SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  87
Télécharger pour lire hors ligne
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกียวกับภาษาไทย
                     ่

                บรรยายโดย
         พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
น.ธ.เอก, ป.ธ.๘, พธ.บ. (อังกฤษ), พธ.ม. (บาลี),
          พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต

                                ่
„ ภาษาบาลีและสันสกฤตจัดอยูในตระกูลภาษาอินเดีย ‟
  ยุโรป (indo ‟ European) ซึ่ งเป็ นตระกูลภาษาที่มีรูป
  วิภตติและปั จจัย (Inflectional Language) พวกอารยัน
      ั
  ได้นาเข้ามาในอิ นเดี ยเมื่ อประมาณปี ที่ ๑,๕๐๐ ก่ อ น
  คริ สต์ ศ ัก ราช นั ก ปราชญ์ ท างภาษาได้แ บ่ ง ภาษา
  ตระกูลอารยันในอินเดียนี้ออกเป็ น ๓ สมัย ดังนี้
„ ๑. ภาษาสมัยเก่า (Old Indian) หมายถึงภาษาที่ใช้ใน
  คัมภีร์พระเวท (Vedic Language) ได้แก่ คัมภีร์ฤคเวท
  ยชุรเวท สามเวท และอถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์
  อุ ป นิ ษ ัท ซึ่ งเป็ นคัม ภี ร์ สุ ด ท้า ยของคัม ภี ร์ พ ระเวท
  (เวทานต์) ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์ต่างๆ เหล่านี้ จะมีความ
  เก่ า แก่ ล ดหลั่น กัน มาตามล าดั บ ภาษาสั น สกฤต
  (Classical Sanskrit) ซึ่งเป็ นภาษาที่ขดเกลาอย่างดีของ
                                              ั
็ั ่
„ ปาณิ นิกจดอยูในสมัยนี้
„ ๒. ภาษาสมัยกลาง (Middle Indian) ได้แก่ ภาษา
  ปรากฤต ซึ่ งเป็ นภาษาถิ่ น ชาวอารยัน ที่ ใ ช้ กัน ใน
  ท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศอินเดีย เช่น ภาษามาคธี มหา
  ราษฎรี เศารเสนี เป็ นต้น ภาษาสมัย นี้ มี ล ัก ษณะ
  โครงสร้ า งทางเสี ย ง และโครงสร้ า งทางไวยากรณ์
  แตกต่างไปจากภาษาในสมัยเก่ามาก อนึ่งภาษาเหล่านี้
„ นอกจากจะเรี ยกว่าภาษาปรากฤตแล้ว ยังมีชื่อเรี ยกอีก
  อย่างหนึ่ งว่า “ภาษาการละคร” เพราะเหตุที่นาไปใช้
  เป็ นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤต
  ด้วย
„ ๓. ภาษาสมัยใหม่ (Modern Indian) ได้แก่ ภาษาต่างๆ
  ในปั จจุบน เช่ น ภาษาฮินดี เบงกาลี ปั ญจาบี มราฐี พิ
            ั
  หารี เนปาลี เป็ นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสื บ
„ ภาษาปรากฤต แต่ มี ล ัก ษณะของภาษาผิ ด กัน มาก
  เพราะมีภาษาตระกูลอื่นที่ ไม่ได้สืบไปจากภาษาของ
  ชาวอารยัน เข้า ไปผสมปะปนกัน มากบ้า งน้ อ ยบ้า ง
  แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

„ ที่มา : พระยาอนุมานราชธน, นิรุกติศาสตร์ ภาค ๑ หน้า ๔๙-๕๔.
„ อ้างใน ผศ. ปรี ชา ทิชินพงศ์, บาลี-สันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย, หน้า ๑.
ประวัติภาษาสันสกฤต

„ ในช่วงระยะเวลา ๑,๐๐๐ ปี ที่ชาวอารยันอพยพเข้ามา
  ในอิ น เดี ย นั้น ท าให้ ภ าษาและวัฒ นธรรมของชาว
  อารยันปะปนกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวพื้นเมือง
             ่
  ที่อาศัยอยูในประเทศอินเดีย อารยันรับเอาเทพเจ้าบาง
                                   ั
  องค์ของคนพื้นเมืองมารวมไว้กบเทพเจ้าของตนด้วย
  เช่ น ปศุบดี อันเป็ นภาคหนึ่ งของพระศิ วะและความ
  เชื่อต่างๆ ที่ปรากฏในคัมภีร์อถรรพเวท ตลอดจนภาษา
„ ที่ใช้ในคัมภีร์พระเวทหมวดหลังๆ มีร่องรอยของภาษา
  พื้นเมืองเข้าไปปะปนอยู่ดวยมาก ข้อพิสูจน์ คือ เมื่ อ
                             ้
  เวลาผ่านไปประมาณ ๓๐๐ ปี ความแตกต่างของภาษา
  ก็เกิดขึ้นจนทาให้อารยัน ต้องแต่งคัมภีร์ยชุรเวท เพื่อ
  อธิบายบทสวดของฤคเวท
„ ระยะ ๑,๕๐๐ ปี ก่ อ นคริ ส ตกาลนี้ เอง ปราชญ์ช าว
  อารยันคนหนึ่ง ชื่อ “ปาณิ นิ” มีความเห็นว่าหากปล่อย
„ ให้ภาษาถิ่ นเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาพระเวทมากขึ้ น
  จะทาให้ลกษณะดั้งเดิมของภาษาอารยันเสี ยไป จึงได้
           ั
  เขียนตาราไวยากรณ์ข้ ึนเล่มหนึ่ ง ชื่ อว่า “อัษฎาธฺ ยายี”
  แปลว่ า “คั ม ภี ร์ แปดบท” อธิ บ ายกฏเกณฑ์ แ ละ
  โครงสร้ างของภาษาพระเวทเสี ย ใหม่ ให้ชื่อ ภาษาที่
                         ่
  จัดระบบใหม่แล้วนี้ วา “สันสกฤต” ซึ่ งแปลว่า ขัดเกลา
  แล้ว, ทาให้ดีแล้ว เพื่อให้แตกต่างจากภาษาปรากฤตที่
„ วิวฒนาการมาตามธรรมชาติต้ งแต่เป็ นภาษาพระเวท
     ั                     ั
  และคลี่ ค ลายออกเป็ นภาษาต่ า งๆ ของอิ น เดี ย ใน
  ปัจจุบน
        ั
ประวัติภาษาบาลี

„ ภาษาบาลี เ ป็ นภาษาปรากฤต (ที่ วิว ฒนาการมาจาก
                                     ั
  ภาษาพระเวท) ในยุคกลางของอินเดีย ภาษาปรากฤตนี้
  แบ่งออกเป็ น ๓ สมัย คือ
„ ๑. ภาษาปรากฤตสมัยเก่า หรื อภาษาบาลี (Old Prakrit
  or Pali) ซึ่งประกอบด้วย
„ ก. ภาษาถิ่นในจารึ กพระเจ้าอโศก ประมาณกลาง
„ ศตวรรษที่ ๓ ก่ อนคริ สตกาล ถึ งพุทธศตวรรษที่ ๒
  (๒๕๐ ปี ก่อนคริ สตกาล)
„ ข. ภาษาบาลี ใ นพระไตรปิ ฎกของหิ น ยาน คัม ภี ร์
  มหาวงศ์ และคาถาในชาดก
„ ค. ภาษาในคัมภีร์ทางศาสนาไชนะ
„ ง. ภาษาในบทละครของอัศวโฆษะ
„ ๒. ภาษาปรากฤตสมัยกลาง ซึ่งประกอบด้วย
„ ก. ภาษามหาราษฎรี ที่ปรากฏในลานาท้องถิ่นแถบที่
  ราบสูงเดดคาน
„ ข. ภาษาปรากฤตในบทละครของกาลิทาส เช่น ภาษา
  มาคธี ภาษาเศารเสนี ฯลฯ รวมทั้งภาษาปรากฤตใน
  ตาราไวยากรณ์
„ ค. ภาษาถิ่นของศาสนาไชนะในยุคหลัง
„ ง. ภาษาไปศาจี
„ ๓. ภาษาอปภฺ รมฺ ศ (Apabhramsa) พบในตาราประมาณ
  คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๐ เป็ นระยะสุ ดท้ายของภาษาในยุค
  กลางของอินเดีย
„ ภาษาปรากฤตสมัยเก่านี้ เองได้ถูกนักไวยากรณ์นามา
  วางกฏเกณฑ์ ซึ่ งได้รั บ อิ ท ธิ พ ลจากกฏเกณฑ์ ท าง
  ไวยากรณ์ ข องสั น สกฤต และใช้บ ัน ทึ ก พุ ท ธวจนะ
  ภาษาบาลีจึงเป็ นภาษาลักษณะเดียวกับภาษาสันสกฤต
  คือ เป็ นภาษาสังเคราะห์ (Synthetic Language) ได้แก่
  ภาษาที่สร้างขึ้น มิใช่ภาษาที่เกิดเองตามธรรมชาติ นัก
  ภาษาต่างก็ยงไม่สามารถลงความเห็นได้แน่นอนว่า
              ั
„ ภาษาบาลีถูกสร้ า งขึ้นจากภาษาปรากฤตภาษาใด ไม่
  ทราบ ทราบแต่ เ พี ย งว่ า โครงสร้ างของภาษาบาลี
  ใกล้ เ คีย งกับภาษาอรรธมาคธี ที่ เป็ นภาษาปรากฤต
  ประจาศาสนาไชนะ
„ ภาษาบาลีถูกนามาใช้ บันทึก พระพุทธวจนะเป็ นลาย
  ลักษณ์ อักษร เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๓ ปรากฏ
  หลักฐานเป็ นครั้งแรกในจารึกพระเจ้ าอโศกมหาราช
„ ถือ เป็ นภาษาประจาพระพุทธศาสนานิก ายหิ น ยาน สว่ น
  พระพุทธศาสนานิกายมหายานใช้ ภาษาสั นสกฤตบันทึกพระ
  พุทธวจนะ
„ ที่มา : Alfred C. Woolner, Introduction to Prakrit, Motilal Banarsidass, 1975, P.
  73,
„ อ้างใน สุ ภาพร มากแจ้ง, ภาษาบาลี – สั นสกฤตในภาษาไทย, ๒๕๓๕, หน้า๒-๔.
อุปมาอุปไมยภาษาบาลีและสั นสกฤต

„ นักภาษาศาสตร์ ของอินเดียจึงเปรียบภาษาบาลีเสมือน
  หนึ่ ง กระแสธารที่ ไ หลมาตั้ ง แต่ ส มั ย พระเวทจนถึ ง
  ปั จ จุ บัน ส่ วนภาษาสั น สกฤตนั้ น ได้ รับการอุป มาให้
  เป็ นบึงใหญ่ ซึ่งถึงแม้ ว่า จะมีนาขังอยู่มากมาย แต่ ก็ไม่
                                   ้
  มีการไหลถ่ ายเทไปที่ไหน หรือมิฉะนั้นก็เปรียบภาษา
  สั น สกฤตกั บ ภาษาบาลี ใ ห้ เป็ นสองสาวลู ก พ่ อ แม่
  เดียวกัน ภาษาบาลีน้ ันพอเติบโตขึนก็มเี หย้ ามีเรือน
                                       ้
„ ได้ลูก ได้ห ลานสื บตระกูล กันต่ อ ไป ส่ ว นสัน สกฤต
  พอใจที่จะดารงตนเป็ นสาวแก่ตลอดมา ด้วยเหตุที่เป็ น
  พี่ น้อ งท้อ งเดี ย วกันเช่ นนี้ สั น สกฤตกับ บาลี จึง มี รู ป
                                             ่
  โฉมหน้าตาละม้ายคล้ายคลึงกันถึงแม้วาเมื่อพูดถึงการ
  ตกแต่งร่ างกายแล้วทั้งสองอาจจะมีวิธีการและรสนิ ยม
  แตกต่างกันอยูบาง  ่ ้
สาเหตุทภาษาบาลีและสั นสกฤตเข้ ามาในภาษาไทย
        ี่

