SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
บทที่ ๑
บทนำำ
๑.๑ ควำมเป็นมำและควำมสำำคัญของปัญหำ
กำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักของศำสตร์สมัยใหม่
เป็นเรื่องใหม่สำำหรับประเทศไทยเป็นศัพท์ใหม่สำำหรับคนไทย จำก
หลักฐำนทำงเอกสำรที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พบว่ำได้มีกำรพัฒนำ
เทคนิคกำรปรับพฤติกรรมขึ้นมำ และนำำไปใช้แก้ไขเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมอย่ำงจริงจังเมื่อประมำณ ๓ ทศวรรษที่ผ่ำนมำนี้เอง จำก
หลักฐำนเอกสำรที่ปรำกฏพบว่ำกำรปรับพฤติกรรมในประเทศไทย
เริ่มเกิดขึ้นเมื่อประมำณ ๑๐ ปีเศษที่ผ่ำนมำนี้เอง เรื่องกำรปรับ
พฤติกรรมจึงจัดว่ำเป็นของใหม่สำำหรับประเทศไทย แต่สิ่งเหล่ำนี้
อยู่กับคนไทยมำนำนแล้วโดยที่คนไทยไม่รู้ว่ำกำรปรับพฤติกรรมก็
คือกำรเจริญวิปัสสนำกรรมฐำนหรือกำรปรับอินทรีย์ ๕ ใน
พระพุทธศำสนำนั่นเอง มีนักจิตวิทยำทำงตะวันตกหลำยคนที่
ศึกษำเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์แต่ละคนก็มีวิธีกำรแตกต่ำงกันออก
ไป แบนดูร่ำ (Bandura) เป็นนักจิตวิทยำคนหนึ่งที่สนใจศึกษำ
วิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์โดยเขำให้ชื่อทฤษฎีของเขำว่ำ
ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงปัญญำสังคม ทฤษฎีของเขำได้รับกำรยอมรับ
จำกนักจิตวิทยำและนักวิชำกำรอย่ำงกว้ำงขวำง
แบนดูร่ำ มีแนวควำมคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ที่
น่ำศึกษำเปรียบเทียบกับหลักกรรมของพระพุทธศำสนำอยู่บ้ำงคือ
แบนดูร่ำเชื่อว่ำพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจำกองค์ประกอบ ๓ อย่ำง
คือ พฤติกรรม (B) องค์ประกอบส่วนบุคคล (P) และองค์ประกอบ
ประเทือง ภูมิภัทรำคม, กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำร
ประยุกต์, (กรุงเทพมหำนคร : สำำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๐),หน้ำ
๓๒.
อินทรีย์ ๕ ได้แก่ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมำธินทรีย์
ปัญญินทรีย์.
ทำงสิ่งแวดล้อม (E) มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน กล่ำวคือ พฤติกรรม
ของมนุษย์สำมำรถกำำหนดสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมก็สำมำรถ
กำำหนดพฤติกรรม พฤติกรรมสำมำรถกำำหนดองค์ประกอบส่วน
บุคคล องค์ประกอบส่วนบุคคลก็สำมำรถกำำหนดพฤติกรรมได้เช่น
กัน ในทำำนองเดียวกัน องค์ประกอบทำงสิ่งแวดล้อมและองค์
ประกอบส่วนบุคคลก็มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ทั้งสำมอย่ำงนี้มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน คือ บุคคล
สำมำรถกำำหนดสิ่งแวดล้อมได้ ในขณะเดียวกันสิ่งแวดล้อมก็
สำมำรถกำำหนดบุคคลได้ บุคคลสำมำรถกำำหนดพฤติกรรมได้
ในทำงกลับกันพฤติกรรมก็สำมำรถกำำหนด บุคคลได้เช่นกัน
แบนดูร่ำ คิดวิธีกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ขึ้นมำหลำยวิธี เช่น กำร
เลียนแบบจำกตัวแบบ กำรเพิ่มแรงจูงใจ เป็นต้น ซึ่งวิธีเหล่ำนี้
สำมำรถเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษย์ไปในทำงที่พึงประสงค์ได้
หมำยควำมว่ำ ผู้เลียนแบบจะมีพฤติกรรมเหมือนตัวแบบที่เขำเห็น
ซึ่งตรงกับหลักกำรคบมิตรหรือคบเพื่อนในพระพุทธศำสนำ ดัง
พระพุทธพจน์ว่ำ “โย หิ ยำ เสวติ โส ตำ คติโกว คบคนเช่นไรเป็น
เหมือนคนเช่นนั้น”
กำรสังเกตตนเอง เป็นวิธีหนึ่งที่แบนดูร่ำใช้ในกำรปรับ
พฤติกรรมมนุษย์ กำรสังเกตตนเองจะช่วยให้มนุษย์เปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมได้โดยควำมภำคภูมิใจเพรำะมันเกิดจำกแรงจูงใจ
ภำยในของเขำเอง โดยธรรมชำติมนุษย์ไม่ต้องกำรให้คนอื่นสอน
ถ้ำมีคนมำบอกว่ำ ควรทำำอย่ำงนั้น ไม่ควรทำำอย่ำงนี้ เขำจะไม่
ชอบและจะไม่ทำำตำม แต่ถ้ำเขำเห็นว่ำ กำรมีพฤติกรรมนั้น ๆ จะ
ทำำให้เขำได้รับควำมเคำรพนับถือหรือควำมยกย่อง เขำก็จะค่อย
ๆ ปรับพฤติกรรมของเขำโดยไม่ต้องให้คนอื่นมำบอก ซึ่งก็ตรงกับ
พระพุทธพจน์ว่ำ “อตฺตนำ โจทยตฺตำนำ ปฏิมำเสถ อตฺตนำ. ภิกษุ
เธอจงเตือนตนด้วยตนเอง จงพิจำรณำดูตนด้วยตนเอง”
A. Bandura, Social Foundations of Thought and
Action : A Social cognitive theory, (Englewood Cliffs, New
Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1986), p. 24, A. Bandura, Social
Learning Theory, pp. 9-10.
มงฺคล. (บำลี) ๑/๒๐/๗.
ขุ. ธ. (บำลี) ๒๕/๓๗๙/๓๗, ขุ. ธ. (ไทย) ๒๕/๓๗๙/๗๕.
2
พระพุทธศำสนำสอนเรื่องกรรม เช่น พระพุทธพจน์ใน
อภิณหปัจจเวกขิตัพพฐำนสูตร ในอังคุตตรนิกำยว่ำ “กมฺมสฺส
โกมฺหิ กมฺมทำยำโท กมฺมโยนิ กมฺมพนฺธุ กมฺมปฏิสรโณ...เรำมี
กรรมเป็นสมบัติของตน เรำเป็นทำยำทของกรรม เรำมีกรรมเป็น
เครื่องก่อให้เกิด เรำมีกรรมเป็นพวกพ้อง เรำมีกรรมเป็นพึ่ง ...”
เป็นต้น คำำว่ำ “กรรม” ในทำงพระพุทธศำสนำ หมำยถึงกำรกระ
ทำำที่ประกอบด้วยเจตนำ ซึ่งคำำว่ำกรรมเป็นคำำกลำง ๆ ยังไม่จัดว่ำ
