรด ู ั ั ตรึงพวกเขามาเป็นเวลานับได้ร้อย ๆ ปี
  • 37. คํา สอนของพระพุท ธเจ้ า ที่ ว่ า “จงเป็ นที่ พึ่ ง แก่ ตนเอง” (อตฺตที โป อตฺตสรโณ อน�ฺรโณ) ส เป็นการเปิดตาให้แสงสว่างแก่คนเป็นจานวน ํ มาก พระองคได้ทรงสอนว่า มนุษยทุกคนเป็น ์ ์ ผลแห่งกระทํา (กรรม) ของตนเอง การกราบ ไหว้วิงวอนพระเจ้าหรือแม้แต่พระพทธเจ้า จะ ุ ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ใด ๆ ทังสิ้น ้
  • 38. พระองคทรงสอนว่าพราหมณ์หรือพระภิกษุ ์ เป็นแต่เพียงผนําทางจิตวิญญาณเท่านัน หาใช่ ู้ ้ เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษยกบความหลุดพ้น ์ ั ไม่ วิมุตติภาพหรือการหลุดพ้นจากสงสารวฏ ั ั (การเวียนเกิดเวียนตาย) ขึ้นอยู่กบความเพียร ั พยายามและความร้แจ้งของแต่ละบุคคล มิใช่ ู ขึ้นกับผู้ยิ่งใหญ่ ใด ๆ มิใช่ ขึ้น กับครู อาจารย์ เทพเจ้าหรือแม้แต่พระพุทธเจ้า พระองค์ทรง สอนว่า “จงพากเพียรเพื่อความหลุดพ้นของ
  • 39. เริ่มแรกพระพทธเจ้าทรงสอนสานุศิษยของ ุ ์ พระองค์ซึ่งถกครอบงาด้วยอวิชชา คือความ ู ํ ไม่รู้ มิให้ลุ่มหลงเสียเวลาด้วยการถกเถียงถึง ปั ญหาที่ ไร้ประโยชน์ เช่ น คนเรามาจากไหน ตายแล้วจะไปยงที่ใด ฯลฯ ทว่า พระองค์ทรง ั สอนให้ ทุ ก คนตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า แห่ ง ความ บริสทธ์ ิ ทางกาย ุ
  • 40. วาจา และใจ หรืออีกนัยหนึ่งคือ ให้ตระหนักถึง คณค่าแห่งศีล สมาธิ และปัญญา พระองคทรง ุ ์ ยําถึงประโยชน์ แห่ งการศึกษาและภาวนา อัน ้ จะนํ าไปสู่การรู้แจ้งแห่ งสภาวะอันแท้ จริงของ ธรรมชาติ ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
  • 41. คํา สอนของพระพุท ธองค์ที่ มี ชื่ อ ในภาษา บาลีว่า “ปฏิ จฺจสมุปบาท” (กฎแห่ งธรรมที่ ฺ ต้ อ งอาศัย กัน เกิ ดขึ้ น ) เป็ นที่ ป ระทั บ ใจแก่ ปัญญาชน เช่น พระสารีบุตร พระโมคคลลานะ ั และปั ญ ญาชนทุ ก เพศทุ ก วั ย จํ า นวนมาก ปฏิจจสมุปบาทสอนให้ร้ว่า สิ่งทังหลายในโลก ู ้ อาศยกนและกนจึงเกิดมีขึ้น ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้น ั ั ั โดยตัวของมันเอง และไม่มีสิ่งใดที่มีคณสมบัติุ ถาวรโดย
  • 42. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในตัวของมัน (อนัตตา) ทุก สิ่งทุกอย่างอยู่ในสภาพไหลเลื่อนแปรเปลี่ยน อยู่ทุกขณะและตลอดเวลา นิพพานเท่ านั นที่ ้ ไ ม่ มี ก า ร แ ป ร เ ป ลี่ ย น ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ ก ั บ ก ฎ แห่งปฏิจจสมุปบาท (อปฏิ จฺจสมุปปนฺน) ไม่มี ฺ การปรุงแต่ง (อสงขตะ) ไม่มีการเกิด (อชาติ ) ั ่ ไมมีการเสื่อมสลายหรือตาย (อมต)
  • 43. มนุษยจะร้แจ้งในสจจะนี้ได้ด้วยตนเองและ ์ ู ั เฉพาะตัว ไม่มีผ้ใดอื่นจะสามารถช่วยให้ เขารู้ ู แจ้งได้ อี กทังมนุ ษย์จะบรรลุสจจะนี้ ได้ ก็ด้วย ้ ั การประพฤติ ดี ป ฏิ บ ติ ช อบตามคํา สอนแห่ ง ั อริ ย สัจ ๔ และมรรค ๘ กล่ า วโดยย่ อ ก็ คื อ มนุษย์ต้องมีความสมบูรณ์ในเรื่องศีล สมาธิ แ ล ะ ปั ญ ญ า จึ ง จ ะ มี ด ว ง ต า เ ห็ น ธ ร ร ม (ธรรมจักษุ)
  • 44. พระพุ ท ธองค์ มิ ไ ด้ ท รงแตะต้ อ งความเชื่ อ ถื อ ของ พราหมณ์ ซึ่งมีมาแต่ โบราณกาล เป็ นต้ นว่า ความ เชื่ อ ถื อ ในเรื่ อ งพระพรหมผู้ส ร้ า งโลก ฯลฯ แต่ พระองค์ ท รงยํ้ า ว่ า ความรู้ ห รื อ ความเชื่ อ ถื อ ประเภทนี้ ไม่ อํา นวยประโยชน์ อ น ใดในการที่ จ ะ ั ช่วยให้คนพ้นทุกข์อนเนื่ องมาจากการเกิด แก่ เจ็บ ั ตาย (สังสารวัฏ) พระองค์ทรง
  • 45. สอนว่าสจจะหรือความจริงเป็นสิ่งที่ภาษามนุษย์ ั ไม่สามารถจะให้ อรรถาธิบายได้ เพราะฉะนัน้ สถานบท (Premise) ใด ๆ ใน ตรรกศาสตร์ (Logic) จึงไม่สามารถจะ นํามาใช้กบสัจจะได้ ั พระธรรมคําสอนของพระพุท ธองค์เป็ นที่ จับจิตจับใจปัญญาชนชาวชมพูทวีปในสมัยนัน ้ มาก