„ ในซี กโลกตะวันออก อินเดียได้ ชื่ อว่ าเป็ นประเทศที่
  เจริ ญรุ่ งเรื อ งมาแต่ ค รั้ ง โบราณกาล ชนชาติต่า งๆ ใน
  บริ เวณใกล้ เคียงโดยเฉพาะแถบเอเชี ยตะวันออกเฉียง
  ใต้ ล้ ว นได้ รั บ อิท ธิ พ ลแห่ ง ความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งของ
  อินเดียแทบทุกด้ าน
„ ประเทศไทยเป็ นชาติหนึ่ งที่อ ยู่ ในข่ า ยได้ รั บอิทธิ พ ล
  แห่ งความเจริญรุ่งเรืองแทบทุกด้ านจากอินเดีย
„ โดยเฉพาะด้ านภาษา มีผู้กล่ าวว่ า “ถ้ าเปิ ดพจนานุกรม
  ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานดู แ ล้ ว จะเห็ น ว่ า มี ค าที่ เ รา
  นามาจากภาษาบาลีสันสกฤตอยู่ต้ังครึ่งค่ อนเล่ ม”
„ ตามหลั ก ฐานโบราณคดี พ บว่ า ศาสนาพุ ท ธนิ ก าย
  หินยานเข้ า มาสู่ ดินแดนสุ วรรณภู มิเ ป็ นครั้ ง แรกเมื่อ
  ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ (คริ สต์ ศตวรรษที่ ๗)
  โดยประมาณจากอายุจารึกภาษาบาลีเก่ าทีสุดทีขุดพบที่
                                            ่ ่
  บริ เ วณนครปฐม หรื อ อาณาจั ก รทวาราวดี ใ นสมั ย
  โบราณ คือ จารึ กคาถา เย ธมฺมา แต่ ถ้าจะยึดหลักฐาน
  ทางประวัติศาสตร์ ศาสนาพุทธนิกายหินยานควรจะ
„ เข้ ามาก่ อนหน้ านั้น คือ ประมาณพุทธศตวรรษ
„ ที่ ๓ เมื่อพระเจ้ าอโศกมหาราชส่ งสมทูตออกเผยแพร่
  พุทธศาสนา สมณทูตสายที่มาสู่ ดินแดนสุ วรรณภูมิ คือ
  พระโสณเถระ และพระอุตรเถระ
„ จารึ ก ภาษาสั น สกฤตเก่ า ที่ สุ ด ในประเทศไทย พบที่
  นครศรีธรรมราช เมือพุทธศตวรรษที่ ๑๔ พ.ศ. ๑๓๑๘
                       ่
„ (ค.ศ. ๗๗๕) มีเ นื้อ ความสรรเสริ ญพระเจ้ า แผ่ นดิน
  แห่ งอาณาจักรศรีวิชัย และกล่ าวถึงการสร้ างปราสาท
  อิ ฐ สามหลั ง บู ช าพระโพธิ สั ตว์ ปั ท มปาณี บู ช า
  พระพุ ท ธเจ้ า และพระโพธิ สั ต ว์ วั ช รปาณี แสดง
  อิทธิพลของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน
„ ที่กล่ าวมาแล้ วข้ างต้ นเป็ นเรื่ องราวของภาษาบาลีและ
  สั นสกฤต ในดินแดนก่ อนที่ชนชาติไทยจะปรากฏ ซึ่ง
  จากหลักฐานที่กล่ าวมายังไม่ อาจสรุ ปได้ อย่ างแน่ ชัดว่ า
  ภาษาบาลี หรือภาษาสั นสกฤตเข้ ามาสู่ ดินแดนสุ วรรณ
  ภูมิก่อนกัน เพราะยังอาจมีหลักฐานทางโบราณคดีที่
  เก่ ากว่ านั้น ซึ่งยังขุดค้ นไม่ พบอิทธิพลของภาษาบาลี –
  สั นสกฤตในภาษาไทย ปรากฏให้ เห็นครั้งแรกสุ ดใน
„ ศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ ๑ ของพ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราช
  จารึ กเมื่ อ ปี พ .ศ. ๑๘๒๖ พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๙
  (คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๓) ปรากฏทั้ ง ภาษาบาลี แ ละ
  สั นสกฤต อิทธิพลของภาษาสั นสกฤตดูจะมีมากกว่ า
  คาในจารึกทีเ่ ป็ นภาษาสั นสกฤตอย่ างชัดเจน ได้ แก่ ศรี
  อินทราทิตย์ ตรีบูร ศรัทธา พรรษา พาทย์ ปราชญ์ ไตร
  ศรีธรรมราช ปราสาท สรีตพงศ์ ศรีสัชชนาลัย ศก
„ ธรรม สถาบก ศรี รั ต นธาตุ สุ พรรณภู มิ สมุ ท ร
  นอกจากนีเ้ ป็ นคาทีใช้ ปนกันทั้งภาษาบาลีและสั นสกฤต
                     ่
  เป็ นส่ วนใหญ่

„ ที่ มา : จิ ระพัฒน์ ประพันธ์วิทยา, “การเข้ามาของภาษาบาลี -สันสกฤตใน
  ประเทศไทย”, เอกสารอัดสาเนาประกอบการสัมมนา อิทธิ พลของภาษาบาลี
  และสันสกฤตที่มีต่อภาษาไทย, อ้างใน สุ ภาพร มากแจ้ง , เรื่ องเดียวกัน, หน้า
  ๕-๖.
สรุ ปสาเหตุ ๓ ประการ

„ ๑. ด้ านศาสนา อินเดียเป็ นชาติที่เจริ ญรุ่ งเรื อง และได้
  ทาให้ ความเจริญรุ่ งเรืองแพร่ กระจายในบริ เวณแหลม
  สุ ว รรณภู มิ ม าแต่ อ ดี ต โดยเฉพาะทางศาสนาชาว
  อินเดียเป็ นผู้ นาเข้ า มาทั้งศาสนาพราหมณ์ และพุทธ
  ศาสนา ประเทศไทยได้ ยอมรั บ เอาศาสนาพุท ธเป็ น
  ศาสนาประจ าชาติ และรั บ เอาคติ ข องพราหมณ์ ม า
  ปฏิบติในชีวตประจาวันปนอยู่ในลัทธิประเพณี
         ั      ิ
„ เกือบทุกอย่ าง ผลทีติดตามมาจากการนับถือศาสนาทั้ง
                      ่
  ๒ ก็คือ ภาษาที่เ กี่ยวข้ อ งกับศาสนาทั้ ง ๒ ได้ เข้ ามา
  ปะปนอยู่ ในภาษาไทยมากมาย ภาษาสั น สกฤต
  เกี่ยวข้ องกับศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนานิกาย
  อาจริ ยวาท ส่ วนภาษาบาลีเกี่ยวข้ องกับพุทธศาสนา
  นิ ก ายเถรวาทถ้ อ ยคาในภาษาทั้ง ๒ นี้จึง มี ป ะปนอยู่
  อย่ างดาษดื่น บางคาเราใช้ กนสนิทปาก
                               ั
„ จนลืมนึกไปว่ าเป็ นคาที่เรารั บมาจากภาษาทั้ง ๒ เช่ น
  บาป บุ ญ กุ ศ ล นรก สวรรค์ ทาน ศี ล เมตตา กรุ ณ า
  คาถา พุทโธ โมโห เวทนา สั งขาร เป็ นต้ น
„ ๒. ด้ า นวรรณคดี วรรณคดี อิ น เดี ย มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ
  วรรณคดีไทยเป็ นอย่ างยิ่ง ทั้งที่เป็ นวรรณคดีสันสกฤต
  และวรรณคดีบาลี วรรณคดีสันสกฤตที่สาคัญ คือ รา
  มายณะ และมหาภารตะ ส่ วนวรรณคดีบาลีที่สาคัญ คือ
  พระไตรปิ ฎก เมื่อวรรณคดีเหล่ านี้เข้ ามาแพร่ หลายใน
  ประเทศไทย ก็ทาให้ ถ้อยคาภาษาที่ใช้ อยู่ในวรรณคดี
  เหล่ านั้นแพร่ หลายในภาษาไทยตามไปด้ วย ทั้งทีเ่ ป็ น
• ชื่อตัวละคร และศัพท์ ที่ใช้ ในวงการวรรณคดี เช่ น ราม
  ลักษณ์ สี ดา ทศกัณฐ์ ครุ ฑ กินนร คนธรรพ์ หิมพานต์
  พระสุ เมรุ ไกรลาส อโนดาต ฉัททันต์ ประพันธ์ ฉันท์
  กาพย์ กวี เป็ นต้ น
• ๓. ด้ า นรั ฐ ศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ หรื อ วิ ช าว่ า ด้ ว ยการ
  ปกครองแบบอิ น เดี ย มี อิ ท ธิ พ ลสู งต่ อระบบการ
  ปกครองของไทยมาแต่ ค รั้ ง อดีต การปกครองของ
  อินเดียนั้นมีพราหมณ์ ปุโรหิตเป็ นทีปรึกษาของพระเจ้ า
                                       ่
  แผ่ นดิน ตาราเกียวกับการปกครองที่พราหมณ์ ปุโรหิต
                      ่
  เหล่ านี้ใช้ เป็ นคัมภีร์ภ าษาสั นสกฤต ดัง นั้น อิทธิ พ ล
  ของภาษาสั นสกฤตทางด้ านรัฐศาสตร์ จึงมา
• จากพราหมณ์ ปุโรหิตเหล่ านั้น ตัวอย่ างคา เช่ น ราชา
  ราชิ นี กษัตริย์ ราชโอรส กฎมณเฑียรบาล ราชบัลลังก์
  อภิเษก เสนา อมาตย์ ตรี ปวาย ฉั ตรมงคล พืชมงคล
  ตลอดจนการตั้งพระนามพระมหากษัตริย์ ราชทินนาม
  ชื่อตาแหน่ ง ชื่อปราสาท พระราชวัง เป็ นต้ น
• สรุ ป สาเหตุที่ภาษาบาลีและสั นสกฤตเข้ ามาเกี่ยวข้ อง
  กั บ ภาษาไทย มี ส าเหตุ เ ดี ย ว คื อ ความสั มพั น ธ์
  แลกเปลียนทางวัฒนธรรม
          ่
ระบบเสี ยงภาษาบาลีและสั นสกฤต

• ภาษาบาลีและสั นสกฤต มีหน่ วยเสี ยงอยู่ ๒ ประเภท
  คื อ หน่ ว ยเสี ย งสระและหน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะ ไม่ มี
  หน่ วยเสี ยงวรรณยุกต์ เหมือนภาษาไทย
หน่ วยเสี ยงสระ