ดีหรือชั่ว เมื่อบุคคลทำำกรรมดีมีกำรให้ทำน รักษำศีล เจริญ
ภำวนำเป็นต้น จึงเรียกว่ำ กรรมดี เมื่อบุคคลทำำกรรมชั่ว มีกำรฆ่ำ
สัตว์ ลักทรัพย์ของคนอื่น ประพฤติผิดในกำม พูดเท็จเป็นต้น จึง
เรียกว่ำ กรรมชั่ว กรรมดีให้ผลในทำงบวก กรรมชั่วให้ผลในทำง
ลบ บุคคลทำำกรรมอย่ำงไรก็จะได้รับผลอย่ำงนั้น ไม่ช้ำก็เร็วแล้ว
แต่ว่ำกรรมอันไหนจะมีโอกำสให้ผลก่อน ดังพระพุทธพจน์ว่ำ “กมฺ
มุนำ วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตำมกรรม” กรรมเป็นสิ่ง
จำำแนกสัตว์ให้ดีให้เลวละเอียด ประณีต
ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงปัญญำสังคมของแบนดูร่ำตรงกับ
หลักกำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำ เพรำะส่วนมำกแบนดูร่ำ
จะพูดถึงกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์มำก
ขึ้น กำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำก็คือกำรพัฒนำ
พฤติกรรมมนุษย์ให้เป็นไปในทำงที่พึงประสงค์เช่นเดียวกัน แต่มี
รำยละเอียดแตกต่ำงกันออกไป ทำงพระพุทธศำสนำใช้หลัก
ไตรสิกขำ เป็นแนวทำงกำรพัฒนำ คือ หลักศีล เป็นหลักปรับ
พฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นหยำบ หลักสมำธิ เป็นหลักกำร
ปรับพฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นปำนกลำง หลักปัญญำ เป็น
หลักกำรปรับพฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นสูง เพื่อปรับ
พฤติกรรมให้ดำำเนินไปตำมที่ต้องกำรสูงขึ้นจนเป็นพระอริยบุคคล
เมื่อนำำหลักกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำกับหลัก
กำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำมำเปรียบเทียบกันแล้วมีควำม
คล้ำยคลึงใกล้เคียงกัน เช่น หลักกำรคบมิตรในพระพุทธศำสนำ
กับหลักกำรเลียนแบบจำกตัวแบบของแบนดูร่ำ กำรติเตียนบุคคล
ที่ควรติเตียน กำรยกย่องบุคคลที่ควรยกย่องกับหลักกำรกำรเสริม
แรงจูงใจ หลักโยนิโสมนสิกำรกับหลักกำรใส่ใจ เป็นต้น ประเด็น
องฺ. ปญฺจ. (บำลี) ๒๒/๕๗/๔๓.
ขุ.ธ. (บำลี) ๒๕/๖๕๘/๒๓๘.
3
เหล่ำนี้ทำำให้ผู้วิจัยมีควำมสนใจที่จะศึกษำเปรียบเทียบทฤษฎีกำร
เรียนรู้ทำงปัญญำสังคมของแบนดูร่ำกับหลักกำรพัฒนำกรรมตำม
หลักของพระพุทธศำสนำในเชิงลึกเพื่อจะได้นำำมำประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์แก่วงกำรศึกษำต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
๑.๒.๑ เพื่อศึกษำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของ
แบนดูร่ำ
๑.๒.๒ เพื่อศึกษำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของ
พระพุทธศำสนำ
๑.๒.๓ เพื่อศึกษำวิเครำะห์เปรียบเทียบรูปแบบกำรปรับ
พฤติกรรมของแบนดูร่ำกับรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลัก
พระพุทธศำสนำ
๑.๓ ปัญหำที่ต้องกำรทรำบ
๑.๓.๑ รูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของแบนดูร่ำ
เป็นอย่ำงไร
๑.๓.๒ รูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของพระพุทธ
ศำสนำเป็นอย่ำงไร
๑.๓.๓ เมื่อนำำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมของทั้งสองฝ่ำย
มำเปรียบเทียบกันแล้วจะมีควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงกัน
อย่ำงไร
๑.๔ คำำจำำกัดควำมของศัพท์ที่ใช้ในกำรวิจัย
๑.๔.๑ รูปแบบ ในงำนวิจัยนี้ หมำยถึงชุดหรือ
กระบวนกำรหรือหมวดหลักธรรมที่นำำไปเป็นแนวทำงในกำรปรับ
พฤติกรรมตำมหลักกำรปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ำและตำมหลัก
พระพุทธศำสนำ
๑.๔.๒ กำรพัฒนำ หมำยถึง กำรปรับเปลี่ยนหรือ
ปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภำพในทำงบวกมำกขึ้น สิ่งที่มีอยู่
แล้วในงำนวิจัยนี้หมำยถึงกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักของแบน
ดูร่ำและกำรพัฒนำสังขำรหรือเจตสิกตำมหลักของพระพุทธ
ศำสนำ
4
๑.๔.๓ สังขาร หมายถึง ในงานวิจัยนี้หมายถึงสังขารใน
ขันธ์ ๕ ซึ่งในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรมจำาแนกเป็นเจตสิก ๕๐ อย่าง รวม
ถึงเจตนาซึ่งเป็นสังขารในปฏิจจสมุปบาท
๑.๔.๔ พฤติกรรม หมายถึง การกระทำาทุกอย่างที่
ปรากฏออกมาทางกาย และทางวาจา เช่น การกิน การพูด
การเดิน การนอน เป็นต้น
๑.๔.๕ การปรับพฤติกรรม หมายถึง กระบวนการหรือ
วิธีการต่าง ๆ ที่นำามาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คือ การกิน
การพูด การเดิน การนอน เป็นต้น ที่ไม่พึงประสงค์ให้เปลี่ยน
เป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์
๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๑.๕.๑ พระมหาศุภวัฒน์ ชุติมนฺโต (สุขดำา) ได้ศึกษา
วิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่อง พฤติกรรมของ
มนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทกับซิกมันด์ ฟรอยด์”
จากการศึกษาสรุปได้ว่า พฤติกรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท หมาย
ถึง การแสดงออกทางกาย วาจา และสิ่งที่สืบเนื่องมาจากจิตที่อยู่