  • 46. มูล เหตุ ประการที่ ส อง ซึ่ ง ส่ ง เสริ ม ให้ พุท ธ ศาสนาเจริ ญ และแผ่ไ พศาลไปอย่ า งรวดเร็ว ได้แก่ บุคลิกภาพของพระองค์และเหล่าสาวก ความทั น สมัย และสมเหตุ ส มผลของพุ ท ธ ศาสนา เป็นที่ดึงดดความสนใจของปัญญาชน ู ในสมัยนัน ซึ่ งส่วนใหญ่เป็ นชนที่ มีชื่อเสียงใน ้ วรรณะพราหมณ์และวรรณะกษตริย์ เช่น พระ ั
  • 47. พระมหากัสสปะ พระมหากัจจายนะ และอื่ น ๆ อีกเป็ นจํานวนมาก บ ร ร ด า ส า ว ก ผู้ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม รู้ ความสามารถ อีกทังมีบุคลิกภาพและจริยวัตร ้ ดี เด่ นดังกล่าวมานี้ เป็ นกําลังสําคัญที่ ช่วยให้ พุทธศาสนาหยังรากลึ ก และเผยแผ่ไปอย่า ง ่ กว้างไกลในดินแดนชมพูทวีป
  • 48. สาวกของพระพทธองค์ ต่างกเชยวชาญใน ุ ็ ่ี วชาการต่าง ๆ ทางพทธศาสตร์ เชน ิ ุ ่ พระสารีบุตร ได้รบการยกย่องเป็ นธรรม ั ี ั เสนาบดี มปญญามาก เป็นอครสาวกฝายขวา ั ่ และเป็นกาลงสาคญในการประกาศพระศาสนา ํ ั ํ ั พระโมคคลลานะ ไดรบการยกยองเป็น ั ้ั ่ เอตทคคะในทางมฤทธิ ์มาก ั ี พระมหากัสสปะ เป็ นผูมปฏิปทามักน้อย ้ ี สนโดษ ไดรบการยกยอง ั ้ั ่
  • 49. เป็ นเอตทัคคะในทางถือธุดงค์ (องค์คุณเครื่อง กาจดกิเลส) หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน ํ ั พระมหากั ส สปะได้ เป็ นผู้ ริ เริ่ มและเป็ น ประธานในปฐมสงคายนา (การประชุมตรวจ ั ชํา ระสอบทาน และจ ัด หมวดหมู่ คํา ส ัง สอน ่ ของพระพุทธเจ้า)
  • 50. พระมหากั จ จายนะ ได้ ร ั บ การยกย่ อ งเป็ น เอตทคคะในทางขยายความคาย่อให้พิสดาร ั ํ ว่ากันว่าพระมหากัจจายนะมีรูปร่างสวยงาม ผิวพรรณดังทองคํา
  • 51. พระสาวกของพระพุทธเจ้ าที่ ได้ กล่าวนาม มานี้ ต่ างได้ อุทิศสติปัญญาความสามารถใน การเผยแผ่ พุท ธธรรม และได้ ดึ ง ดูด สาธุ ช น จํา นวนมากในวรรณะสูง ตลอดจนผู้มี ฐานะ รํารวยได้ชื่อว่า “เสฏฐี ” และแม้แต่ปริพาชก ่ (นักบวชผู้ชายนอกพระพุทธศาสนา) ให้หนมา ั นับถือพทธศาสนา บุ ค ลิ กภาพและศั ก ด์ ิ ศรี ุ ของพระพุท ธองค์ในฐานะที่ ทรงเป็ นนั กบวช (สมณะ) และปรชญาเมธีผเปรื่องปราด ั ู้
  • 52. ได้ดึงดูดความสนใจของท้าวพญามหากษัตริยซึ่ง ์ ครองราชย์และมีอํานาจในชมพูทวี ปในสมัย นัน บรรดาชนชนนําเหล่านัน เช่น พระเจ้าพิม ้ ั้ ้ พิสารและหมอชีวกโกมารภจจแห่งแคว้นมคธ ั ์ พระเจ้าปเสนทิ อนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี และ นางวิ สาขามหาเศรษฐี นี แห่ ง นครสาวัต ถี แคว้นโกศล
  • 53. อีกทงอมพปลี หญิงงามเมองแห่งนครเวสาลี ต่าง ั้ ั ื ได้ ส ร้ า งว ั ด วาอารามถวายพระพุ ท ธเจ้ า ตลอดจนเหล่ า ภิ ก ษุ ส งฆ์ ส าวกของพระองค์ อย่ า งมากมาย ซึ่ ง ในปั จ จุ บ ัน ซากเศษสิ่ ง ปรกหกพงของอาคารสิ่งก่อสร้างเหล่านี้ ยงมี ั ั ั ั ปรากฏให้ เ ราอนุ ช นรุ่น หลัง ได้ เ ห็น เป็ นสัก ขี พยาน
  • 54. ประวัติศาสตร์ชี้ ให้ เราเห็น ว่ า ความเจริ ญ และความเสื่อมของพทธศาสนานัน ขึ้นอยู่กบ ุ ้ ั ความอปถมภ์ หรือการขาดความอุปถมภจาก ุ ั ั ์ ราชามหากษัตริย์ เป็นสาคญ ในสมยพระเจ้า ํ ั ั อโศกมหาราช พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็ น อย่างยิ่ง แต่ในสมยทายาทของพระเจ้าอโศก ั
  • 55. ในยุคต่อมา พุทธศาสนาถึงแก่ความอับเฉา ครัน ้ ต่ อมาในยุคของกษัตริย์เชื้ อสายอินเดี ยผสม แบคเทรี ย (Indo-Bactria) ได้ แ ก่ Menander (พระเจ้ามิลินท์ ในคมภีร์ ั พุท ธศาสนา) และในยุ ค ของกษัต ริ ย์อิ น เดี ย ผสม Scythia ได้แก่ พระเจ้ากนิษกะ พทธ ุ ศาสนาร่งเรืองขึนอีก ุ ้