• หน่ วยเสี ยงสระบาลีมี ๘ หน่ วยเสี ยง ส่ วนสั นสกฤตมี
  ๑๓ หน่ ว ยเสี ย ง ระบบเสี ย งสระของภาษาบาลีจึ ง มี
  ความซับซ้ อนน้ อยกว่ า เพราะมีจานวนน้ อยกว่ าถึง ๕
  หน่ วยเสี ยง
๑. หน่ วยเสี ยงสระบาลี

• ห น่ ว ย เ สี ย ง ส ร ะ บ า ลี มี ๘   รัสสระ   ทีฆสระ   ฐานทีเกิด
  หน่ วยเสี ยง แบ่ งเป็ นสระเดี่ยว
  ๖ หน่ วยเสี ยง และสระประสม            อะ       อา       ลาคอ
  ๒ หน่ วยเสี ยง                        อิ       อี       เพดาน
• ก. สระเดี่ ยว ๖ หน่ ว ยเสี ยง มี      อุ       อู       ริมฝี ปาก
  ลั ก ษณะเสี ย งและฐานที่ เ กิ ด
  ต่ างกัน ดังนี้
• ข. สระประสม ทั้ง ๒ หน่ วยเสี ยง มีลักษณะเสี ยงและ
  ฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้
• เอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ อิ เกิดจาก
  ฐานลาคอกับเพดาน
• โอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ อุ เกิด
  จากฐานลาคอกับริมฝี ปาก
• สระประสมทั้ง ๒ หน่ วยเสี ยง ตามปกติมีเสี ยงเป็ นทีฆะ
  คือ ออกเสี ย ง ๒ มาตรา แต่ ถ้ า หน่ ว ยเสี ย งทั้ ง ๒ นี้ ไป
  ปรากฏกั บ ค าที่ มี ตั ว สะกดตั ว ตาม เสี ย งจะออกเป็ น
  รัสสระ เช่ น
• เตโช       เอ และ โอ เป็ น ทีฆสระ
• เมตฺตา เอ                  เป็ น รัสสระ
• โอฏฺฐ โอ                   เป็ น รัสสระ
๒. หน่ วยเสี ยงสระสั นสกฤต

• หน่ วยเสี ยงสระสั นสกฤตมี ๑๔ หน่ วยเสี ยง เฉพาะทีมี    ่
  ลักษณะเสี ยงและฐานที่เกิดตรงกันกับสระในภาษาบาลี
  ๘ หน่ วยเสี ยง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ และ โอ ส่ วนอีก ๖
  หน่ วยเสี ยงทีเ่ พิมไปจากภาษาบาลีมลกษณะเสี ยงและ
                     ่                   ีั
  ฐานที่เกิด ดังนี้
• ก. สระเดี่ย ว มี ๔ หน่ ว ยเสี ย ง แต่ ล ะเสี ย งมีลัก ษณะ
  เสี ยงและฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้
• ฤ เป็ นรัสสระ เกิดจากฐานปุ่ มเหงือก
• ฤา เป็ นทีฆสระ เกิดจากฐานปุ่ มเหงือก
• ฦ เป็ นรัสสระ เกิดจากฐานฟัน
• ฦา เป็ นทีฆสระ เกิดจากฐานฟัน
• ข. สระประสม มี หน่ ว ยเสี ยง แต่ ล ะเสี ย งมีลัก ษณะ
  เสี ยงและฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้
• ไอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ เอ
• เกิดจากฐานลาคอกับเพดาน
• เอา เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ โอ
• เกิดจากฐานลาคอกับริมฝี ปาก
จัดเข้ าเป็ นพวกหรือวรรณะได้ ตามฐานที่เกิด
             สระเดี่ยว            สระประสม
วรรณะ        รัสสระ      ทีฆสระ   คูณ          พฤทธิ
อะ วรรณะ     อะ          อา       เอ (อะ+อิ)   ไอ (อะ+เอ)
อิ วรรณะ     อิ          อี       โอ (อะ+อุ)   เอา (อะ+โอ)
อุ วรรณะ     อุ          อู
ฤ วรรณะ      ฤ           ฤา
ฦ วรรณะ      ฦ           ฦา
ฦา วรรณะ
ข้ อควรจา

• ๑. เนื่องจากสระ เอ ของภาษาบาลีและสั นสกฤตเมื่อมี
  ตั ว สะกดตั ว ตาม จะออกเสี ย งเป็ นรั ส สระ เมื่อ ไทย
  รับคาบาลีสันสกฤตบางคาแล้ วมาเปลี่ยนรู ปเป็ นสระ เอ
  มีตัวสะกด เราจึงไม่ นิยมใส่ ไม้ ไต่ คู้ท้งทีคาเหล่ านั้นออก
                                           ั ่
  เสี ยงสั้ น เช่ น
• วชฺ ร           เป็ น เพชร
• ปญฺจ           เป็ น เบญจ
• วชฺ ฌฆาต       เป็ น เพชฌฆาต
• อนิจฺจอนาถ     เป็ น อเนจอนาถ

• ๒. เนื่องจากสระ เอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ
  กับสระ อิ ในการสนธิระหว่ างคาต้ นทีสุดศัพท์
                                     ่
• ด้ วยสระ อะ อา (อะ, อา การั นต์ ) กับคาหลังที่ขึ้นต้ น
  ด้ วยสระ อิ อี จึงมักได้ รูปเป็ นสระ เอ เช่ น
• ปรม         บวก อีศวร เป็ น ปรเมศวร
• นร บวก อินทร                เป็ น นเรนทร
• มหา         บวก อีศวร เป็ น มเหศวร
• ๓. เนื่องจากสระ โอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ
  กับสระ อุ ในการสนธิระหว่ างคาต้ นที่สุดศัพท์ ด้วยสระ
  อะ อา กับคาหลังที่ขึนต้ นด้ วยสระ อุ อู จึงมักได้ รูปเป็ น
                      ้
  โอ เช่ น
• ราชา       บวก อุบาย เป็ น ราโชบาย
• อรุ ณ      บวก อุทย   ั        เป็ น อรุโณทัย
• มหา        บวก อุฬาร เป็ น มโหฬาร
• ๔. เนื่องจากสระ ไอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ
  กับสระ เอ ซึ่งเป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ
  อิ อีกทีหนึ่ง สระ ไอ จึงมีความซั บซ้ อนมาก และไม่ มี
  ในภาษาบาลีด้วย ดังนั้นคาที่สันสกฤตใช้ ไอ จึงเป็ น เอ
  ในบาลี เช่ น
• ไมเรย    เป็ น เมรย
• ไจตฺย    เป็ น เจติย
• ไปรษฺย   เป็ น เปสฺ ส
• ๕. เนื่องจากสระ เอา เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ
  กับสระ โอ ซึ่งเป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ
  อุ อีกทีหนึ่ง สระ โอ จึงมีความซั บซ้ อนมาก และไม่ มี
  ในภาษาบาลีด้วย ดังนั้นคาทีสันสกฤตใช้ เอา จึงเป็ น โอ
                              ่
  ในบาลี เช่ น
• เปารุษ เป็ น โปริส
• เสาหิตฺย เป็ น โสหิจฺจ
• อกฺเษาหิณี เป็ น อกฺโขหิณี
• ๖. เนื่องจากสระที่อยู่ในวรรณะเดียวกันจะมีคุณสมบัติ
  ที่ เ ป็ นฐานที่ เ กิ ด ร่ วมกั น ดั ง นั้ น สระที่ อ ยู่ ใ นวรรณะ
  เดียวกันเหล่ านั้น จึงมักกลายเสี ยงกันได้ ง่าย โดยเฉพาะ
  ในการสร้ างศัพท์ ด้วยวิธีกิตก์ (ธาตุ บวก ปัจจัย) ที่ต้อง
  เพิมกาลังให้ กบสระ เช่ น
       ่            ั
• วิทฺ บวก   ณ     เป็ น   เวท
• ลิขฺ บวก   ณ     เป็ น   เลข
• วิทฺ บวก   ณี    เป็ น   เวที
• ยุชฺ       บวก   ณ       เป็ น โยค
• ภุชฺ บวก   ณี    เป็ น   โภคี
• รุชฺ       บวก   ณ       เป็ น โรค
หน่ วยเสี ยงพยัญชนะ

• หน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะภาษาบาลี มี ๓๓ หน่ ว ยเสี ย ง
  ส่ วนของภาษาสั นสกฤตมี ๓๕ หน่ วยเสี ยง มากน้ อย
  กว่ ากัน ๒ หน่ วยเสี ยง คือ ศ ษ นอกจากนั้นมีตรงกัน
  ดังนี้
• ๑. หน่ วยเสี ยงพยัญชนะบาลี มี ๓๓ หน่ วยเสี ยง แบ่ ง
  ตามคุณสมบัติของเสี ยงได้ ๒ พวกใหญ่ ๆ ดังนี้
• ก. พยัญชนะวรรค มี ๒๕ หน่ วยเสี ยง ได้ แก่ พยัญชนะ
  ในแถวที่ ๑ – ๕ ทุกวรรค พยัญชนะในแต่ ละแถว
  เหล่ านี้ มีคุณสมบัติของเสี ยงตรงกันและเกิดขึ้นครบ
  ทุ ก ฐานกรณ์ เช่ น พยัญชนะในแถวที่ ๑ มีคุ ณ สมบัติ
  ของเสี ยงเป็ น อโฆษะ สิ ถิล และเกิดขึ้นครบทุ ก ฐาน
  กรณ์ ดังนี้
•ก   เกิดจากฐานกัณฐชะ
•จ   เกิดจากฐานตาลุชะ
•ฏ   เกิดจากฐานมุทธชะ
•ต   เกิดจากฐานทันตชะ
•ป   เกิดจากฐานโอฏฐชะ
• สาเหตุทเี่ รียกว่ า พยัญชนะวรรค เพราะพยัญชนะแต่
  ละแถวมีคุณสมบัติของเสี ยงตรงกันและเกิดขึนจาก
                                           ้
  ฐานกรณ์ ครบทั้ง ๕
แผนภูมิ