ภายใน การแสดงออกมาทางกายภาพทั้งหมด เรียกว่า กายกรรม
ทางวาจาเรียกว่าวจีกรรม และทางใจเรียกว่ามโนกรรมตามทฤษฎี
ตะวันตก ตั้งแต่ยุคกรีกซึ่งรุ่งเรืองทางความคิด มีความเชื่อว่า
มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จำาเป็นต้องมีพฤติกรรมสัมพันธ์กับสภาพ
แวดล้อมทั้งที่สังเกตได้และไม่สามารถสังเกตได้ โดยนักคิดจิตนิยม
ถือว่าจิตเป็นผู้คอยกำากับพฤติกรรม กลุ่มสัจนิยมเชื่อว่ามนุษย์
ประกอบด้วยร่างกายและวิญญาณหรือจิตใจ ซึ่งเป็นกระบวนการ
ทางกายภาพ เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แต่มนุษย์มีวิวัฒนาการ
ทางจิตสำานึกที่สูงกว่า ขณะที่กลุ่มอัตถิภาวนิยม เชื่อในอิสรภาพ
ของมนุษย์ในอันที่จะเลือกแสดงพฤติกรรมได้ นักจิตวิทยามนุษย์
นิยม มีความเชื่อว่าโดยธรรมชาติแล้วมนุษย์เป็นผู้ใฝ่ดี พฤติกรรม
ที่เป็นปัญหาของบุคคล เกิดมีขึ้นเพราะสังคมและสิ่งแวดล้อมชักนำา
ให้เป็นไป พฤติกรรมนิยม เชื่อว่ามนุษย์แรกเกิดมานั้นไม่ดีไม่ชั่ว
พระมหาศุภวัฒน์ ชุติมนฺโต (สุขดำา), “การศึกษาเปรียบเทียบแนว
ความคิดเรื่อง พฤติกรรมของมนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทกับ
ซิกมันด์ ฟรอยด์”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘).
5
ภายหลังจะเป็นไปตามสภาพแวดล้อมและทิศทางของการพัฒนา
พฤติกรรม ที่ถูกกำาหนดโดยการวางเงื่อนไข พุทธปรัชญาเถรวาท
ถือว่า พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมาไม่ว่าจะอยู่ในที่เปิดเผยหรือ
ในที่ลับ ล้วนเป็นผลสืบเนื่องมาจากบทบาทแห่งการกำาหนดวิถีทาง
ของชีวิตทั้งสิ้น ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ผลของพฤติกรรมจะมี
การทำางานแบบลูกโซ่ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดแยกกันไม่ออก
พฤติกรรมในอดีต ย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมที่กำาลังทำาในปัจจุบัน
และทำาในอนาคต ซึ่งจะกลับวนเวียนอยู่เช่นนี้ ตราบใดที่
พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมานั้นเป็นพฤติกรรมที่มีกิเลส และ
พฤติกรรมที่ชั่วย่อมก่อให้เกิดชีวิตในทางที่เป็นทุกข์ ส่วน
พฤติกรรมที่ดีย่อมส่งผลต่อชีวิตในทางที่เป็นความสุขใจทางใจ
พฤติกรรมในทรรศนะของซิกมันด์ ฟรอยด์ หมายถึง การ
แสดงออกทางกายภาพทั้งหมดของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการ
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลทั่วไปและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสิ่งอื่นๆ ซึ่งมี
ทั้งทางดีและไม่ดี เช่น การเดิน การหัวเราะ การร้องไห้ ดีใจ
เสียใจ เป็นต้น
๑.๕.๒ ยุภา เทิดอุดมธรรม ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การ
ศึกษาหลักพุทธธรรมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการให้การพยาบาล
ตามบทบาทเชิงวิชาชีพ : ศึกษากรณีพยาบาลวิชาชีพสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี” จากผลของการวิจัย
สรุปได้ว่า ๑. การวิจัยที่เกี่ยวกับหลักพุทธธรรมที่นำามาประยุกต์ใช้
ในการปฏิบัติงานการพยาบาลพบว่า หลักพรหมวิหาร ๔ และ
ฆราวาสธรรม ๔ ทำาให้พยาบาลเป็นผู้ที่ประพฤติเกื้อกูลต่อผู้อื่น มี
ความอิ่มเอิบใจเมื่อผู้อื่นมีความสุข สามารถวางใจเป็นกลางต่อ
ปัญหาที่เกิดขึ้น มีความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทนและอดกลั้น นับ
เป็นหลักธรรมที่เกื้อกูลการปฏิบัติงานในวิชาชีพการพยาบาล ส่ง
ผลให้พยาบาลปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข ๒.
พฤติกรรมการให้การพยาบาลในบทบาทเชิงวิชาชีพของพยาบาล
วิชาชีพโดยรวม อยู่ในระดับบ่อยครั้ง และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน
ยุภา เทิดอุดมธรรม, “การศึกษาหลักพุทธธรรมที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมการให้การพยาบาลตามบทบาทเชิงวิชาชีพ : ศึกษากรณี
พยาบาลวิชาชีพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี”,
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘).
6
พบว่า พฤติกรรมการพยาบาลด้านการป้องกัน พฤติกรรมการ
พยาบาลด้านการส่งเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการพยาบาลด้าน
การฟื้นฟูสมรรถภาพ อยู่ในระดับบ่อยครั้ง ส่วนพฤติกรรมการ
พยาบาลด้านการดูแลรักษาอยู่ในระดับทุกครั้ง ๓. ลักษณะทาง
พระพุทธศาสนา พบว่า มีการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ อยู่
ในระดับทุกครั้ง ส่วนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม ๔ และ
วิถีชีวิตแบบพุทธอยู่ในระดับบ่อยครั้ง ๔. พยาบาลวิชาชีพมี
สุขภาพจิต อยู่ในระดับค่อนข้างดี ๕. การปฏิบัติตนตามหลักพรหม
วิหาร ๔ การปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม ๔ วิถีชีวิตแบบพุทธ
และสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการให้การพยาบาล
ตามบทบาทเชิงวิชาชีพโดยรวมและแต่ละด้านทั้ง ๔ ด้าน อย่างมี
นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๖. ปัจจัยภูมิหลัง ได้แก่ อายุ