  • 56. พุ ท ธ ศ า ส น า ต ก อ ยู่ ใ น ส ภ า พ อั บ เ ฉ า จนกระทังถึงสมัยกษัตริย์ศกราทิตย์ พุทธคุป ่ ั ตะ และหรรษวรรธนะ พุทธศาสนาจึ งกลับมี พล ั ง ว ั ง ชาขึ้ น ใหม่ ในสม ัย ราชวงศ์ ป าละ (คริ สต์ ศ ตวรรษที่ ๘-๑๒) พุ ท ธศาสนาใน รูป แบบและว ัต รปฏิ บ ติ ของล ัท ธิ “ตัน ตระ” ั และ “วชรยาน” มีอิทธิพลไพศาลในชมพูทวีป ั
  • 57. โดยเฉพาะในแคว้นเบงกอล แต่เป็ นพลังที่ วิปริต ผิดแปลกไปจากคาสอนเดิมของพระพทธองค์ ํ ุ อย่ า งหน้ า มือ เป็ นหลัง มือ และในที่ สุ ด ความ วิ ป ริ ต นี้ ได้ ก ลายเป็ นมู ล เหตุ สํา คัญ ที่ ทํา ให้ พุทธศาสนาเสื่ อมสลายไปจากดินแดนที่ เกิด ของตน
  • 58. จะเหนได้ว่า ความเจริญร่งเรืองของพทธศาสนา ็ ุ ุ ในชมพทวีปนัน เกิดจากการอปถมภของราชา ู ้ ุ ั ์ มหากษัตริ ย์และชนชันสูง เป็ นปั จจัยประการ ้ สําคัญ แม้ในประเทศอื่ นที่ พุทธศาสนาแผ่ไป ถึง เช่น พม่า ศรีลงกา จีน ทิเบต และไทย ก็มี ั สภาพคล้ายคลึงกน ั
  • 59. ก า ร อุ บั ติ ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส น า นิ ก า ย “มหายาน” ถื อกันว่ าเป็ นวิวฒ นาการที่ ั ก ว้ า ง ไ ก ล แ ล ะ มี ค ว า ม สํ า ค ั ญ ยิ่ ง ใ น ประวติศาสตรของพทธศาสนา ั ์ ุ ความคิ ด ควา มเชื่ อหลั ก ของมหายาน ที่ ว่ า “พร ะ โพธิสตวคือสญลกษณ์ของความเมตตากรณา ั ์ ั ั ุ อัน สัต ว์โ ลกทัง ผองพึ ง บํา เพ็ญ และปฏิ บติ ต่ อ ้ ั
  • 60. เป็นความคิดความเชื่อที่จงใจ และครองใจคน ู  ไม่ เ ฉพาะในอิ นเดี ย เท่ า นั ้น ทว่ า ในทวี ป เอเชี ย ท ัง หมดเลยก็ว่ า ได้ พุท ธศาสนาแบบ “เถรวาท” ้ หรือ “หิ นยาน” ได้เจริญแพร่หลายไปยังเอเชี ย ตะว น ตก (ตง แต่รชสม ยพระเจ้ าอโศก) แต่ต่อมา ั ั้ ั ั พุทธศาสนาแบบมหายาน ได้เ ข้ า ไปครองแทนที่ และได้แผ่ขยายไปถึงทิเบต จีน มองโกเลีย เกาหลี ญี่ป่ น เวียดนาม ฯลฯ ุ
  • 61. คําสอนและอุดมการณ์ ของมหายานตังอยู่ ้ บนรากฐานแห่งความเชื่อในองคพระพทธเจ้า ์ ุ พระโพธิสตว์ (ผ้ที่จะได้ตรสร้เป็นพระพทธเจ้า) ั ู ั ู ุ อี ก ทัง เทพและเทพี ห ลายองค์ เช่ น อมิ ต าภะ ้ อวโลกิเตศวร หรือปัทมปาณิ มญชุศรี สมนต ั ั ภทรหรือจกรปาณิ อกโษภย ไวโรจน รตนสม ั ั ั ั ั ภพ อโมฆสิ ทธิ มหาสถามไมเตรยะหรือ อริ ย เมตไตรย์ ไภษชราช อากาศครภ วชรปาณิ ตา ั ั รามารีจี ฯลฯ
  • 62. พระนามของพระโพธิสตว์เหล่านี้ เป็ นนามธรรม ั ของคุ ณ สมบ ั ติ เช่ น อวโลกิ เตศวร เป็ น นามธรรมของความเมตตากรุ ณ า ม ญ ชุ ศ รี ั เป็ นนามธรรมของสติ ปั ญญา ฯลฯ แต่ ก็ เช่ นเดี ยวกับคําสอนในศาสนาทัง หลาย เมื่อ ้ กาลเวลาล่ ว งเลยไป ผู้ ค นพาก ั น หลงลื ม นามธรรม แต่กลับไปยึดมันในรูปธรรม ่
  • 63. กล่ า วคื อ ไม่ นํ า พาต่ อ คุ ณ สมบ ัติ เช่ น ความ เมตตากรุณา ทว่าไปยึดมันในรูปสมบัติ เช่ น ่ อวโลกิเตศวร คือความเมตตากรณา แต่ได้รบ ุ ั การสมมติให้มีตวตนเป็นพระโพธิสตว์ มีฐานะ ั ั เท่ากบเทพเจ้าองคหนึ่ง และเมื่อเป็นเทพเจ้าก็ ั ์ ต้องได้รบการบูชากราบไหว้ เซ่นสรวงเอาใจ ั เหมอนเทพเจ้าทวไป ื ั่
  • 64. ด้วยเหตุนี้จึงมีการรจนาบทกราบไหว้สดุดี ที่ มีชื่อในภาษาสันสกฤต (พุทธศาสนานิกาย มหายาน ใช้ภาษาสันสกฤตแทนภาษาบาลี ซึ่ง ใช้ ใ นนิ กายเถรวาทหรื อ หิ น ยาน) ว่ า สฺโ ตตฺ ร บ้าง ธารณี บ้าง สฺตวและมนฺตร (มนตร์) บ้าง พร้ อ มกัน นั น ก็มีก ารกํา หนดพิธี ก รรมต่ า ง ๆ ้ ตามฐานานุรูปของเทพเจ้า และนี่ คือที่ มาของ “คาถา” หรือ “มนตร์” (คําเป่ าเสกที่ ถือว่า ศกด์ ิ สิทธ์ ิ ) เช่น “โอม มณี ปทฺเม หุม” (โอม ั ฺ ดวงแก้วเกิดในดอกบัว) ของชาวพทธทิเบต ุ
  • 65. หรือ “นโม โฮ เรง เก โกยฺ” ของชาวพุทธญี่ปุ่น (นิ กายนิจิเรน) ฯลฯ มหายานเชื่อว่า ด้วยการ ท่องบน “คาถา” หรือ “มนตร” อนศกด์ ิ สิทธ์ ิ ่ ์ ั ั สน ๆ เช่นนี้ มนุษยจะบรรลุความหลุดพ้นจาก ั้ ์ การเวียนเกิดเวียนตาย (นิ พพาน) ได้ เมื่ อ เทพเจ้ าทั ้ง ชายห ญิ ง เกิ ด ขึ้ น มากมายพร้อมกบพิธีกรรมเซ่น ั