         ลักษณะเสี ยง       อโฆษะ            โฆษะ
ฐานกรณ์                 สิ ถิล ธนิต   สถิล    ธนิต   นาสิ ก
กัณฐชะ (ลาคอ)              ก      ข    ค       ฆ       ง
ตาลุชะ (เพดาน)             จ      ฉ    ช       ฌ      ญ
มุทธชะ (ปุ่ มเหงือก)     ฏ        ฐ    ฑ       ฒ      ณ
ทันตชะ (ฟัน)              ต       ถ    ท       ธ      น
โอฏฐชะ (ริมฝี ปาก)       ป        ผ    พ       ภ      ม
• ข. พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค
• พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค มี ๘ หน่ วยเสี ยง คือ ย
  รลวสหฬอ
• พยัญชนะเหล่ านีมคุณสมบัติของเสี ยงที่เกิดขึนไม่ ครบ
                 ้ ี                         ้
  ทุกฐานกรณ์ ดังนี้
•ย   เป็ นเสี ยงอรรธสระ โฆษะ   เกิดฐานตาลุชะ
•ร   เป็ นเสี ยงโฆษะ           เกิดฐานมุทธชะ
•ล   เป็ นเสี ยงโฆษะ           เกิดฐานทันตชะ
•ว   เป็ นเสี ยงอรรธสระ โฆษะ   เกิดฐานโอฏฐชะ
•ส   เป็ นเสี ยงอุสุม อโฆษะ    เกิดฐานทันตชะ
• ห เป็ นเสี ยงโฆษะ   เกิดฐานกัณฐชะ
• ฬ เป็ นเสี ยงโฆษะ   เกิดฐานมุทธชะ
• อ เป็ นเสี ยงโฆษะ   เกิดฐานกัณฐชะ
ความแตกต่ างระหว่ างภาษาไทยกับบาลีและ
                  สั นสกฤต
• ภาษาบาลี – สั นสกฤต และภาษาไทยแตกต่ างกันด้ วย
  ตระกูลภาษา
• ภาษาไทยอยู่ ในตระกู ล ภาษาค าโดด (Isolating
  Language) มี ลั ก ษณะเด่ น คื อ ค าในภาษาไทยส่ วน
  ใหญ่ เป็ นคาพยางค์ เดียว และสร้ างคาด้ วยวิธีการนาคา
  มารวมกัน
ความแตกต่ างทางระบบเสี ยง

• ภาษาบาลี – สั นสกฤตมีเสี ยงสาคัญ ๒ เสี ยง คือ เสี ยง
  สระ และเสี ยงพยัญชนะ
• ภาษาไทยมีเ สี ย งส าคัญ ๓ เสี ย ง คือ เสี ย งสระ เสี ย ง
  พยัญชนะ และเสี ยงวรรณยุกต์
• ภาษาบาลี – สั นสกฤต อยู่ในตระกูลมีวิภัตติปัจจัย
  (Inflectional Language) ซึ่ งประกอบขึ้นจากธาตุ
  (root) และสร้ างคาด้ วยการนาเอาส่ วนของคามา
  ประกอบเข้ าข้ างหน้ า และข้ างหลังศัพท์
• การที่ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุก ต์ จึง ทาให้ คาบาลี –
  สั น สกฤต ที่ไ ทยรั บ มาส่ วนหนึ่ ง ถู ก ดัด แปลงให้ อ อก
  เสี ยงสะดวก และกลมกลืนกับภาษาไทย โดยเติมเสี ยง
  วรรณยุกต์ ลงไป เช่ น พาห > พ่ าห์ เทห > เท่ ห์ โลห
  > โล่ พุทโธ > พุทโธ่
ความแตกต่ างของสระ

• ก. ความแตกต่ างของเสี ยงสระ
• ภาษาบาลีมีเ สี ยงสระ ๘ เสี ยง สั นสกฤตมี ๑๔ เสี ย ง
  ส่ วนเสี ยงสระในภาษาไทยมี ๒๔ เสี ยง (ไม่ นับสระเกิน
  อีก ๘ เสี ยง) ซึ่ งซ้าเสี ยงกับสระบาลี – สั นสกฤต
  ทั้งหมด และยังมีเกินกว่ านั้นอีก ๑๖ เสี ยง คือ มีเสี ยง
  สระเดี่ยวมากกว่ า ๑๐ เสี ยง ได้ แก่ อึ อื เอะ เอ แอะ แอ
  เออะ เออ โอะ เอาะ ออ
• เสี ยงสระประสม ๖ เสี ยง ได้ แก่ เอียะ เอีย เอือ ะ เอือ
  อัวะ อัว ทั้งนีมข้อสั งเกต คือ สระ ฤ ฤา ฦ ฦา สั นสกฤต
                 ้ ี
  เป็ นสระเดี่ยว เอ โอ ไอ เอา บาลี – สั นสกฤต เป็ นสระ
  ประสม (Diphthong) ส่ วนภาษาไทย เอ โอ เป็ นสระ
  เดียว ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา เป็ นสระเกิน
      ่
ความแตกต่ างของพยัญชนะ

• ความแตกต่ างของพยัญชนะภาษาไทยกับภาษาบาลี –
  สั นสกฤตนั้น แยกได้ เป็ น ๒ ด้ าน คือ
• ๑. ความแตกต่ างทางเสี ยงพยัญชนะ
• ๒. ความแตกต่ างทางการใช้ พยัญชนะ
ความแตกต่ างของการใช้ สระ

• - ภาษาบาลีต้องลงท้ ายด้ วยเสี ยงสระเสมอ
• - ภาษาสั นสกฤตทั้งสระเดียว และสระประสมมี
                              ่
  พยัญชนะตามได้ ทุกเสี ยง
• - ภาษาไทยทั้งสระเดียว และสระประสมมีพยัญชนะ
                         ่
  ตามได้ ทุกเสี ยงเว้ นเสี ยงสระเกิน อา ไอ ใอ เอา ไม่
  สามารถตามด้ วยเสี ยงพยัญชนะได้
๑. ความแตกต่ างทางเสี ยงพยัญชนะ

• ภาษาบาลี – สั นสกฤต มีเสี ยงพยัญชนะทั้งสิ้น ๓๕
  เสี ยง ๓๕ รูป (บาลีมี ๓๓ เสี ยง ๓๓ รูป)
• ภาษาไทยมี ๒๑ เสี ยง ๔๔ รูป (ปัจจุบนใช้ เพียง ๔๒ รู ป
                                             ั
  ฃ ฅ เลิ ก ใช้ ) มี ท้ั ง เสี ยงที่ ซ้ า และต่ างกั บ บาลี –
  สั นสกฤต
ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สั นสกฤต

          บาลี                 สั นสกฤต
๑. สระมี ๘ ตัว คือ    ๑. สระมี ๑๔ ตัว เพิมจาก
                                         ่
  อะ อา อิ อี            บาลี ๖ ตัว คือ
  อุ อู เอ โอ           ฤ ฤๅ
                        ฦ ฦๅ ไอ เอา
บาลี                  สั นสกฤต
๒. มี พ ยั ญ ชนะ    ๓๓ ๒. มีพยัญชนะ ๓๕ ตัว
ตัว (พยัญชนะวรรค)         เพิมจากภาษาบาลี ๒
                             ่
                       ตัว คือ ศ ษ
                       ยกเว้ น ศอก ศึก เศิก โศก
                       เศร้ า เป็ นภาษาไทยแท้ )
บาลี                   สั นสกฤต
๓. มีตวสะกดตัวตาม
        ั                   ๓. มีตวสะกดและตัวตามไม่
                                   ั
แน่ นอน เช่ น กัญญา จักขุ   แน่ นอน เช่ น กันยา จักษุ
  ทักขิณะ ปุจฉา อัณณพ       ทักษิณ ปฤจฉา วิทยุ
 คัมภีร์ เป็ นต้ น          อัธยาศัย เป็ นต้ น
บาลี                    สั นสกฤต
๔. นิยม                   ๔. นิยม
ใช้ ฬ เช่ น กีฬา จุฬา     ใช้ ฑ เช่ น กรีฑา จุฑา
ครุฬ เป็ นต้ น             ครุฑ
     (จาว่ า กีฬา-บาลี)        (จาว่ า กรีฑา-
                          สั นสกฤต)
บาลี                  สั นสกฤต
๕. ไม่ นิยมควบกลาและ ้   ๕. นิยมควบกลาและล
                                        ้
อักษรนา เช่ น ปฐม        อักษรนา เช่ น ประถม
มัจฉา สามี มิต ฐาน       มัตสยา สวามี มิตร
 ปทุม ถาวร เปม           สถาน ประทุม สถาวร
    กิริยา เป็ นต้ น     เปรม กริยา เป็ นต้ น
บาลี                         สั นสกฤต
๖. นิยม             ๖. นิยมใช้ รร (ร หัน) เช่ น
ใช้ "ริ" เช่ น ภริย ภรรยา จรรยา อัศจรรย์
า จริยา อัจฉริยะ เป็ นต้ น
เป็ นต้ น
                    เนื่องจากแผลงมาจาก รฺ (ร เรผะ) เช่ น
                    วรฺ ณ = วรรณ ธรฺ ม = ธรรม
                    * ยกเว้ น บรร เป็ นคาเขมร
บาลี                   สั นสกฤต
๗. นิยมใช้ ณ นาหน้ าวรรค ๗. นิยม "เคราะห์ " เช่ น
ฏะ เช่ น มณฑล ภัณฑ์ วิเคราะห์ สั งเคราะห์
หรือ ณ นาหน้ า ห เช่ น     อนุเคราะห์ เป็ นต้ น
 กัณหา ตัณหา
ลักษณะเสี ยง อโฆษะ           โฆษะ
ฐานกรณ์              สิ ถิล ธนิต สถิล ธนิต นาสิ ก
กัณฐชะ (ลาคอ)           ก    ข    ค    ฆ     ง
ตาลุชะ (เพดาน)          จ    ฉ    ช    ฌ    ญ
มุทธชะ (ปุ่ มเหงือก) ฏ       ฐ    ฑ    ฒ    ณ
ทันตชะ (ฟัน)           ต     ถ    ท    ธ    น
โอฏฐชะ (ริมฝี ปาก)    ป      ผ    พ    ภ    ม
แผนภูมิสรุ ปหน่วยเสี ยงบาลี สันสกฤต

ลักษณะเสี ยง         พยัญชนะวรรค               พยัญชนะ         สระ
                 อโฆษะ        โฆษะ             เศษวรรค
ฐานกรณ์        สถิล ธนิต สถิล ธนิต นาสิ ก   โฆษะ อโฆษะ   เดี่ยว ประสม
กัณฐชะ         ก ข ค ฆ ง                    ห            อะ อา
ตาลุชะ         จ ฉ ช ฌ ญ                    ย      ศ*    อิ อี  เอ โอ*
มุทธชะ         ฏ ฐ ฑ ฒ ณ                    ร ฬ ษ*       ฤ* ฤา*
ทันตชะ         ต ถ ท ธ น                    ล      ส     ฦา*
โอฏฐชะ         ป ผ พ ภ ม                    ว            อุ อู  โอ เอา*
• ข้ อสั งเกต
„ ๑. พยั ญ ชนะวรรคทั้ ง ๒๕ หน่ วยเสี ย งเป็ นมู ค ะ
  (mutes) คือ เป็ นใบ้ ออกเสี ยงเองไม่ ได้ ต้ องอาศัยสระ
  จึงออกเสี ยงได้ ดังนั้น คาใดที่มีพยัญชนะวรรคเป็ น
  ตัวสะกดและมีพยัญชนะวรรคเป็ นตัวตาม เมื่อเป็ นคา
  ในภาษาไทย เราจึงไม่ ออกเสี ยงตัวสะกด เช่ น
„ สปฺตาห ไทยใช้    สั ปดาห์ อ่ านว่ า สั บ – ดา
„ วิตฺถาร ไทยใช้   วิตถาร อ่ านว่ า วิด – ถาน
„ อคฺนี   ไทยใช้   อัคนี อ่ านว่ า อัก - นี
„ ๒. คาที่มี ศ ษ ส สะกด ตัวอื่นตาม เมื่อเป็ นภาษาไทย
  เราจะออกเสี ยงตัวสะกดมีเสี ยงสระอะ ทั้งนีเ้ พราะ ศ ษ
  ส เป็ นอุสุม จึงมีเสี ยงแทรกออกมา เช่ น
„ วิสฺตาร ไทยใช้ พิสดาร อ่ านว่ า พิด – สะ – ดาน
„ วสฺ ตุ      ไทยใช้ วัสดุ อ่ านว่ า วัด – สะ – ดุ
„ ปุษฺป       ไทยใช้ บุษบา อ่ านว่ า บุด – สะ - บา
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย

Contenu connexe

Tendances

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศKSPNKK
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 

En vedette

ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 

En vedette (20)

บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตาหลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
 
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
 
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติหลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
 
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะหลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 

Similaire à ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยGawewat Dechaapinun
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยWilawun Wisanuvekin
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตGawewat Dechaapinun
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 

Similaire à ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย (20)

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
01
0101
01
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
 
02
0202
02
 
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธตเธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
เธ เธฒเธฉเธฒเธšเธฒเธฅเธต
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 

ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย

  • 1. ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกียวกับภาษาไทย ่ บรรยายโดย พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร น.ธ.เอก, ป.ธ.๘, พธ.บ. (อังกฤษ), พธ.ม. (บาลี), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • 2. ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต ่ „ ภาษาบาลีและสันสกฤตจัดอยูในตระกูลภาษาอินเดีย ‟ ยุโรป (indo ‟ European) ซึ่ งเป็ นตระกูลภาษาที่มีรูป วิภตติและปั จจัย (Inflectional Language) พวกอารยัน ั ได้นาเข้ามาในอิ นเดี ยเมื่ อประมาณปี ที่ ๑,๕๐๐ ก่ อ น คริ สต์ ศ ัก ราช นั ก ปราชญ์ ท างภาษาได้แ บ่ ง ภาษา ตระกูลอารยันในอินเดียนี้ออกเป็ น ๓ สมัย ดังนี้
  • 3. „ ๑. ภาษาสมัยเก่า (Old Indian) หมายถึงภาษาที่ใช้ใน คัมภีร์พระเวท (Vedic Language) ได้แก่ คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอถรรพเวท รวมตลอดทั้งคัมภีร์ อุ ป นิ ษ ัท ซึ่ งเป็ นคัม ภี ร์ สุ ด ท้า ยของคัม ภี ร์ พ ระเวท (เวทานต์) ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์ต่างๆ เหล่านี้ จะมีความ เก่ า แก่ ล ดหลั่น กัน มาตามล าดั บ ภาษาสั น สกฤต (Classical Sanskrit) ซึ่งเป็ นภาษาที่ขดเกลาอย่างดีของ ั
  • 4. ็ั ่ „ ปาณิ นิกจดอยูในสมัยนี้ „ ๒. ภาษาสมัยกลาง (Middle Indian) ได้แก่ ภาษา ปรากฤต ซึ่ งเป็ นภาษาถิ่ น ชาวอารยัน ที่ ใ ช้ กัน ใน ท้องถิ่นต่างๆ ของประเทศอินเดีย เช่น ภาษามาคธี มหา ราษฎรี เศารเสนี เป็ นต้น ภาษาสมัย นี้ มี ล ัก ษณะ โครงสร้ า งทางเสี ย ง และโครงสร้ า งทางไวยากรณ์ แตกต่างไปจากภาษาในสมัยเก่ามาก อนึ่งภาษาเหล่านี้
  • 5. „ นอกจากจะเรี ยกว่าภาษาปรากฤตแล้ว ยังมีชื่อเรี ยกอีก อย่างหนึ่ งว่า “ภาษาการละคร” เพราะเหตุที่นาไปใช้ เป็ นภาษาพูดของตัวละครบางตัวในบทละครสันสกฤต ด้วย „ ๓. ภาษาสมัยใหม่ (Modern Indian) ได้แก่ ภาษาต่างๆ ในปั จจุบน เช่ น ภาษาฮินดี เบงกาลี ปั ญจาบี มราฐี พิ ั หารี เนปาลี เป็ นต้น ภาษาเหล่านี้แม้จะเข้าใจกันว่าสื บ
  • 6. „ ภาษาปรากฤต แต่ มี ล ัก ษณะของภาษาผิ ด กัน มาก เพราะมีภาษาตระกูลอื่นที่ ไม่ได้สืบไปจากภาษาของ ชาวอารยัน เข้า ไปผสมปะปนกัน มากบ้า งน้ อ ยบ้า ง แล้วแต่เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ „ ที่มา : พระยาอนุมานราชธน, นิรุกติศาสตร์ ภาค ๑ หน้า ๔๙-๕๔. „ อ้างใน ผศ. ปรี ชา ทิชินพงศ์, บาลี-สันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย, หน้า ๑.
  • 7. ประวัติภาษาสันสกฤต „ ในช่วงระยะเวลา ๑,๐๐๐ ปี ที่ชาวอารยันอพยพเข้ามา ในอิ น เดี ย นั้น ท าให้ ภ าษาและวัฒ นธรรมของชาว อารยันปะปนกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวพื้นเมือง ่ ที่อาศัยอยูในประเทศอินเดีย อารยันรับเอาเทพเจ้าบาง ั องค์ของคนพื้นเมืองมารวมไว้กบเทพเจ้าของตนด้วย เช่ น ปศุบดี อันเป็ นภาคหนึ่ งของพระศิ วะและความ เชื่อต่างๆ ที่ปรากฏในคัมภีร์อถรรพเวท ตลอดจนภาษา
  • 8. „ ที่ใช้ในคัมภีร์พระเวทหมวดหลังๆ มีร่องรอยของภาษา พื้นเมืองเข้าไปปะปนอยู่ดวยมาก ข้อพิสูจน์ คือ เมื่ อ ้ เวลาผ่านไปประมาณ ๓๐๐ ปี ความแตกต่างของภาษา ก็เกิดขึ้นจนทาให้อารยัน ต้องแต่งคัมภีร์ยชุรเวท เพื่อ อธิบายบทสวดของฤคเวท „ ระยะ ๑,๕๐๐ ปี ก่ อ นคริ ส ตกาลนี้ เอง ปราชญ์ช าว อารยันคนหนึ่ง ชื่อ “ปาณิ นิ” มีความเห็นว่าหากปล่อย
  • 9. „ ให้ภาษาถิ่ นเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาพระเวทมากขึ้ น จะทาให้ลกษณะดั้งเดิมของภาษาอารยันเสี ยไป จึงได้ ั เขียนตาราไวยากรณ์ข้ ึนเล่มหนึ่ ง ชื่ อว่า “อัษฎาธฺ ยายี” แปลว่ า “คั ม ภี ร์ แปดบท” อธิ บ ายกฏเกณฑ์ แ ละ โครงสร้ างของภาษาพระเวทเสี ย ใหม่ ให้ชื่อ ภาษาที่ ่ จัดระบบใหม่แล้วนี้ วา “สันสกฤต” ซึ่ งแปลว่า ขัดเกลา แล้ว, ทาให้ดีแล้ว เพื่อให้แตกต่างจากภาษาปรากฤตที่
  • 10. „ วิวฒนาการมาตามธรรมชาติต้ งแต่เป็ นภาษาพระเวท ั ั และคลี่ ค ลายออกเป็ นภาษาต่ า งๆ ของอิ น เดี ย ใน ปัจจุบน ั
  • 11. ประวัติภาษาบาลี „ ภาษาบาลี เ ป็ นภาษาปรากฤต (ที่ วิว ฒนาการมาจาก ั ภาษาพระเวท) ในยุคกลางของอินเดีย ภาษาปรากฤตนี้ แบ่งออกเป็ น ๓ สมัย คือ „ ๑. ภาษาปรากฤตสมัยเก่า หรื อภาษาบาลี (Old Prakrit or Pali) ซึ่งประกอบด้วย „ ก. ภาษาถิ่นในจารึ กพระเจ้าอโศก ประมาณกลาง
  • 12. „ ศตวรรษที่ ๓ ก่ อนคริ สตกาล ถึ งพุทธศตวรรษที่ ๒ (๒๕๐ ปี ก่อนคริ สตกาล) „ ข. ภาษาบาลี ใ นพระไตรปิ ฎกของหิ น ยาน คัม ภี ร์ มหาวงศ์ และคาถาในชาดก „ ค. ภาษาในคัมภีร์ทางศาสนาไชนะ „ ง. ภาษาในบทละครของอัศวโฆษะ
  • 13. „ ๒. ภาษาปรากฤตสมัยกลาง ซึ่งประกอบด้วย „ ก. ภาษามหาราษฎรี ที่ปรากฏในลานาท้องถิ่นแถบที่ ราบสูงเดดคาน „ ข. ภาษาปรากฤตในบทละครของกาลิทาส เช่น ภาษา มาคธี ภาษาเศารเสนี ฯลฯ รวมทั้งภาษาปรากฤตใน ตาราไวยากรณ์
  • 14. „ ค. ภาษาถิ่นของศาสนาไชนะในยุคหลัง „ ง. ภาษาไปศาจี „ ๓. ภาษาอปภฺ รมฺ ศ (Apabhramsa) พบในตาราประมาณ คริ สต์ศตวรรษที่ ๑๐ เป็ นระยะสุ ดท้ายของภาษาในยุค กลางของอินเดีย
  • 15. „ ภาษาปรากฤตสมัยเก่านี้ เองได้ถูกนักไวยากรณ์นามา วางกฏเกณฑ์ ซึ่ งได้รั บ อิ ท ธิ พ ลจากกฏเกณฑ์ ท าง ไวยากรณ์ ข องสั น สกฤต และใช้บ ัน ทึ ก พุ ท ธวจนะ ภาษาบาลีจึงเป็ นภาษาลักษณะเดียวกับภาษาสันสกฤต คือ เป็ นภาษาสังเคราะห์ (Synthetic Language) ได้แก่ ภาษาที่สร้างขึ้น มิใช่ภาษาที่เกิดเองตามธรรมชาติ นัก ภาษาต่างก็ยงไม่สามารถลงความเห็นได้แน่นอนว่า ั