สถานภาพ และประสบการณ์การทำางานของพยาบาลที่แตกต่าง
กัน ส่งผลให้พยาบาลมีพฤติกรรมการพยาบาลในบทบาทเชิง
วิชาชีพโดยรวมและรายด้านทั้ง ๔ ด้าน แตกต่างกัน อย่างนี้นัย
สำาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕
๑.๕.๓ พระมหากิจการ โชติปญฺโญ ( ยุติพันธ์) ได้
ศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาพุทธวิธีการให้การปรึกษาที่ปรากฏใน
พระสุตตันตปิฎก” จากการศึกษาพบว่า พุทธวิธีการให้การปรึกษา
คือ กระบวนการที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมให้แก่มนุษย์ผู้
ประสบกับปัญหา คือ ความทุกข์ ได้มีหนทางในการนำาพาตนเอง
ให้หลุดพ้นจากความทุกข์ที่กำาลังประสบอยู่ มีพระผู้มีพระภาคทรง
เป็นกัลยาณมิตร ทรงเป็นผู้แนะนำาด้วยวิธีการต่าง ๆ และทรงให้
ความเป็นอิสระในการตัดสินใจของพวกเขาพุทธวิธีการให้การ
ปรึกษาดังกล่าว มีหลักการที่สำาคัญ คือ พระองค์ทรงช่วยชี้แจงถึง
ปัญหาให้กระจ่างชัดเจน โน้มน้าวจิตใจให้เขาปฏิบัติตาม ให้มี
ความมุ่งมั่นต่อการแก้ไขปัญหา และให้เกิดความสุขใจ มองเห็น
หนทางแก้ไขปัญหา คือ ความทุกข์นั้นได้กรณีตัวอย่างที่ได้ยกมา
พระมหากิจการ โชติปญฺโญ, “การศึกษาพุทธวิธีการให้การ
ปรึกษาที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก” , วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหา
บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๔๗).
7
แสดง สามารถนำามายืนยันให้เห็นถึงความสำาเร็จของพระองค์ที่
ทรงใช้พุทธวิธีการให้การปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหา แต่ละวิธีที่ทรง
ใช้ ล้วนเหมาะสมกับผู้มาขอรับการปรึกษา แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม คือ
ภิกษุ ๑๐ เรื่อง ภิกษุณี ๔ เรื่อง อุบาสก ๑๐ เรื่อง อุบาสิกา ๑ เรื่อง
นักบวชนอกศาสนา ๘ เรื่อง รวมทั้งสิ้น ๓๓ เรื่อง ในแต่ละกรณี
ตัวอย่างที่ยกมานั้นได้ทำาการวิเคราะห์ ถึงวิธีการให้การปรึกษาไว้
ในตอนท้ายของแต่ละเรื่อง มีลักษณะที่แตกต่างกันไป แต่มีเป้า
หมายเดียวกัน คือ การช่วยให้มนุษย์ได้หลุดพ้นจากความทุกข์
จากการศึกษาพุทธวิธีการให้การปรึกษา และกรณีตัวอย่างที่ผ่าน
มา เห็นได้ว่าสามารถนำามาเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ใช้ในการ
ป้องกัน และการแก้ไขปัญหา ในด้านของการศึกษา ระหว่างผู้
สอนกับผู้เรียน และการจัดการเรียนการสอน ในด้านของการ
ปกครอง ระหว่างผู้ทำาหน้าที่ปกครองกับผู้อยู่ภายใต้การปกครอง
สุดท้ายในด้านของเศรษฐศาสตร์ ระหว่างผู้ทำาหน้าที่ผลิตกับผู้
บริโภค ควรมีหลักธรรมในการปฏิบัติต่อกัน เพื่อช่วยแก้ไขและ
ป้องกันปัญหาอันจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และทำาให้สังคมมีความ
เป็นอยู่ที่ดี อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขตลอดไป
๑.๕.๔ นัตติมา ชูดวงแก้ว ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การ
ศึกษาเปรียบเทียบเจตสิกธรรมในพระอภิธรรมปิฎกกับพระสุตตันต
ปิฎก” จากการศึกษาค้นคว้าสรุปใจความได้ว่า เจตสิก (สังขาร)
ในพระอภิธรรมมีการจำาแนกเป็นประเภทใหญ่และแยกย่อยให้เห็น
ลักษณะของจิตและเจตสิกที่ประกอบอย่างชัดเจน เป็นความรู้ใน
เชิงทฤษฎีที่กว้างขวางยิ่งขึ้นเพราะทรงแสดงสภาวธรรมอื่น ๆที่
เกี่ยวข้อง เช่น สาเหตุการเกิดของเจตสิก การนำาเจตสิกแต่ละ
ดวงมาจำาแนกเป็นประเภทต่าง ๆ การปฏิบัติเพื่อละอกุศลเจตสิก
และการปฏิบัติเพื่อให้กุศลเจตสิกเกิดขึ้น เป็นต้น การแสดงใน
พระสูตร ทรงมุ่งเน้นการนำาความรู้ไปปฏิบัติมากกว่าการแสดง
ทฤษฎี แต่ไม่ขัดแย้งกัน...เจตสิกมีอิทธิพลต่อสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตของบุคคล ดังจะเห็นได้ว่าความสุขและความทุกข์ของ
คนเรานั้นล้วนเกี่ยวข้องกับเจตสิกทั้งสิ้น เจตสิกที่มีอิทธิพลทำาให้
สุขภาพจิตไม่ดีเป็นจิตที่เศร้าหมอง คืออกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภะ
โทสะ และโมหะ ที่ตรัสว่าเป็นรากเหง้าของอกุศลและจิตที่มี
สุขภาพดี คือจิตที่ประกอบด้วยกุศลเจตสิก ได้แก่ ปัญญา สติ
ศรัทธา เมตตา กรุณา เป็นต้น เป็นจิตที่ผ่องแผ้วเหมาะแก่การ
8
ทำำกำรงำนทั้งทำงโลกและกำรปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้ำหมำยใน
พระพุทธศำสนำ กำรปฏิบัติเพื่อกำรพัฒนำจิตให้มีสุขภำพดีจึง
หมำยถึงกำรปฏิบัติเพื่อให้กุศลเจตสิกเกิดขึ้น กำรปฏิบัตินี้ ทรง
แสดงไว้เป็นจำำนวนมำก เมื่อกล่ำวโดยรวมแล้วได้แก่กำรปฏิบัติ
ตำมหลัก ศีล สมำธิ ปัญญำ นั่นเอง
๑.๕.๕ สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต ได้กล่ำวถึงกำรปรับ
พฤติกรรมไว้ในหนังสือชื่อว่ำ “ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ
พฤติกรรม” พอสรุปได้ว่ำ กำรปรับพฤติกรรมเป็นแนวควำมคิด
ของนักจิตวิทยำกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaveorism) ซึ่งเป็น
แนวคิดที่วำงอยู่บนพื้นฐำนของควำมเป็นวิทยำศำสตร์ อำศัย
ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้จำกกำรทดลองมำอธิบำยปรำกฏกำรณ์ของ
กำรเกิดพฤติกรรมของอินทรีย์ นักจิตวิทยำกลุ่มนี้ไม่ยอมรับกำร
อธิบำยปรำกฏกำรณ์ของกำรเกิดพฤติกรรมของอินทรีย์ว่ำเป็น
เพรำะปัจจัยภำยในของอินทรีย์ ทั้งนี้เนื่องจำกว่ำกำรอธิบำยด้วย
ปัจจัยภำยในนั้น เป็นกำรอธิบำยโดยอำศัยหลักของภำวะ
สันนิษฐำน ไม่สำมำรถจะพิสูจน์ได้อย่ำงเชิงประจักษ์ แต่จะมี
ควำมเชื่อว่ำพฤติกรรมของอินทรีย์นั้นเกิดขึ้นเนื่องมำจำกปัจจัย
ภำยนอก หรือสภำพแวดล้อมเป็นหลัก
๑.๕.๖ ประเทือง ภูมิภัทรำคม ได้กล่ำวไว้ในหนังสือ
ชื่อว่ำ “กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำรประยุกต์” สรุป
ใจควำมได้ว่ำ กำรปรับพฤติกรรมเป็นกระบวนกำรเปลี่ยนแปลง
แก้ไขพฤติกรรมที่ค่อนข้ำงใหม่ได้มีกำรนำำมำใช้และเผยแพร่กัน
อย่ำงจริงจังเมื่อไม่นำนมำนี้ จำกกำรศึกษำค้นคว้ำเอกสำรที่ตี
พิมพ์เผยแพร่ พบว่ำได้มีกำรพัฒนำเทคนิคกำรปรับพฤติกรรมขึ้น
มำ และนำำไปใช้แก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่ำงจริงจังเมื่อ
ประมำณ ๓ ทศวรรษที่ผ่ำนมำนี้เอง ยิ่งในประเทศไทยแล้ว กำร
นัตติมำ ชูดวงแก้ว, “กำรศึกษำเปรียบเทียบเจตสิกธรรมในพระ
อภิธรรมปิฎกกับในพระสุตตันตปิฎก” วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำ
บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย,
๒๕๔๕), หน้ำ ข.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต, ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ
พฤติกรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย, ๒๕๔๓).
ประเทือง ภูมิภัทรำคม, กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำร
ประยุกต์, (กรุงเทพมหำนคร : สำำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๐).
9
ปรับพฤติกรรมยิ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้ำงใหม่มำก จำกหลักฐำน
เอกสำรที่ปรำกฏพบว่ำกำรปรับพฤติกรรมในประเทศไทยเริ่มเกิด
ขึ้นเมื่อประมำณ ๑๐ ปีเศษที่ผ่ำนมำนี้เอง เรื่องกำรปรับพฤติกรรม
จึงจัดว่ำเป็นของใหม่สำำหรับประเทศไทย ยังไม่เป็นที่รู้จักกันกว้ำง
ขวำงนักในหมู่ของนักจิตวิทยำและนักกำรศึกษำ
๑.๕.๘ โสภณ ศรีกฤษฎำพร ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง”ควำม
คิดมนุษย์ในพุทธปรัชญำ” ได้กล่ำวถึงพฤติกรรมไว้ว่ำ ตัวกำรที่
เป็นผู้ประกอบกรรมโดยตรงคือ จิต ส่วนกำยนั้นไม่ใช่เป็นตัวกำรที่
เป็นผู้ประกอบกรรมโดยตรง แต่กำยเป็นเพียงเครื่องมือให้จิต
กระทำำกรรม ดังนั้น จิตนอกจำกอำศัยกำยเป็นแนวทำงในกำรรับรู้
โลกภำยนอกแล้ว ยังอำศัยกำยเป็นเครื่องมือในกำรแสดง
พฤติกรรมหรือกำรกระทำำต่อโลกด้วย เพรำะเหตุที่จิตแสดง
พฤติกรรมหรือกำรกระทำำต่อโลกโดยอำศัยกำยเป็นฐำนให้เกิด
กำยกรรม วจีกรรม และมโนกรรมนี้เอง จึงทำำให้เกิดข้อปฏิบัติใน
แง่จริยธรรมในสังคมมนุษย์ คือกำรกระทำำดี กระทำำชั่วกำรกระทำำ
ถูกและกำรกระทำำผิด เป็นต้นขึ้น
๑.๕.๙ พระมหำพิเชษฐ์ ธีรวำโส (ดอกรัก) ได้ศึกษำ
วิจัยเรื่อง “กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์เรื่องกรรมและสังสำรวัฏในพุทธ
ปรัชญำเถรวำทที่มีอิทธิพลต่อกำรดำำเนินชีวิตของพุทธศำสนิกชน
ไทยในปัจจุบัน” สรุปเนื้อควำมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมได้ว่ำ
สำเหตุที่ทำำให้มนุษย์ที่แสดงออกซึ่งพฤติกรรมนั้น เกิดจำกกิเลส
หรือตัณหำ ซึ่งอยู่ในจิตของมนุษย์อันจะผลักดันให้มนุษย์เกิด
ควำมต้องกำร ควำมปรำรถนำจึงกระทำำกรรม (แสดงพฤติกรรม)
ต่ำง ๆ ออกมำตำมแรงผลักดันของกุศลเจตสิกและอกุศลเจตสิก
เมื่อบุคคลแสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้ำนใดด้ำนหนึ่งย่อมมีผลแห่ง
พฤติกรรมนั้น และผลนั้นย่อมมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตบุคคลในชำติ
โสภณ ศรีกฤษฎำพร, “ควำมคิดเรื่องมนุษย์ในพุทธ
ปรัชญำ”, กรุงเทพมหำนคร : มหำวิทยำลัยกรุงเทพ,๒๕๓๐.(รำยงำนกำร
วิจัย).
พระมหำพิเชษฐ์ ธีรวำโส (ดอกรัก), “กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์เรื่อง
กรรมและสังสำรวัฏในพุทธปรัชญำเถรวำทที่มีอิทธิพลต่อกำรดำำเนินชีวิต
ของพุทธศำสนิกชนไทยในปัจจุบัน”, วิทยำนิพนธ์ พุทธศำสตรมหำ
บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย : มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย),
๒๕๓๔.
10
นี้(ปัจจุบัน) และชำติหน้ำ (อนำคต) กำรกระทำำของมนุษย์เป็น
มรรคำที่จะนำำไปสุ่สุคติและทุคติ กำรกระทำำดีย่อมมีอิทธิพลต่อวิถี
ชีวิตที่เป็นควำมสุข กำรกระทำำที่เป็นควำมชั่ว ย่อมมีอิทธิพลต่อวิถี
ชีวิตที่เป็นควำมทุกข์ พุทธปรัชญำเถรวำทให้ควำมสำำคัญต่อกำรก
ระทำำที่เป็นไปเพื่อควำมพ้นทุกข์โดยดำำเนินตำมหลักของมัชฌิมำ
ปฏิปทำเพื่อควำมไม่เกิดอีกต่อไป
๑.๕.๑๐ รุ่งทิพย์ กิจทำำ ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง “กำรศึกษำ
เปรียบเทียบทรรศนะเรื่องกรรมในพุทธปรัชญำกับปรัชญำเชน”
สรุปหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์ได้ว่ำ ในศำสนำทั้งสอง
นั้น ต่ำงยอมรับว่ำมนุษย์จะเป็นอะไร อย่ำงไร จะประสบควำมทุกข์
ในชีวิตอย่ำงไรขึ้นอยู่กับกรรม (กำรกระทำำ ,พฤติกรรม) ที่เขำ
กระทำำไว้ในอดีตและที่กำำลังกระทำำอยู่ในปัจจุบัน ส่วนในอนำคต
บุคคลจะมีสภำพเป็นอย่ำงไร ก็ขึ้นอยู่กับกำรกระทำำของเขำใน
อดีตและปัจจุบันรวมกัน ถึงแม้ว่ำในศำสนำทั้งสองจะเชื่อเรื่อง
กรรมเหมือนกัน แต่ก็เน้นเรื่องกรรมต่ำงกัน คือ ในกรรม ๓ อย่ำง
ที่แบ่งตำมช่องทำงแห่งกำรกระทำำ คือ กำยกรรม วจีกรรม และ
มโนกรรมนั้น พุทธปรัชญำเน้นมโนกรรมว่ำมีบทบำทมำกที่สุดใน
เรื่องควำมหนักเบำของกรรม ส่วนปรัชญำเชนกลับเน้นกำยกรรม
ว่ำสำำคัญที่สุด และให้ผลรุนแรงกว่ำกรรมที่ทำำทำงวำจำและใจ
๑.๕.๗ พระชัชวำลย์ ศรีสุข ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง
“ศำสนำกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพ : ศึกษำเปรียบเทียบหลักคำำสอน
เกี่ยวกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพในพระพุทธศำสนำและศำสนำ
คริสต์” สรุปเนื้อควำมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมไว้ว่ำ
พฤติกรรมต่ำง ๆ ของมนุษย์เป็นผลมำจำกแรง ผลักดันของตัณหำ
เป็นหลักใหญ่ แม้ว่ำตัณหำจะมิใช่ตัวเหตุโดยตรงของพฤติกรรม
แต่เป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมในฐำนะเป็นเงื่อนไขของ
รุ่งทิพย์ กิจทำำ, “กำรศึกษำเปรียบเทียบทรรศนะเรื่องกรรมใน
พุทธปรัชญำกับปรัชญำเชน”, วิทยำนิพนธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑิต ,
(คณะอักษรศำสตร์ : จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย) ,๒๕๒๑.
พระชัชวำลย์ ศรีสุข, “ศำสนำกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพ : ศึกษำ
เปรียบเทียบหลักคำำสอนเกี่ยวกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพในพุทธศำสนำและ
ศำสนำคริสต์”,วิทยำนิพนธ์อักษรศำสตร์มหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย
: มหำวิทยำลัยมหิดล), ๒๕๔๑.
11
กำรกระทำำ โดยใช้ปัญญำ(โยนิโสมนสิกำร) เป็นตัวแก้ปัญหำ
พฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมที่มีปัญญำเป็นตัวนำำทำำให้กำร
พัฒนำบุคลิกภำพเป็นไปด้วยดี ต้องอำศัยควำมเคยชิน(อุปนิสัย)
เพรำะถ้ำมีพฤติกรรมเคยชินอย่ำงไร คนก็จะดำำเนินชีวิตไปด้วย
พฤติกรรมอย่ำงนั้น กำรพัฒนำบุคลิกภำพในพระพุทธศำสนำใช้
กำรพัฒนำจิตใจไปทีละขั้นจนกว่ำจะสิ้นกิเลส ด้วยกำรพัฒนำตน
และสังคมตำมหลักของศีล สมำธิ ปัญญำ
๑.๖ ขอบเขตของกำรวิจัย
งำนวิจัยนี้ ได้จำำกัดขอบเขตของกำรวิจัย คือศึกษำ
ประเด็นว่ำด้วยควำมหมำยและประเภทของพฤติกรรมในจิตวิทยำ
ควำมหมำยของพฤติกรรมในแนวคิดของแบนดูร่ำ หลักกำรเรื่อง
พฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำ แนวทำงกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์
ตำมหลักของแบนดูร่ำ และควำมหมำยและประเภทของกรรมใน
พระพุทธศำสนำ แนวทัศนะเกี่ยวกับกรรมตำมหลักพระพุทธ
ศำสนำ กำรพัฒนำพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักพระพุทธศำสนำ
ระดับกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักพระพุทธศำสนำ โดยมี
ขอบเขตกำรศึกษำเอกสำรจำกพระไตรปิฎกและอรรถกถำ และ
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๑.๗ วิธีดำำเนินกำรวิจัย
ขั้นตอนกำรวิจัย
ในงำนวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้จัดขั้นตอนในกำรศึกษำ โดย
สังเขปดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ ๑ เป็นกำรศึกษำควำมหมำยและประเภทของ
พฤติกรรมในจิตวิทยำ ควำมหมำยของพฤติกรรมในแนวคิดของ
แบนดูร่ำ หลักกำรเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำ แนวทำงกำร
ปรับพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักของแบนดูร่ำ โดยรวบรวมข้อมูล
จำกเอกสำร และเอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ ๒ เป็นกำรศึกษำควำมหมำยและประเภทของ
กรรมในพระพุทธศำสนำ แนวทัศนะเกี่ยวกับกรรมตำมหลัก
พระพุทธศำสนำ กำรพัฒนำพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักพระพุทธ
ศำสนำ ระดับกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักพระพุทธศำสนำ
ขั้นตอนที่ ๓ เป็นกำรศึกษำเชิงเปรียบเทียบระหว่ำงหลัก
12
การเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ากับหลักการเรื่องกรรมตาม
หลักของพระพุทธศาสนา
ขั้นตอนที่ ๔ เป็นการสรุปผลของการวิจัยที่ได้จากการ
ศึกษาจากขั้นตอนที่ ๑ – ๓
๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑.๘.๑ ทำาให้ทราบเรื่องรูปแบบการปรับพฤติกรรมตาม
หลักของวิทยาการสมัยใหม่
๑.๘.๒ ทำาให้ทราบเรื่องรูปแบบการปรับพฤติกรรมตาม
หลักของพระพุทธศาสนา
๑.๘.๓ ทำาให้ทราบความเหมือนกันและความต่างกันของ
รูปแบบการปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ากับหลักการปรับพฤติกรรม
ของพระพุทธศาสนา
13