  • 66. สรวงอันละเมียดละไมเช่นนี้ บรรดาสมณะ หรือภิกษุ สงฆ์ก็พากันหันมาสนใจในการ ประกอบพิ ธี ก รรมเหล่ า นี้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น จน การศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย ตลอดจนการ บาเพญศีลภาวนาหย่อนยานลงไปเป็นเงา ํ ็ ตามตัว เราต้ อ งไม่ ลื ม ว่ า การประกอบ พิธีกรรมเซ่นสรวงนานาชนิดนัน นํามาซึ่ง ้ ลาภสกการะอย่างมากและง่ายดาย ั
  • 67. ด้วยประการฉะนี้ ตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๔ ้ ถึ ง ที่ ๗ พุ ท ธศาสนาในอิ น เดี ย จึ ง กลายเป็ น ศาสนาแห่งพิธีกรรม แทนที่จะเป็นศานาแห่ง การค้ น คว้ า ทางปั ญ ญาและเหตุ ผ ล อัน เป็ น วัต ถุประสงค์ และเป้ าหมายเดิ ม ของพระโค ดมพระพุทธเจ้า หลวงจีนฮวนฉ่าง (หรือยวน จ่าง)
  • 68. นั กจาริกแสวงบุญจากประเทศจีน ผู้เดินทางไป สื บพระพุทธศาสนาในอินเดี ย ใน ค.ศ. ๖๒๙ ใ น ร ั ช ส ม ั ย พ ร ะ เ จ้ า ห ร ร ษ ว ร ร ธ น ะ ซึ่ ง ครองราชยอยู่ ณ นครอชไชน (Ujjain) ได้ ์ ุ บัน ทึ ก ไว้ ใ นรายงานการเดิ น ทางของท่ า น เกี่ยวกบพิธีกรรมทางมหายานอย่างใหญ่หลวง ั เช่นเดียวกบพระเจ้าอโศกมหาราช ั
  • 69. ทรงทะนุ บ า รุง พุท ธศาสนานิ กายเถรวาทก่ อ น ํ หน้ านั ้น และนี้ เองเป็ นเหตุ ใ ห้ พุ ท ธศาสนา นิ กายมหายานรุ่ง เรื อ ง และแผ่ ไ พศาลอย่ า ง กว้ า งไกล ในอิ น เดี ย ในยุ ค หล ง จากพระเจ้ า ั อโศกมหาราช
  • 70. ประวัติศาสตร์ให้ บทเรี ยนว่ า สถาบันหรือ ขนบธรรมเนียมใด ๆ กตามซึ่งในระยะเริ่มต้น ็ อาจจะมีคุณูปการหรือประโยชน์ ต่อสังคม แต่ เมื่อกาลเวลาได้ ล่วงเลยไป หากสถาบันหรือ ขนบธรรมเนี ยมนั ้ น ๆ ไม่ มี ก ารปร ับ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกบกาละเทศะ ั
  • 71. สถาบ ัน หรื อ ขนบธรรมเนี ยมด ั ง กล่ า ว อาจ ก ล า ย เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค สิ่ ง ขั ด ข ว า ง ต่ อ ก า ร เจริ ญก้ า วหน้ าของส ั ง คมนั ้ น ได้ มี นิ ทั ศ น์ อุทาหรณ์ ให้เห็นอยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น การ ่ แบงอาชีพกนทาเพื่อทกษะ ั ํ ั
  • 72. และความชํา นาญ (การแบ่ ง คนออกเป็ น วรรณะในสังคมอินเดี ยโบราณ) การประกอบ พิธีทางศาสนา การเชื่ อ ถื อ พระเจ้ า หลายองค์ (พหุเ ทวนิ ยม) ของชาวกรีกโรมันและชาวอียิปต์โบราณ การ ยกย่องระบบกษตริยให้เป็นสมมติเทพ ั ์
  • 73. การเสกคาถาอาคมและปลุ ก ผี ส างเทวดา พฤติกรรมเหล่านี้มีประโยชน์ต่อสงคมขวาง ั ในยุคหนึ่ งสมัยหนึ่ ง แต่เมือกาลเวลาได้ ่ ล่วงเลยไป พฤติกรรมดงกล่าวกลบเป็น ั ั อุปสรรคสิ่งกีด
  • 74. การแยกตนไปดารงชีวิตต่างหากของสงฆ์ ํ เป็ นเหตุ สํา คัญ ประการหนึ่ ง แห่ ง การอ่ อ น กาลงของพทธศาสนา ํ ั ุ จริงอยู่ในระยะแรก ๆ แห่งการก่อตัง การ ้ ที่ ส งฆ์ แ ยกจากส ัง คมคฤหัส ถ์ไ ปดํา เนิ นชี วิ ต ต่างหาก เป็นการรกษาความมีระเบียบ ความ ั บริสทธ์ ิ ผองใส ุ ่
  • 75. แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ความก้ าวหน้ าทางจิ ตวิ ญญาณ แต่ เมื่ อ กาลเวลาได้ ล่ ว งเลยไป สงฆ์ ไ ด้ ห ลงลื ม ว ต ถ ุป ระสงค์เ ดิ ม ตามคํา สอนของพุท ธองค์ ั สงฆ์หัน ไปหมกมุ่น อยู่กบกิ จธุระส่ วนตัว เป็ น ั สําคัญ สงฆ์ทอดทิ้งไม่ดูแลการศึ กษา และให้ การอบรมด้ า นศี ล ธรรม และสติ ปั ญ ญาแก่
  • 76. หลกฐานทางประวติศาสตรชี้ให้เห็นว่า ใน ั ั ์ ระยะแรก ๆ แห่งการก่อตังสงฆ์โดยพุทธานุมติ ้ ั นัน สงฆ์ได้บาเพ็ญกรณี ยกิจ ในฐานะเป็ นผู้ให้ ้ ํ การศึ ก ษา ฝึ กอบรมศี ล ธรรม และพฒ นาจิ ต ั วิ ญ ญาณ แก่ ป ระชาชนเป็ นอย่ า งยิ่ ง แต่ ใ น กาลเวลาต่ อ มาอุดมการณ์ ด้านนี้ ข องสงฆ์ไ ด้ เลือนลางจางหายไป