  • 16. „ ภาษาบาลีถูกสร้ า งขึ้นจากภาษาปรากฤตภาษาใด ไม่ ทราบ ทราบแต่ เ พี ย งว่ า โครงสร้ างของภาษาบาลี ใกล้ เ คีย งกับภาษาอรรธมาคธี ที่ เป็ นภาษาปรากฤต ประจาศาสนาไชนะ „ ภาษาบาลีถูกนามาใช้ บันทึก พระพุทธวจนะเป็ นลาย ลักษณ์ อักษร เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๓ ปรากฏ หลักฐานเป็ นครั้งแรกในจารึกพระเจ้ าอโศกมหาราช
  • 17. „ ถือ เป็ นภาษาประจาพระพุทธศาสนานิก ายหิ น ยาน สว่ น พระพุทธศาสนานิกายมหายานใช้ ภาษาสั นสกฤตบันทึกพระ พุทธวจนะ „ ที่มา : Alfred C. Woolner, Introduction to Prakrit, Motilal Banarsidass, 1975, P. 73, „ อ้างใน สุ ภาพร มากแจ้ง, ภาษาบาลี – สั นสกฤตในภาษาไทย, ๒๕๓๕, หน้า๒-๔.
  • 18. อุปมาอุปไมยภาษาบาลีและสั นสกฤต „ นักภาษาศาสตร์ ของอินเดียจึงเปรียบภาษาบาลีเสมือน หนึ่ ง กระแสธารที่ ไ หลมาตั้ ง แต่ ส มั ย พระเวทจนถึ ง ปั จ จุ บัน ส่ วนภาษาสั น สกฤตนั้ น ได้ รับการอุป มาให้ เป็ นบึงใหญ่ ซึ่งถึงแม้ ว่า จะมีนาขังอยู่มากมาย แต่ ก็ไม่ ้ มีการไหลถ่ ายเทไปที่ไหน หรือมิฉะนั้นก็เปรียบภาษา สั น สกฤตกั บ ภาษาบาลี ใ ห้ เป็ นสองสาวลู ก พ่ อ แม่ เดียวกัน ภาษาบาลีน้ ันพอเติบโตขึนก็มเี หย้ ามีเรือน ้
  • 19. „ ได้ลูก ได้ห ลานสื บตระกูล กันต่ อ ไป ส่ ว นสัน สกฤต พอใจที่จะดารงตนเป็ นสาวแก่ตลอดมา ด้วยเหตุที่เป็ น พี่ น้อ งท้อ งเดี ย วกันเช่ นนี้ สั น สกฤตกับ บาลี จึง มี รู ป ่ โฉมหน้าตาละม้ายคล้ายคลึงกันถึงแม้วาเมื่อพูดถึงการ ตกแต่งร่ างกายแล้วทั้งสองอาจจะมีวิธีการและรสนิ ยม แตกต่างกันอยูบาง ่ ้
  • 20. สาเหตุทภาษาบาลีและสั นสกฤตเข้ ามาในภาษาไทย ี่ „ ในซี กโลกตะวันออก อินเดียได้ ชื่ อว่ าเป็ นประเทศที่ เจริ ญรุ่ งเรื อ งมาแต่ ค รั้ ง โบราณกาล ชนชาติต่า งๆ ใน บริ เวณใกล้ เคียงโดยเฉพาะแถบเอเชี ยตะวันออกเฉียง ใต้ ล้ ว นได้ รั บ อิท ธิ พ ลแห่ ง ความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งของ อินเดียแทบทุกด้ าน „ ประเทศไทยเป็ นชาติหนึ่ งที่อ ยู่ ในข่ า ยได้ รั บอิทธิ พ ล แห่ งความเจริญรุ่งเรืองแทบทุกด้ านจากอินเดีย
  • 21. „ โดยเฉพาะด้ านภาษา มีผู้กล่ าวว่ า “ถ้ าเปิ ดพจนานุกรม ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานดู แ ล้ ว จะเห็ น ว่ า มี ค าที่ เ รา นามาจากภาษาบาลีสันสกฤตอยู่ต้ังครึ่งค่ อนเล่ ม”
  • 22. „ ตามหลั ก ฐานโบราณคดี พ บว่ า ศาสนาพุ ท ธนิ ก าย หินยานเข้ า มาสู่ ดินแดนสุ วรรณภู มิเ ป็ นครั้ ง แรกเมื่อ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ (คริ สต์ ศตวรรษที่ ๗) โดยประมาณจากอายุจารึกภาษาบาลีเก่ าทีสุดทีขุดพบที่ ่ ่ บริ เ วณนครปฐม หรื อ อาณาจั ก รทวาราวดี ใ นสมั ย โบราณ คือ จารึ กคาถา เย ธมฺมา แต่ ถ้าจะยึดหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ ศาสนาพุทธนิกายหินยานควรจะ
  • 23. „ เข้ ามาก่ อนหน้ านั้น คือ ประมาณพุทธศตวรรษ „ ที่ ๓ เมื่อพระเจ้ าอโศกมหาราชส่ งสมทูตออกเผยแพร่ พุทธศาสนา สมณทูตสายที่มาสู่ ดินแดนสุ วรรณภูมิ คือ พระโสณเถระ และพระอุตรเถระ „ จารึ ก ภาษาสั น สกฤตเก่ า ที่ สุ ด ในประเทศไทย พบที่ นครศรีธรรมราช เมือพุทธศตวรรษที่ ๑๔ พ.ศ. ๑๓๑๘ ่
  • 24. „ (ค.ศ. ๗๗๕) มีเ นื้อ ความสรรเสริ ญพระเจ้ า แผ่ นดิน แห่ งอาณาจักรศรีวิชัย และกล่ าวถึงการสร้ างปราสาท อิ ฐ สามหลั ง บู ช าพระโพธิ สั ตว์ ปั ท มปาณี บู ช า พระพุ ท ธเจ้ า และพระโพธิ สั ต ว์ วั ช รปาณี แสดง อิทธิพลของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน
  • 25. „ ที่กล่ าวมาแล้ วข้ างต้ นเป็ นเรื่ องราวของภาษาบาลีและ สั นสกฤต ในดินแดนก่ อนที่ชนชาติไทยจะปรากฏ ซึ่ง จากหลักฐานที่กล่ าวมายังไม่ อาจสรุ ปได้ อย่ างแน่ ชัดว่ า ภาษาบาลี หรือภาษาสั นสกฤตเข้ ามาสู่ ดินแดนสุ วรรณ ภูมิก่อนกัน เพราะยังอาจมีหลักฐานทางโบราณคดีที่ เก่ ากว่ านั้น ซึ่งยังขุดค้ นไม่ พบอิทธิพลของภาษาบาลี – สั นสกฤตในภาษาไทย ปรากฏให้ เห็นครั้งแรกสุ ดใน
  • 26. „ ศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ ๑ ของพ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราช จารึ กเมื่ อ ปี พ .ศ. ๑๘๒๖ พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๙ (คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ ๑๓) ปรากฏทั้ ง ภาษาบาลี แ ละ สั นสกฤต อิทธิพลของภาษาสั นสกฤตดูจะมีมากกว่ า คาในจารึกทีเ่ ป็ นภาษาสั นสกฤตอย่ างชัดเจน ได้ แก่ ศรี อินทราทิตย์ ตรีบูร ศรัทธา พรรษา พาทย์ ปราชญ์ ไตร ศรีธรรมราช ปราสาท สรีตพงศ์ ศรีสัชชนาลัย ศก
  • 27. „ ธรรม สถาบก ศรี รั ต นธาตุ สุ พรรณภู มิ สมุ ท ร นอกจากนีเ้ ป็ นคาทีใช้ ปนกันทั้งภาษาบาลีและสั นสกฤต ่ เป็ นส่ วนใหญ่ „ ที่ มา : จิ ระพัฒน์ ประพันธ์วิทยา, “การเข้ามาของภาษาบาลี -สันสกฤตใน ประเทศไทย”, เอกสารอัดสาเนาประกอบการสัมมนา อิทธิ พลของภาษาบาลี และสันสกฤตที่มีต่อภาษาไทย, อ้างใน สุ ภาพร มากแจ้ง , เรื่ องเดียวกัน, หน้า ๕-๖.
  • 28. สรุ ปสาเหตุ ๓ ประการ „ ๑. ด้ านศาสนา อินเดียเป็ นชาติที่เจริ ญรุ่ งเรื อง และได้ ทาให้ ความเจริญรุ่ งเรืองแพร่ กระจายในบริ เวณแหลม สุ ว รรณภู มิ ม าแต่ อ ดี ต โดยเฉพาะทางศาสนาชาว อินเดียเป็ นผู้ นาเข้ า มาทั้งศาสนาพราหมณ์ และพุทธ ศาสนา ประเทศไทยได้ ยอมรั บ เอาศาสนาพุท ธเป็ น ศาสนาประจ าชาติ และรั บ เอาคติ ข องพราหมณ์ ม า ปฏิบติในชีวตประจาวันปนอยู่ในลัทธิประเพณี ั ิ
  • 29. „ เกือบทุกอย่ าง ผลทีติดตามมาจากการนับถือศาสนาทั้ง ่ ๒ ก็คือ ภาษาที่เ กี่ยวข้ อ งกับศาสนาทั้ ง ๒ ได้ เข้ ามา ปะปนอยู่ ในภาษาไทยมากมาย ภาษาสั น สกฤต เกี่ยวข้ องกับศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนานิกาย อาจริ ยวาท ส่ วนภาษาบาลีเกี่ยวข้ องกับพุทธศาสนา นิ ก ายเถรวาทถ้ อ ยคาในภาษาทั้ง ๒ นี้จึง มี ป ะปนอยู่ อย่ างดาษดื่น บางคาเราใช้ กนสนิทปาก ั
  • 30. „ จนลืมนึกไปว่ าเป็ นคาที่เรารั บมาจากภาษาทั้ง ๒ เช่ น บาป บุ ญ กุ ศ ล นรก สวรรค์ ทาน ศี ล เมตตา กรุ ณ า คาถา พุทโธ โมโห เวทนา สั งขาร เป็ นต้ น
  • 31. „ ๒. ด้ า นวรรณคดี วรรณคดี อิ น เดี ย มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ วรรณคดีไทยเป็ นอย่ างยิ่ง ทั้งที่เป็ นวรรณคดีสันสกฤต และวรรณคดีบาลี วรรณคดีสันสกฤตที่สาคัญ คือ รา มายณะ และมหาภารตะ ส่ วนวรรณคดีบาลีที่สาคัญ คือ พระไตรปิ ฎก เมื่อวรรณคดีเหล่ านี้เข้ ามาแพร่ หลายใน ประเทศไทย ก็ทาให้ ถ้อยคาภาษาที่ใช้ อยู่ในวรรณคดี เหล่ านั้นแพร่ หลายในภาษาไทยตามไปด้ วย ทั้งทีเ่ ป็ น
  • 32. • ชื่อตัวละคร และศัพท์ ที่ใช้ ในวงการวรรณคดี เช่ น ราม ลักษณ์ สี ดา ทศกัณฐ์ ครุ ฑ กินนร คนธรรพ์ หิมพานต์ พระสุ เมรุ ไกรลาส อโนดาต ฉัททันต์ ประพันธ์ ฉันท์ กาพย์ กวี เป็ นต้ น