Contenu connexe

En vedette

Ilmu budaya dasar
Ilmu budaya dasarIlmu budaya dasar
Ilmu budaya dasaryollaristy
 
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya Helena Nalle
 
Kepelbagaian sosial budaya
Kepelbagaian sosial budayaKepelbagaian sosial budaya
Kepelbagaian sosial budayamas preity
 
Modernisasi dan perubahan sosial budaya
Modernisasi dan perubahan sosial budayaModernisasi dan perubahan sosial budaya
Modernisasi dan perubahan sosial budayaUmi Pujiati
 
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR nissaaa25
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...Jonas Rosland
 
Roots of independence
Roots of independenceRoots of independence
Roots of independencevgrinb
 
Open data en hergebruik
Open data en hergebruikOpen data en hergebruik
Open data en hergebruikArjan Fassed
 
AdzVillage Advertising and Marketing Company
AdzVillage Advertising and Marketing CompanyAdzVillage Advertising and Marketing Company
AdzVillage Advertising and Marketing CompanySean Samuel
 
Classroom rules
Classroom rulesClassroom rules
Classroom rulesEric Cruz
 
Van datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeVan datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeArjan Fassed
 

En vedette (20)

Ilmu budaya dasar
Ilmu budaya dasarIlmu budaya dasar
Ilmu budaya dasar
 
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya
Modermisasi dan Perubahan Sosial Budaya
 
Kepelbagaian sosial budaya
Kepelbagaian sosial budayaKepelbagaian sosial budaya
Kepelbagaian sosial budaya
 
Modernisasi dan perubahan sosial budaya
Modernisasi dan perubahan sosial budayaModernisasi dan perubahan sosial budaya
Modernisasi dan perubahan sosial budaya
 
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR
POWER POINT ILMU BUDAYA DASAR
 
Modernization Theory
Modernization TheoryModernization Theory
Modernization Theory
 
Chapter 21 social change
Chapter 21  social changeChapter 21  social change
Chapter 21 social change
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...
VMworld 2015 San Francisco - CNA5520 - Run your Stateful and Stateless Apps i...
 
Roots of independence
Roots of independenceRoots of independence
Roots of independence
 
Open data en hergebruik
Open data en hergebruikOpen data en hergebruik
Open data en hergebruik
 
AdzVillage Advertising and Marketing Company
AdzVillage Advertising and Marketing CompanyAdzVillage Advertising and Marketing Company
AdzVillage Advertising and Marketing Company
 
Classroom rules
Classroom rulesClassroom rules
Classroom rules
 
All US Zip Codes
All US Zip CodesAll US Zip Codes
All US Zip Codes
 
Guardianships Guide
Guardianships GuideGuardianships Guide
Guardianships Guide
 
บทที่ ๔ ใหม่
บทที่ ๔ ใหม่บทที่ ๔ ใหม่
บทที่ ๔ ใหม่
 
04essay
04essay04essay
04essay
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
Van datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeVan datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalisme
 

Similaire à บทที่ ๑ (จริง)

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดLampang Rajabhat University
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6Parn Parai
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 

Similaire à บทที่ ๑ (จริง) (14)

บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอดทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
ทฤษฎีผู้นำชั้นยอด
 
คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6คำราชาศัพท์ ม.6
คำราชาศัพท์ ม.6
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

บทที่ ๑ (จริง)