  • 77. พุ ท ธศาสนามี คุ ณู ป การอย่ า งใหญ่ ห ลวงต่ อ พ ฒ นาการด้ า นว ัฒ นธรรมของอิ น เดี ย และ ั ของหลายประเทศในทวีปเอเชี ย พุทธศาสนา เป็ นพลังดลใจในศิลปศาสตร์นานาแขนงทัว ่ เอเชี ย แต่ ใ นประเทศอิน เดี ยเองด้ วยเหตุผ ล ดัง กล่ า วแล้ ว พุ ท ธศาสนาได้ สู ญ เสี ย ฐานะ ความเป็นผนําทางศาสนา ไปอย่างน่าเสียดาย ู้
  • 78. สัมฤทธิผลของศาสนาใดศาสนาหนึ่ งนัน ขึ้นอยู่ ้ กับประชาชนผู้เป็ นบริ ษัทบริวารของศาสนา นันด้วย ้
  • 79. ศาสนาชิน (Jain) ซึ่งมีคาสอนและวัตร ํ ปฏิ บัติ คล้ า ยคลึ ง กับ พุ ท ธศาสนาอยู่ ห ลาย อย่ า งหลายประการ มี ก ารจัด ตั ง ในสัง คม ้ ฆราวาส (คนทวไปที่ไม่ใช่นักบวช) ด้วยเหตุนี้ ั่ ศาสนาชิ น จึ ง ย ง คงดํา รงสถานะเป็ นศาสนา ั หนึ่ ง ในประเทศอิ น เดี ย ได้ ต ราบจนทุ ก ว น นี้ ั ศาสนาพราหมณ์ หรื อ ฮิ นดู ก็ เ ช่ น เดี ย วกัน กล่าวคือ สงคมฆราวาสกบสงคมนักบวชหาได้ ั ั ั แยกกนไม่ ทงสองเกี่ยวข้องกนอยางแนบแน่น ั ั้ ั ่
  • 80. พทธศาสนาเป็นศาสนาที่เกิดในอินเดียศาสนาเดียวที่ ุ ไม่เข้ า ไปข้ องเกี่ ยวกับวัตรปฏิ บติทางสังคม พุทธ ั ศาสนาไม่มี บ ทบ ญ ญ ติเป็ นกิ จ จะล ก ษณะในเรื่อ ง ั ั ั เกี่ ย วก บ การเกิ ด การตาย หรือ การแต่ ง งานของ ั พุทธศาสนิกชน พุทธศาสนาให้เสรีภาพในกิจกรรม เหล่านี้อย่างสมบูรณ์ โดยถือว่าเป็นสิทธิของแต่ละ บุคคล
  • 81. ตัวอย่างที่ เห็นได้ ชดในประวัติศาสตร์ของพุทธ ั ศาสนาในอินเดี ยก็คือ มหาเศรษฐี อนาถบิณ ฑิก ผู้เป็ นพุทธอุปัฏฐากคนสําคัญแห่ งนครสา วตถี ได้ยกธิดาคนหวปีชื่อมหาสุภททา ให้แก่ ั ั ั คหบดี แห่ งเมืองอุคคนครผู้นับถือศาสนาชิน (ในภาษาบาลีมีชื่อว่า นิคณฐนาถปตตะ) ั ุ
  • 82. ความมี ใ จกว้ า งหรื อ การให้ เ สรี ภ าพแก่ ศ า สนิกเช่นนี้ ในทศนะของปราชญบางท่าน (เช่น ั ์ นายนลิ นากฺ ษ ทั ต ต) เห็ น ว่ า แม้ ใ นระยะ เริ่มแรกแห่ งการก่อตังและเผยแผ่จะเป็ นผลดี ้ แก่ พุท ธศาสนา แต่ ใ นกาลไกลแล้ ว เป็ นโทษ มากกว่ า เป็ นคุ ณ เพราะทํ า ให้ ว ัต รปฏิ บ ัติ ของศาสนิกหย่อนยาน เปิดโอกาสให้ผ้มีทศนะ ู ั และความเชื่อถือแปลกแยกเข้าไปปะปนและ ่ ํ บอนทาลายเอกภาพ
  • 83. ในระยะเริ่ ม แรกนั ้น เป็ นการส่ ง เสริ ม ให้ พุทธศาสนา เจริญแพร่หลายไปอย่างรวดเรว ็ ทั ง นี้ เพราะประชาชนมี ค วามพอใจที่ พุ ท ธ ้ ศาสนาให้ เสรีภาพ ไม่แทรกแซงเปลี่ยนแปลง หรื อเลิ กล้ มจารี ต ประเพณี ที่ ยึ ดถื อปฏิ บติ ก น ั ั มาแต่เดิม
  • 84. พระพทธองคเป็นปัญญาชน เป็นนักคิด พระองค์ ุ ์ มาจากราชตระกูลที่ ดารงอยู่ในจารีตประเพณี ํ ตลอดจนความเชื่ อ ถื อ ตามระบบของส ัง คม อันมีพราหมณ์ เป็ นผู้นํามาแต่ โบราณกาล ใน ฐานะที่ เ ป็ นปั ญ ญาชน นั ก คิ ด พระองค์ ท รง สะท้อนพระทยเมอได้ ั ื่
  • 85. ทอดพระเนตรเหน “นิ มิต ๔” มี คนแก่ คนเจบ ็ ็ คนตาย และนั กบวช อันเป็ นเหตุให้ พระองค์ ทรงโทมนัสถึงกบตดสินพระทยออกบรรพชา ั ั ั ทังนี้ เพื่อทรงค้ นหาวิธีที่คนเราจะได้ พบอิสระ ้ จากการ เกิด แก่ เจบ ตาย ็
  • 86. ด้ ว ย เ ห ตุ นี้ แ ม้ เ มื่ อ ท ร ง บ ร ร พ ช า แ ล้ ว พระองค์ก็มิได้ ทรงข้องเกี่ ยวกับความเชื่ อถือ หรื อ จารี ต ประเพณี ข องส ัง คม พระองค์ท รง ปล่อยให้ ความเชื่อถือหรือวัตรปฏิบตรเหล่านี้ ั เป็ นไปตามสภาพเดิม พระองค์ทรงมุ่งมันอยู่ ่ กับการค้นหา “สจธรรม” ที่ทาอย่างไรคนเรา ั ํ จะได้ไมต้องเวียนว่ายตายเกิดในสงสารวฏ ่ ั ั
  • 87. ในคํา สอนของพระองค์ที่ มี ป รากฏในพระสู ต ร ต่ าง ๆ พระองค์ได้ ทรงห้ ามมิให้ เวไนยยนิกร เสียเวลาถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์หรือคาดคะเน ในเรื่องที่ไร้ประโยชน์ ไม่นําไปสู่ความหลุดพ้น (นิ พพาน) เช่ น ความเห็ น ที่ ยึ ด เอาที่ สุ ด ๑๐ ประการ (อ ัน ตคาหิ ก ทิ ฏ ฐิ ) ในค ัม ภี ร์ม ช ฌิ ม ั นิกาย เป็นต้น