  • 33. • ๓. ด้ า นรั ฐ ศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์ หรื อ วิ ช าว่ า ด้ ว ยการ ปกครองแบบอิ น เดี ย มี อิ ท ธิ พ ลสู งต่ อระบบการ ปกครองของไทยมาแต่ ค รั้ ง อดีต การปกครองของ อินเดียนั้นมีพราหมณ์ ปุโรหิตเป็ นทีปรึกษาของพระเจ้ า ่ แผ่ นดิน ตาราเกียวกับการปกครองที่พราหมณ์ ปุโรหิต ่ เหล่ านี้ใช้ เป็ นคัมภีร์ภ าษาสั นสกฤต ดัง นั้น อิทธิ พ ล ของภาษาสั นสกฤตทางด้ านรัฐศาสตร์ จึงมา
  • 34. • จากพราหมณ์ ปุโรหิตเหล่ านั้น ตัวอย่ างคา เช่ น ราชา ราชิ นี กษัตริย์ ราชโอรส กฎมณเฑียรบาล ราชบัลลังก์ อภิเษก เสนา อมาตย์ ตรี ปวาย ฉั ตรมงคล พืชมงคล ตลอดจนการตั้งพระนามพระมหากษัตริย์ ราชทินนาม ชื่อตาแหน่ ง ชื่อปราสาท พระราชวัง เป็ นต้ น
  • 35. • สรุ ป สาเหตุที่ภาษาบาลีและสั นสกฤตเข้ ามาเกี่ยวข้ อง กั บ ภาษาไทย มี ส าเหตุ เ ดี ย ว คื อ ความสั มพั น ธ์ แลกเปลียนทางวัฒนธรรม ่
  • 36. ระบบเสี ยงภาษาบาลีและสั นสกฤต • ภาษาบาลีและสั นสกฤต มีหน่ วยเสี ยงอยู่ ๒ ประเภท คื อ หน่ ว ยเสี ย งสระและหน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะ ไม่ มี หน่ วยเสี ยงวรรณยุกต์ เหมือนภาษาไทย
  • 37. หน่ วยเสี ยงสระ • หน่ วยเสี ยงสระบาลีมี ๘ หน่ วยเสี ยง ส่ วนสั นสกฤตมี ๑๓ หน่ ว ยเสี ย ง ระบบเสี ย งสระของภาษาบาลีจึ ง มี ความซับซ้ อนน้ อยกว่ า เพราะมีจานวนน้ อยกว่ าถึง ๕ หน่ วยเสี ยง
  • 38. ๑. หน่ วยเสี ยงสระบาลี • ห น่ ว ย เ สี ย ง ส ร ะ บ า ลี มี ๘ รัสสระ ทีฆสระ ฐานทีเกิด หน่ วยเสี ยง แบ่ งเป็ นสระเดี่ยว ๖ หน่ วยเสี ยง และสระประสม อะ อา ลาคอ ๒ หน่ วยเสี ยง อิ อี เพดาน • ก. สระเดี่ ยว ๖ หน่ ว ยเสี ยง มี อุ อู ริมฝี ปาก ลั ก ษณะเสี ย งและฐานที่ เ กิ ด ต่ างกัน ดังนี้
  • 39. • ข. สระประสม ทั้ง ๒ หน่ วยเสี ยง มีลักษณะเสี ยงและ ฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้ • เอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ อิ เกิดจาก ฐานลาคอกับเพดาน • โอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ อุ เกิด จากฐานลาคอกับริมฝี ปาก
  • 40. • สระประสมทั้ง ๒ หน่ วยเสี ยง ตามปกติมีเสี ยงเป็ นทีฆะ คือ ออกเสี ย ง ๒ มาตรา แต่ ถ้ า หน่ ว ยเสี ย งทั้ ง ๒ นี้ ไป ปรากฏกั บ ค าที่ มี ตั ว สะกดตั ว ตาม เสี ย งจะออกเป็ น รัสสระ เช่ น • เตโช เอ และ โอ เป็ น ทีฆสระ • เมตฺตา เอ เป็ น รัสสระ • โอฏฺฐ โอ เป็ น รัสสระ
  • 41. ๒. หน่ วยเสี ยงสระสั นสกฤต • หน่ วยเสี ยงสระสั นสกฤตมี ๑๔ หน่ วยเสี ยง เฉพาะทีมี ่ ลักษณะเสี ยงและฐานที่เกิดตรงกันกับสระในภาษาบาลี ๘ หน่ วยเสี ยง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ และ โอ ส่ วนอีก ๖ หน่ วยเสี ยงทีเ่ พิมไปจากภาษาบาลีมลกษณะเสี ยงและ ่ ีั ฐานที่เกิด ดังนี้
  • 42. • ก. สระเดี่ย ว มี ๔ หน่ ว ยเสี ย ง แต่ ล ะเสี ย งมีลัก ษณะ เสี ยงและฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้ • ฤ เป็ นรัสสระ เกิดจากฐานปุ่ มเหงือก • ฤา เป็ นทีฆสระ เกิดจากฐานปุ่ มเหงือก • ฦ เป็ นรัสสระ เกิดจากฐานฟัน • ฦา เป็ นทีฆสระ เกิดจากฐานฟัน
  • 43. • ข. สระประสม มี หน่ ว ยเสี ยง แต่ ล ะเสี ย งมีลัก ษณะ เสี ยงและฐานที่เกิดต่ างกัน ดังนี้ • ไอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ เอ • เกิดจากฐานลาคอกับเพดาน • เอา เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับ สระ โอ • เกิดจากฐานลาคอกับริมฝี ปาก
  • 44. จัดเข้ าเป็ นพวกหรือวรรณะได้ ตามฐานที่เกิด สระเดี่ยว สระประสม วรรณะ รัสสระ ทีฆสระ คูณ พฤทธิ อะ วรรณะ อะ อา เอ (อะ+อิ) ไอ (อะ+เอ) อิ วรรณะ อิ อี โอ (อะ+อุ) เอา (อะ+โอ) อุ วรรณะ อุ อู ฤ วรรณะ ฤ ฤา ฦ วรรณะ ฦ ฦา ฦา วรรณะ
  • 45. ข้ อควรจา • ๑. เนื่องจากสระ เอ ของภาษาบาลีและสั นสกฤตเมื่อมี ตั ว สะกดตั ว ตาม จะออกเสี ย งเป็ นรั ส สระ เมื่อ ไทย รับคาบาลีสันสกฤตบางคาแล้ วมาเปลี่ยนรู ปเป็ นสระ เอ มีตัวสะกด เราจึงไม่ นิยมใส่ ไม้ ไต่ คู้ท้งทีคาเหล่ านั้นออก ั ่ เสี ยงสั้ น เช่ น • วชฺ ร เป็ น เพชร
  • 46. • ปญฺจ เป็ น เบญจ • วชฺ ฌฆาต เป็ น เพชฌฆาต • อนิจฺจอนาถ เป็ น อเนจอนาถ • ๒. เนื่องจากสระ เอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ อิ ในการสนธิระหว่ างคาต้ นทีสุดศัพท์ ่
  • 47. • ด้ วยสระ อะ อา (อะ, อา การั นต์ ) กับคาหลังที่ขึ้นต้ น ด้ วยสระ อิ อี จึงมักได้ รูปเป็ นสระ เอ เช่ น • ปรม บวก อีศวร เป็ น ปรเมศวร • นร บวก อินทร เป็ น นเรนทร • มหา บวก อีศวร เป็ น มเหศวร
  • 48. • ๓. เนื่องจากสระ โอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ อุ ในการสนธิระหว่ างคาต้ นที่สุดศัพท์ ด้วยสระ อะ อา กับคาหลังที่ขึนต้ นด้ วยสระ อุ อู จึงมักได้ รูปเป็ น ้ โอ เช่ น • ราชา บวก อุบาย เป็ น ราโชบาย • อรุ ณ บวก อุทย ั เป็ น อรุโณทัย • มหา บวก อุฬาร เป็ น มโหฬาร
  • 49. • ๔. เนื่องจากสระ ไอ เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ เอ ซึ่งเป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ อิ อีกทีหนึ่ง สระ ไอ จึงมีความซั บซ้ อนมาก และไม่ มี ในภาษาบาลีด้วย ดังนั้นคาที่สันสกฤตใช้ ไอ จึงเป็ น เอ ในบาลี เช่ น
  • 50. • ไมเรย เป็ น เมรย • ไจตฺย เป็ น เจติย • ไปรษฺย เป็ น เปสฺ ส
  • 51. • ๕. เนื่องจากสระ เอา เป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ โอ ซึ่งเป็ นสระประสมระหว่ างสระ อะ กับสระ อุ อีกทีหนึ่ง สระ โอ จึงมีความซั บซ้ อนมาก และไม่ มี ในภาษาบาลีด้วย ดังนั้นคาทีสันสกฤตใช้ เอา จึงเป็ น โอ ่ ในบาลี เช่ น
  • 52. • เปารุษ เป็ น โปริส • เสาหิตฺย เป็ น โสหิจฺจ • อกฺเษาหิณี เป็ น อกฺโขหิณี
  • 53. • ๖. เนื่องจากสระที่อยู่ในวรรณะเดียวกันจะมีคุณสมบัติ ที่ เ ป็ นฐานที่ เ กิ ด ร่ วมกั น ดั ง นั้ น สระที่ อ ยู่ ใ นวรรณะ เดียวกันเหล่ านั้น จึงมักกลายเสี ยงกันได้ ง่าย โดยเฉพาะ ในการสร้ างศัพท์ ด้วยวิธีกิตก์ (ธาตุ บวก ปัจจัย) ที่ต้อง เพิมกาลังให้ กบสระ เช่ น ่ ั
  • 54. • วิทฺ บวก ณ เป็ น เวท • ลิขฺ บวก ณ เป็ น เลข • วิทฺ บวก ณี เป็ น เวที • ยุชฺ บวก ณ เป็ น โยค • ภุชฺ บวก ณี เป็ น โภคี • รุชฺ บวก ณ เป็ น โรค
  • 55. หน่ วยเสี ยงพยัญชนะ • หน่ ว ยเสี ย งพยั ญ ชนะภาษาบาลี มี ๓๓ หน่ ว ยเสี ย ง ส่ วนของภาษาสั นสกฤตมี ๓๕ หน่ วยเสี ยง มากน้ อย กว่ ากัน ๒ หน่ วยเสี ยง คือ ศ ษ นอกจากนั้นมีตรงกัน ดังนี้ • ๑. หน่ วยเสี ยงพยัญชนะบาลี มี ๓๓ หน่ วยเสี ยง แบ่ ง ตามคุณสมบัติของเสี ยงได้ ๒ พวกใหญ่ ๆ ดังนี้
  • 56. • ก. พยัญชนะวรรค มี ๒๕ หน่ วยเสี ยง ได้ แก่ พยัญชนะ ในแถวที่ ๑ – ๕ ทุกวรรค พยัญชนะในแต่ ละแถว เหล่ านี้ มีคุณสมบัติของเสี ยงตรงกันและเกิดขึ้นครบ ทุ ก ฐานกรณ์ เช่ น พยัญชนะในแถวที่ ๑ มีคุ ณ สมบัติ ของเสี ยงเป็ น อโฆษะ สิ ถิล และเกิดขึ้นครบทุ ก ฐาน กรณ์ ดังนี้
  • 57. •ก เกิดจากฐานกัณฐชะ •จ เกิดจากฐานตาลุชะ •ฏ เกิดจากฐานมุทธชะ •ต เกิดจากฐานทันตชะ •ป เกิดจากฐานโอฏฐชะ