  • 88. นายนลิ น ากฺ ษ ทัต ต ปราชญ์ช าวอิน เดี ย ผู้ รจนาตําราหลายเล่มเกี่ยวกบพุทธศาสนาใน ั อินเดีย ได้เขียนแสดงความเห็นไว้ว่า การวาง ตนไม่เข้ าไปแทรกแซงกิจการทางสังคมของ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น อิ น เ ดี ย ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก ๆ โดยเฉพาะในช่ ว งเวลาที่ พ ระพุ ท ธองค์ แ ละ สานุ ศิ ษ ย์ผู้ป รี ช าญาณของพระองค์ย ง ดํา รงั พระชนมชีพอย่นัน ์ ู ้
  • 89. เป็นผลดีแก่การเผยแผพทธศาสนาอย่างแน่นอน ่ ุ แต่เมื่อกาลเวลาล่วงเลยไป และเมื่อไม่มีพระ พุทธองค์ตลอดจนสานุศิษยผ้ปรีชาญาณเป็น ์ ู ผู้นําและให้แสงสว่าง ลัทธิความเชื่อตลอดจน พิ ธี ก รรมเก่ า ๆ ของพราหมณ์ ซึ่ ง มี ม าแต่ โบราณกาล จึงกลับฟื้ นคืนชีพขึนอีก ้
  • 90. ภายในระยะเวลามิช้ามินานหลัง จากพุทธ ปรินิพพาน และหลังจากอัครสาวกองค์สาคัญ ํ ๆ ผู้เปรื่องปราดได้ ล่วงลับไปแล้ว ประชาชน ต่ า งก็เ ริ่ ม ลื ม เลื อ นสารัต ถะแห่ ง คํา สอนของ พระพุ ท ธเจ้ า และต่ า งกลับ ไม่ เ ชื่ อ ถื อ และ ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต า ม ลั ท ธิ คํ า ส อ น ข อ ง พระพทธเจ้า แต่ต่างกลบไป ุ ั
  • 91. เชื่อถือและประพฤติปฏิบติตามลัทธิคาสอนของ ั ํ พราหมณ์ ซึ่ ง พระพุท ธองค์ท รงค ัด ค้ า นและ ต้องการเปลี่ยนแปลงตลอดพระชนมชีพของ ์ พระองค์ กล่ า วโดยย่อก็คือ แก่ นแห่ งศาสนา พทธ ได้ถกกระพี้แห่งศาสนาพราหมณ์ ปกปิด ุ ู หรื อ บด บั ง ไ ว้ อย่ า ง แทบจะ มอง ไ ม่ เ ห็ น โดยเฉพาะจากสามัญชนคนธรรมดา
  • 92. พฤติการณ์ ทํานองเดี ยวกันนี้ ได้ เกิดขึ้นใน ประเทศอื่ นที่ พุทธศาสนาได้ แผ่ไปถึง เช่ นใน ประเทศจี น ทิ เบต เนปาล พม่า สยาม ลัง กา ญี่ ปุ่ น ตลอดจนเกาหลี มองโกเลี ย และ อินโดนีเซีย ในทุกประเทศที่ได้กล่าวนามมานี้ เ ป็ น ค ว า ม จ ริ ง ที่ พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ด้ เ ข้ า ไ ป ประดิษฐานอยู่เป็ นเวลาช้านาน ทังได้รบความ้ ั
  • 93. เทิ ด ทู น ส ัก การะอย่ า งสู ง จากประชาชน แต่ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น อิ ท ธิ พ ล ข อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม ตลอดจนลัทธิความเชื่ อถือ เดิมของท้ องถิ่นก็ ได้ เ ข้ า ไปผสมผสานปนเปกั บ คํ า สอนอั น แท้จริงของพุทธศาสนา อย่างแทบจะแยกกน ั ่ ไมออก
  • 94. โดยย่อก็คือ “ปรมตถธรรม” ที่พระโคดมพทธ ั ุ เจ้าได้ทรงสงสอนไว้ ได้เลือนลางจางหายจน ั่ แทบจะสูญความหมาย ในอินเดีย โดยเฉพาะ ่ แล้ว ภายในระยะเวลาไมกี่ร้อยปีหลงจากพทธ ั ุ ศ า ส น า แ ม้ ใ น ถิ่ น ที่ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ค ย เจริญร่งเรืองที่สุดมาแล้ว เช่นในรฐพิหาร อตร ุ ั ุ ประเทศ และเบงกอล กตาม ็
  • 95. สาเหตุอีกประการหนึ่ งที่ ทําให้ พุทธศาสนา เสื่อมอิทธิพลน่าจะได้แก่ ความตกตํ่าทางภมิ ู ปัญญาของบุคคลที่ เข้ามาเป็ นสมาชิกในคณะ ภิกษุสงฆ์ ตราบใดที่คณะสงฆ์มีสมาชิกที่ทรง ความรู้ความสามารถ เป็นประทีปทางปัญญา ให้ แ ก่ ป วงชน ตราบนั ้น พุท ธศาสนาก็อ ยู่ ใ น ฐานะสูงส่ง
  • 96. มี ร าชามหากษั ต ริ ย์ ต ลอดจนประชาชนคน ธรรมดาประกาศตน เป็นสมาชิกมากมาย แต่ หลังจากพุทธปรินิพพานไม่นานก็ปรากฏตาม หลัก ฐานทางประวัติ ศาสตร์ ว่ า ได้ มี ค วาม หย่อ นยานเกิดขึ้นทัง ในทางระดับ ภูมิปัญญา ้ และในวัต รปฏิ บัติ ของสงฆ์ จนต้ อ งมี ก าร สังคายนากันเป็ นระยะ ๆ ตลอดมา
  • 97. ใ น อิ น เ ดี ย ส ม ั ย โ บ ร า ณ มี ก า ร โ ต้ ว า ที (ศาสตรารฺ ถ ) กัน ในเรื่ อ งของศาสนาที่ เ ป็ น สาธารณะ โดยเปิดให้ประชาชนทุกลทธิความ ั เชื่ อถือเข้าฟั งได้ ผลของการโต้ วาที มีอิทธิพล ของความเชื่อของคนในยุคนันมาก ปรากฏว่า ้ ในการโต้วาที เหล่านัน ปราชญ์ฝ่ายพราหมณ์ - ้ ฮินดู เช่น ท่ านกุมาริละ และท่ านศังกราจารย์