  • 58. • สาเหตุทเี่ รียกว่ า พยัญชนะวรรค เพราะพยัญชนะแต่ ละแถวมีคุณสมบัติของเสี ยงตรงกันและเกิดขึนจาก ้ ฐานกรณ์ ครบทั้ง ๕
  • 59. แผนภูมิ ลักษณะเสี ยง อโฆษะ โฆษะ ฐานกรณ์ สิ ถิล ธนิต สถิล ธนิต นาสิ ก กัณฐชะ (ลาคอ) ก ข ค ฆ ง ตาลุชะ (เพดาน) จ ฉ ช ฌ ญ มุทธชะ (ปุ่ มเหงือก) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ทันตชะ (ฟัน) ต ถ ท ธ น โอฏฐชะ (ริมฝี ปาก) ป ผ พ ภ ม
  • 60. • ข. พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค • พยัญชนะอวรรคหรือเศษวรรค มี ๘ หน่ วยเสี ยง คือ ย รลวสหฬอ • พยัญชนะเหล่ านีมคุณสมบัติของเสี ยงที่เกิดขึนไม่ ครบ ้ ี ้ ทุกฐานกรณ์ ดังนี้
  • 61. •ย เป็ นเสี ยงอรรธสระ โฆษะ เกิดฐานตาลุชะ •ร เป็ นเสี ยงโฆษะ เกิดฐานมุทธชะ •ล เป็ นเสี ยงโฆษะ เกิดฐานทันตชะ •ว เป็ นเสี ยงอรรธสระ โฆษะ เกิดฐานโอฏฐชะ •ส เป็ นเสี ยงอุสุม อโฆษะ เกิดฐานทันตชะ
  • 62. • ห เป็ นเสี ยงโฆษะ เกิดฐานกัณฐชะ • ฬ เป็ นเสี ยงโฆษะ เกิดฐานมุทธชะ • อ เป็ นเสี ยงโฆษะ เกิดฐานกัณฐชะ
  • 63. ความแตกต่ างระหว่ างภาษาไทยกับบาลีและ สั นสกฤต • ภาษาบาลี – สั นสกฤต และภาษาไทยแตกต่ างกันด้ วย ตระกูลภาษา • ภาษาไทยอยู่ ในตระกู ล ภาษาค าโดด (Isolating Language) มี ลั ก ษณะเด่ น คื อ ค าในภาษาไทยส่ วน ใหญ่ เป็ นคาพยางค์ เดียว และสร้ างคาด้ วยวิธีการนาคา มารวมกัน
  • 64. ความแตกต่ างทางระบบเสี ยง • ภาษาบาลี – สั นสกฤตมีเสี ยงสาคัญ ๒ เสี ยง คือ เสี ยง สระ และเสี ยงพยัญชนะ • ภาษาไทยมีเ สี ย งส าคัญ ๓ เสี ย ง คือ เสี ย งสระ เสี ย ง พยัญชนะ และเสี ยงวรรณยุกต์
  • 65. • ภาษาบาลี – สั นสกฤต อยู่ในตระกูลมีวิภัตติปัจจัย (Inflectional Language) ซึ่ งประกอบขึ้นจากธาตุ (root) และสร้ างคาด้ วยการนาเอาส่ วนของคามา ประกอบเข้ าข้ างหน้ า และข้ างหลังศัพท์
  • 66. • การที่ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุก ต์ จึง ทาให้ คาบาลี – สั น สกฤต ที่ไ ทยรั บ มาส่ วนหนึ่ ง ถู ก ดัด แปลงให้ อ อก เสี ยงสะดวก และกลมกลืนกับภาษาไทย โดยเติมเสี ยง วรรณยุกต์ ลงไป เช่ น พาห > พ่ าห์ เทห > เท่ ห์ โลห > โล่ พุทโธ > พุทโธ่
  • 67. ความแตกต่ างของสระ • ก. ความแตกต่ างของเสี ยงสระ • ภาษาบาลีมีเ สี ยงสระ ๘ เสี ยง สั นสกฤตมี ๑๔ เสี ย ง ส่ วนเสี ยงสระในภาษาไทยมี ๒๔ เสี ยง (ไม่ นับสระเกิน อีก ๘ เสี ยง) ซึ่ งซ้าเสี ยงกับสระบาลี – สั นสกฤต ทั้งหมด และยังมีเกินกว่ านั้นอีก ๑๖ เสี ยง คือ มีเสี ยง สระเดี่ยวมากกว่ า ๑๐ เสี ยง ได้ แก่ อึ อื เอะ เอ แอะ แอ เออะ เออ โอะ เอาะ ออ
  • 68. • เสี ยงสระประสม ๖ เสี ยง ได้ แก่ เอียะ เอีย เอือ ะ เอือ อัวะ อัว ทั้งนีมข้อสั งเกต คือ สระ ฤ ฤา ฦ ฦา สั นสกฤต ้ ี เป็ นสระเดี่ยว เอ โอ ไอ เอา บาลี – สั นสกฤต เป็ นสระ ประสม (Diphthong) ส่ วนภาษาไทย เอ โอ เป็ นสระ เดียว ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา เป็ นสระเกิน ่
  • 69. ความแตกต่ างของพยัญชนะ • ความแตกต่ างของพยัญชนะภาษาไทยกับภาษาบาลี – สั นสกฤตนั้น แยกได้ เป็ น ๒ ด้ าน คือ • ๑. ความแตกต่ างทางเสี ยงพยัญชนะ • ๒. ความแตกต่ างทางการใช้ พยัญชนะ
  • 70. ความแตกต่ างของการใช้ สระ • - ภาษาบาลีต้องลงท้ ายด้ วยเสี ยงสระเสมอ • - ภาษาสั นสกฤตทั้งสระเดียว และสระประสมมี ่ พยัญชนะตามได้ ทุกเสี ยง • - ภาษาไทยทั้งสระเดียว และสระประสมมีพยัญชนะ ่ ตามได้ ทุกเสี ยงเว้ นเสี ยงสระเกิน อา ไอ ใอ เอา ไม่ สามารถตามด้ วยเสี ยงพยัญชนะได้
  • 71. ๑. ความแตกต่ างทางเสี ยงพยัญชนะ • ภาษาบาลี – สั นสกฤต มีเสี ยงพยัญชนะทั้งสิ้น ๓๕ เสี ยง ๓๕ รูป (บาลีมี ๓๓ เสี ยง ๓๓ รูป) • ภาษาไทยมี ๒๑ เสี ยง ๔๔ รูป (ปัจจุบนใช้ เพียง ๔๒ รู ป ั ฃ ฅ เลิ ก ใช้ ) มี ท้ั ง เสี ยงที่ ซ้ า และต่ างกั บ บาลี – สั นสกฤต
  • 72. ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สั นสกฤต บาลี สั นสกฤต ๑. สระมี ๘ ตัว คือ ๑. สระมี ๑๔ ตัว เพิมจาก ่ อะ อา อิ อี บาลี ๖ ตัว คือ อุ อู เอ โอ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา
  • 73. บาลี สั นสกฤต ๒. มี พ ยั ญ ชนะ ๓๓ ๒. มีพยัญชนะ ๓๕ ตัว ตัว (พยัญชนะวรรค) เพิมจากภาษาบาลี ๒ ่ ตัว คือ ศ ษ ยกเว้ น ศอก ศึก เศิก โศก เศร้ า เป็ นภาษาไทยแท้ )
  • 74. บาลี สั นสกฤต ๓. มีตวสะกดตัวตาม ั ๓. มีตวสะกดและตัวตามไม่ ั แน่ นอน เช่ น กัญญา จักขุ แน่ นอน เช่ น กันยา จักษุ ทักขิณะ ปุจฉา อัณณพ ทักษิณ ปฤจฉา วิทยุ คัมภีร์ เป็ นต้ น อัธยาศัย เป็ นต้ น
  • 75. บาลี สั นสกฤต ๔. นิยม ๔. นิยม ใช้ ฬ เช่ น กีฬา จุฬา ใช้ ฑ เช่ น กรีฑา จุฑา ครุฬ เป็ นต้ น ครุฑ (จาว่ า กีฬา-บาลี) (จาว่ า กรีฑา- สั นสกฤต)
  • 76. บาลี สั นสกฤต ๕. ไม่ นิยมควบกลาและ ้ ๕. นิยมควบกลาและล ้ อักษรนา เช่ น ปฐม อักษรนา เช่ น ประถม มัจฉา สามี มิต ฐาน มัตสยา สวามี มิตร ปทุม ถาวร เปม สถาน ประทุม สถาวร กิริยา เป็ นต้ น เปรม กริยา เป็ นต้ น
  • 77. บาลี สั นสกฤต ๖. นิยม ๖. นิยมใช้ รร (ร หัน) เช่ น ใช้ "ริ" เช่ น ภริย ภรรยา จรรยา อัศจรรย์ า จริยา อัจฉริยะ เป็ นต้ น เป็ นต้ น เนื่องจากแผลงมาจาก รฺ (ร เรผะ) เช่ น วรฺ ณ = วรรณ ธรฺ ม = ธรรม * ยกเว้ น บรร เป็ นคาเขมร
  • 78. บาลี สั นสกฤต ๗. นิยมใช้ ณ นาหน้ าวรรค ๗. นิยม "เคราะห์ " เช่ น ฏะ เช่ น มณฑล ภัณฑ์ วิเคราะห์ สั งเคราะห์ หรือ ณ นาหน้ า ห เช่ น อนุเคราะห์ เป็ นต้ น กัณหา ตัณหา
  • 79. ลักษณะเสี ยง อโฆษะ โฆษะ ฐานกรณ์ สิ ถิล ธนิต สถิล ธนิต นาสิ ก กัณฐชะ (ลาคอ) ก ข ค ฆ ง ตาลุชะ (เพดาน) จ ฉ ช ฌ ญ มุทธชะ (ปุ่ มเหงือก) ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ทันตชะ (ฟัน) ต ถ ท ธ น โอฏฐชะ (ริมฝี ปาก) ป ผ พ ภ ม
  • 80. แผนภูมิสรุ ปหน่วยเสี ยงบาลี สันสกฤต ลักษณะเสี ยง พยัญชนะวรรค พยัญชนะ สระ อโฆษะ โฆษะ เศษวรรค ฐานกรณ์ สถิล ธนิต สถิล ธนิต นาสิ ก โฆษะ อโฆษะ เดี่ยว ประสม กัณฐชะ ก ข ค ฆ ง ห อะ อา ตาลุชะ จ ฉ ช ฌ ญ ย ศ* อิ อี เอ โอ* มุทธชะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ฬ ษ* ฤ* ฤา* ทันตชะ ต ถ ท ธ น ล ส ฦา* โอฏฐชะ ป ผ พ ภ ม ว อุ อู โอ เอา*
  • 81. • ข้ อสั งเกต „ ๑. พยั ญ ชนะวรรคทั้ ง ๒๕ หน่ วยเสี ย งเป็ นมู ค ะ (mutes) คือ เป็ นใบ้ ออกเสี ยงเองไม่ ได้ ต้ องอาศัยสระ จึงออกเสี ยงได้ ดังนั้น คาใดที่มีพยัญชนะวรรคเป็ น ตัวสะกดและมีพยัญชนะวรรคเป็ นตัวตาม เมื่อเป็ นคา ในภาษาไทย เราจึงไม่ ออกเสี ยงตัวสะกด เช่ น
  • 82. „ สปฺตาห ไทยใช้ สั ปดาห์ อ่ านว่ า สั บ – ดา „ วิตฺถาร ไทยใช้ วิตถาร อ่ านว่ า วิด – ถาน „ อคฺนี ไทยใช้ อัคนี อ่ านว่ า อัก - นี
  • 83. „ ๒. คาที่มี ศ ษ ส สะกด ตัวอื่นตาม เมื่อเป็ นภาษาไทย เราจะออกเสี ยงตัวสะกดมีเสี ยงสระอะ ทั้งนีเ้ พราะ ศ ษ ส เป็ นอุสุม จึงมีเสี ยงแทรกออกมา เช่ น „ วิสฺตาร ไทยใช้ พิสดาร อ่ านว่ า พิด – สะ – ดาน „ วสฺ ตุ ไทยใช้ วัสดุ อ่ านว่ า วัด – สะ – ดุ „ ปุษฺป ไทยใช้ บุษบา อ่ านว่ า บุด – สะ - บา