  • 98. ลทธิตนตระเป็นวิวฒนาการขนต่อมาของ ั ั ั ั้ พทธศาสนาฝ่ายมหายาน ุ เหตุ ก ารณ์ ใ นประวัติ ศาสตร์ ซึ่ ง เกิ ดขึ้ น มากมายทั ว โลก มี อ าทิ ในประเทศอิ นเดี ย ่ อียิปต์ ประเทศจีนยุคกลาง ในตะวันออกกลาง ยุ โ รป สหร ัฐ อเมริ ก า (ล่ า สุ ด ในญี่ ปุ่ น ได้ แ ก่ กรณี โอมชินริเกียว
  • 99. Aum Shinrikyo ซึ่งได้สร้างความหายนะ ทัง ในชี วิ ต และทรัพ ย์ สิ น แก่ ช าวญี่ ปุ่ นอย่ า ง ้ มหาศาล) ชี้ ให้ เราเห็นว่า ความเชื่ อลัทธิทาง ศาสนานั ้ น มี อิ ทธิ พลอย่ า งมากมายต่ อ พฤติ ก รรมในชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ พิ ธี ก รรมหรื อ วตรปฏิบติ อนเกิดจากความเชื่อทางศาสนา ั ั ั มากมายหลายกรณี ซึ่งแรกเริ่มเดิมที เกิดจาก
  • 100. เป้ าหมายหรื อ ว ัต ถ ุป ระสงค์อ ัน ดี ง าม เป็ นบุ ญ กุศล แต่ พอกาลเวลาล่วงเลยไป กิเลสของคน กลับแปรเปลี่ ยนให้ พิธีกรรมหรือ วัตรปฏิบติ ั เหล่านัน หันเหไปในทางที่เลวทรามตําช้าสุดที่ ้ ่ จะพรรณนา กล่าวได้ว่า ตันตระเป็ นลัทธิความ เชื่อและวตรปฏิบติที่นํา พทธศาสนาไปส่ความ ั ั ุ ู หายนะขันสุดท้ายในประเทศอินเดีย ้
  • 101. ตนตระประกอบด้วยคาสอนหลก ๕ ประการ ั ํ ั ที่ มีชื่อว่า “๕ ม” มี (๑) มทยะ - เหล้า (๒) ั มางสะ - เนื้ อ (๓) มัต สยะ - ปลา (๔) มุท รา - ท่าทาง (๕) ไมถุน – การเสพสงวาส ั ผที่เชื่อในหลกคาสอนของตนตระจะต้องใช้ ู้ ั ํ ั “๕ ม” นี้ประกอบ การบชากราบไหว้ ู
  • 102. เพียงเท่านี้ก็น่าจะเพียงพอแล้วสาหรบการที่จะ ํ ั เข้ า ใจว่ า ตั น ตระคื อ อะไร และทํ า ไมพุ ท ธ ศาสนาในอิ น เดี ย จึ ง ถึ ง ซึ่ ง กาลอวสานด้ ว ย ตนตระ ั
  • 103. สมองของมนุ ษย์ นั ้ น ว่ า กั น ว่ า เป็ นเลิ ศ ประเสริฐสุดในบรรดาสัตว์ ทุกชนิดที่ มีให้เห็น ในโลก แต่ ประวัติศาสตร์กมีนิทัศน์ อุทาหรณ์ ็ ให้ เ ราต้ อ งยอมรับ และเชื่ อ ว่ า ก็ ส มองของ มนุษย์นี่แหละที่ได้สร้างความชวช้าสามานย์ ั่ ตลอดจนความพินาศวอดวายที่ เลวร้ายที่ สุด ให้แก่มนุษย์ ทุกวนนี้ “ตนตระ” กยงมีให้เหนทว ๆ ไป ั ั ็ ั ็ ั่
  • 104. ตันตระนันหรือคือลัทธิที่สอนให้ คนเชื่อในเวทย์ ้ มนต์คาถาอาคม การทรงเจ้าเข้าผี ตลอดจน ทุกสิ่งทุกอย่างที่รวมอยู่ในไสยศาสตร์ ไสยเวท อ ั น มี กํ า เนิ ดจากค ั ม ภี ร์ อ าถรรพเวทของ พราหมณ์ และอยู่นอกเหนื อวิสย ของปุถชน ั ุ คนธรรมดา
  • 105. กล่าวได้ว่า ตังแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๘ จนถึง ้ คริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ ชาวอินเดียทงประเทศซึ่ง ั้ เดิ ม เคยนั บ ถื อ ศาสนาพราหมณ์ -ฮิ น ดู และ ศาสนาพุทธ ต่างก็ตกอยู่ในความครอบงําของ ลัทธิตนตระอย่างไม่ลืมหูลืมตา ทังนี้ ไม่เฉพาะ ั ้ แต่สามญชนคนธรรมดาเท่านัน หากชนชนสูง ั ้ ั้ รวมทังชนชันผูปกครองด้วยก็เช่นเดียวกัน ้ ้ ้
  • 106. อิสลามในฐานะเป็นกาลงสาคญทงในทาง ํ ั ํ ั ั้ การเมื อ งและการศาสนา ได้ แ ผ่ เ ข้ า ไปใน อิ น เดี ย ทางทิ ศ ตะวัน ตกเฉี ย งเหนื อ โดยเริ่ ม ตงแต่ตอนต้น ของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๑ และ ั้ ภายในเวลาไม่กี่ร้อยปี กสามารถครอบครอง ็ ดิ นแดนภาคเหนื อ ภาคกลาง และภาค ตะวนออกของอินเดียไว้แทบจะทงหมด และ ั ั้
  • 107. การที่ อิ สลามเข้ า ไปมี อํ า นาจทางอาณาจัก ร และศาสนจกรในอินเดียเป็นเวลาหลายร้อยปี ั ทํ า ให้ อิ ทธิ พลของว ั ฒ นธรรมอิ สลามแผ่ กระจาย และคลุมครอบชีวิตของชาวอินเดีย อย่างลุ่มลึกและกว้างไกล ซึ่งอิทธิพลนี้ยงมีให้ ั เห็ น ตราบจนปั จ จุ บ น โดยเฉพาะในอิ น เดี ย ั ภาคเหนื อ
  • 108. ในส่วนที่เกี่ยวกับพุทธศาสนานัน อาจกล่าว ้ ได้ว่า การปรากฏตัวของอิสลามเป็ นมรสุมลูก สุดท้ายที่ กระหนํ่ าให้ “พุทธนาวา” ลํานี้ กอยู่็ ในสภาพ “ชํารุด” เตมประดา ด้วยท้องนาวา ็ ถกแมงกระพรนตนตระกดกิน เป็นรรวนํ้าไหล ู ุ ั ั ู ั่ เข้ า ได้ จวนเจี ย นจะพลิ กคว ํ่ า อยู่ แ ล้ ว แต่ “มรสุม”
  • 109. ลูกสุดท้ ายที่ ทําให้ พุทธศาสนาต้ องพังพินาศไป จากแผนดินอินเดียนัน แน่นอน คือ “อิ สลาม” ่ ้ พระลามา “ตารานาถ” ได้บนทึกไว้ในหนังสือ ั “ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา” ของท่านว่า “บรรดาภิ กษุสงฆเมอถกฆ่าและถกทาร้าย ์ ื่ ู ู ํ
  • 110. โดยพวกมุสลิมในศตวรรษที่ ๑๒ ต่ างก็พากัน หนี ไปยัง ประเทศทิ เบต และประเทศอื่ น ๆ นอกอิ น เดี ย เมื่ อ ภิ ก ษุ ส งฆ์ ไ ม่ มี เ หลื อ อยู่ ทัง ้ โบสถ์วิ ห ารก็ถ ก ทํา ลายลงจนหมดสิ้ น จิ ต ใจ ู ของพวกฆราวาสพทธมามกะ จึงเป็นธรรมดา ุ อ ยู่ เ อ ง ที่ จ ะ ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ต า ม สภาพการณ์ ผลกคือ ็
  • 111. พุ ท ธศาสนิ กชนส่ ว นใหญ่ ไ ด้ ส วามิ ภั ก ด์ ิ ต่ อ พราหมณ์ ซึ่งมีความสมพนธกนทางเลือดเนื้อ ั ั ์ ั และวฒนธรรมอยู่แล้ว พวกที่เหลืออย่กหนไป ั ู ็ ั นั บถือหรือถูกบังคับให้ นับถือศาสนาอิ สลาม ซึ่ งมีอานาจทางการเมืองอยู่ในเวลานั น ด้ วย ํ ้ ประการฉะนี้ เองที่ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ สู ญ หายไปจากอินเดีย ดินแดนที่เกิดของตน”.
  • 112. ศาสนาพุท ธถื อ อุบ ติ แ ละเจริ ญ รุ่ง เรื อ งใน ั อินเดีย ปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 12 จึงเริ่ม เสื่อม และอันตรธานไปจากอินเดี ย ชาวพุทธ ที่มีอยู่ในอินเดียปัจจุบนทุกวนนี้ เป็นชาวพทธ ั ั ุ ใหม่ที่ได้รบการชกชวนจาก ดร.บี อาร์ อมเบด ั ั ั ็ การ์ เมื่อประมาณซก 60-70 ปี ที่ ผ่านมา ั เกือบแทบทงหมดทงสิ้น ั้ ั้
  • 113. อ ั ม เบ ็ ด การ์ ถื อ กํ า เนิ ดเกิ ดมาดู โ ลกเมื่ อ 14 เมษายน พ.ศ.2434 ในครอบครัวของชาว ฮินดู ที่ รฐ มหาราช ในชนชันวรรณะศูทร ซึ่ ง ั ้ เป็ นวรรณะตํ่าสุดใน 4 วรรณะของอินเดี ย แม้ว่ า จะมาจากวรรณะ ศูท รยากจนข้ น แค้ น แต่ท่านก็เรียนหนังสือเก่ง ขนาดสอบชิงทุนได้ ไปเรียนกฎหมายที่องกฤษ และภาย หลังมาจบ ั
  • 114. ดร.อัม เบ็ด การ์ มี ส่ ว นสํ า คัญ ในการร่ า ง รัฐ ธรรมนู ญ ของอิ น เดี ย คนอิ น เดี ย ยอมรับ ท่านมาก ถึงขนาด ประกาศให้เป็น “บิ ดาแห่ ง รัฐธรรมนู ญอิ นเดี ย” ท่ านออกบรรยาย ปราศรัยไปในที่ ต่างๆ เรื่อง รัฐธรรมนูญ เรื่อง กฎหมาย สุ ด ท้ า ยก่ อ นจบคํ า บรรยายท่ า น มักจะวกไปเรื่องศาสนา
  • 115. โดยมักจะ หยอดเรื่องศาสนาพุทธเป็ นของแถม วาทะของท่านที่สาคัญซึ่งทุกคนยังจํากันได้ดีก็ ํ คือ I was born as a Hindu but I will not die Hindu.“ข้าพเจ้าถือ กํา เนิ ดเกิ ด มาเป็ นคนฮิ น ดู แต่ ข้ า พเจ้ า จะไม่ ตายอย่างฮินด” ู
  • 116. ดร.อมเบดการประกาศว่าจะเปลี่ยนศาสนา ั ็ ์ เป็นพทธตงแต่ พ.ศ.2478 แต่กไม่ได้เปลี่ยน ุ ั้ ็ จน กระทง วนที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2499 ท่าน ั่ ั นํ าผู้ ค น เชื่ อถื อ ศร ั ท ธาท่ านจ ํ า นวนกว่ า 400,000 คน ทําการเปลี่ยน ศาสนาครัง ้ ใหญ่ ที่คนอินเดียเรียกว่า the massive religious con versionเปลี่ยน จาก ฮิ น ดู ม า เ ข้ า พุ ท ธ ที่ เ มื อ ง น า ค ปู ร์
  • 117. นับถือพุทธได้ไม่ทนถึง 2 ั เดือน ดร.อมเบด ั ็ การ์ก็จากโลกนี้ ไปเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2499 ตงแต่นันเป็นต้นมา กยงมีฮินดู ั้ ้ ็ ั ค่ อ ย ๆ ท ย อ ย เ ข้ า ม า อ า ศ ั ย ใ ต้ ร่ ม พระพุทธศาสนาอยู่บ้างแต่ ไม่มาก โบสถ์ฮินดู ในรฐทมิฬนาฑูทางภาคใต้หลายแห่ง ั