  • 1. บทที่ ๑ บทนำำ ๑.๑ ควำมเป็นมำและควำมสำำคัญของปัญหำ กำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักของศำสตร์สมัยใหม่ เป็นเรื่องใหม่สำำหรับประเทศไทยเป็นศัพท์ใหม่สำำหรับคนไทย จำก หลักฐำนทำงเอกสำรที่ตีพิมพ์เผยแพร่ พบว่ำได้มีกำรพัฒนำ เทคนิคกำรปรับพฤติกรรมขึ้นมำ และนำำไปใช้แก้ไขเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมอย่ำงจริงจังเมื่อประมำณ ๓ ทศวรรษที่ผ่ำนมำนี้เอง จำก หลักฐำนเอกสำรที่ปรำกฏพบว่ำกำรปรับพฤติกรรมในประเทศไทย เริ่มเกิดขึ้นเมื่อประมำณ ๑๐ ปีเศษที่ผ่ำนมำนี้เอง เรื่องกำรปรับ พฤติกรรมจึงจัดว่ำเป็นของใหม่สำำหรับประเทศไทย แต่สิ่งเหล่ำนี้ อยู่กับคนไทยมำนำนแล้วโดยที่คนไทยไม่รู้ว่ำกำรปรับพฤติกรรมก็ คือกำรเจริญวิปัสสนำกรรมฐำนหรือกำรปรับอินทรีย์ ๕ ใน พระพุทธศำสนำนั่นเอง มีนักจิตวิทยำทำงตะวันตกหลำยคนที่ ศึกษำเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์แต่ละคนก็มีวิธีกำรแตกต่ำงกันออก ไป แบนดูร่ำ (Bandura) เป็นนักจิตวิทยำคนหนึ่งที่สนใจศึกษำ วิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์โดยเขำให้ชื่อทฤษฎีของเขำว่ำ ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงปัญญำสังคม ทฤษฎีของเขำได้รับกำรยอมรับ จำกนักจิตวิทยำและนักวิชำกำรอย่ำงกว้ำงขวำง แบนดูร่ำ มีแนวควำมคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ที่ น่ำศึกษำเปรียบเทียบกับหลักกรรมของพระพุทธศำสนำอยู่บ้ำงคือ แบนดูร่ำเชื่อว่ำพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจำกองค์ประกอบ ๓ อย่ำง คือ พฤติกรรม (B) องค์ประกอบส่วนบุคคล (P) และองค์ประกอบ ประเทือง ภูมิภัทรำคม, กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำร ประยุกต์, (กรุงเทพมหำนคร : สำำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๐),หน้ำ ๓๒. อินทรีย์ ๕ ได้แก่ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมำธินทรีย์ ปัญญินทรีย์.
  • 2. ทำงสิ่งแวดล้อม (E) มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน กล่ำวคือ พฤติกรรม ของมนุษย์สำมำรถกำำหนดสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมก็สำมำรถ กำำหนดพฤติกรรม พฤติกรรมสำมำรถกำำหนดองค์ประกอบส่วน บุคคล องค์ประกอบส่วนบุคคลก็สำมำรถกำำหนดพฤติกรรมได้เช่น กัน ในทำำนองเดียวกัน องค์ประกอบทำงสิ่งแวดล้อมและองค์ ประกอบส่วนบุคคลก็มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ทั้งสำมอย่ำงนี้มีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน คือ บุคคล สำมำรถกำำหนดสิ่งแวดล้อมได้ ในขณะเดียวกันสิ่งแวดล้อมก็ สำมำรถกำำหนดบุคคลได้ บุคคลสำมำรถกำำหนดพฤติกรรมได้ ในทำงกลับกันพฤติกรรมก็สำมำรถกำำหนด บุคคลได้เช่นกัน แบนดูร่ำ คิดวิธีกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ขึ้นมำหลำยวิธี เช่น กำร เลียนแบบจำกตัวแบบ กำรเพิ่มแรงจูงใจ เป็นต้น ซึ่งวิธีเหล่ำนี้ สำมำรถเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษย์ไปในทำงที่พึงประสงค์ได้ หมำยควำมว่ำ ผู้เลียนแบบจะมีพฤติกรรมเหมือนตัวแบบที่เขำเห็น ซึ่งตรงกับหลักกำรคบมิตรหรือคบเพื่อนในพระพุทธศำสนำ ดัง พระพุทธพจน์ว่ำ “โย หิ ยำ เสวติ โส ตำ คติโกว คบคนเช่นไรเป็น เหมือนคนเช่นนั้น” กำรสังเกตตนเอง เป็นวิธีหนึ่งที่แบนดูร่ำใช้ในกำรปรับ พฤติกรรมมนุษย์ กำรสังเกตตนเองจะช่วยให้มนุษย์เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมได้โดยควำมภำคภูมิใจเพรำะมันเกิดจำกแรงจูงใจ ภำยในของเขำเอง โดยธรรมชำติมนุษย์ไม่ต้องกำรให้คนอื่นสอน ถ้ำมีคนมำบอกว่ำ ควรทำำอย่ำงนั้น ไม่ควรทำำอย่ำงนี้ เขำจะไม่ ชอบและจะไม่ทำำตำม แต่ถ้ำเขำเห็นว่ำ กำรมีพฤติกรรมนั้น ๆ จะ ทำำให้เขำได้รับควำมเคำรพนับถือหรือควำมยกย่อง เขำก็จะค่อย ๆ ปรับพฤติกรรมของเขำโดยไม่ต้องให้คนอื่นมำบอก ซึ่งก็ตรงกับ พระพุทธพจน์ว่ำ “อตฺตนำ โจทยตฺตำนำ ปฏิมำเสถ อตฺตนำ. ภิกษุ เธอจงเตือนตนด้วยตนเอง จงพิจำรณำดูตนด้วยตนเอง” A. Bandura, Social Foundations of Thought and Action : A Social cognitive theory, (Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1986), p. 24, A. Bandura, Social Learning Theory, pp. 9-10. มงฺคล. (บำลี) ๑/๒๐/๗. ขุ. ธ. (บำลี) ๒๕/๓๗๙/๓๗, ขุ. ธ. (ไทย) ๒๕/๓๗๙/๗๕. 2
  • 3. พระพุทธศำสนำสอนเรื่องกรรม เช่น พระพุทธพจน์ใน อภิณหปัจจเวกขิตัพพฐำนสูตร ในอังคุตตรนิกำยว่ำ “กมฺมสฺส โกมฺหิ กมฺมทำยำโท กมฺมโยนิ กมฺมพนฺธุ กมฺมปฏิสรโณ...เรำมี กรรมเป็นสมบัติของตน เรำเป็นทำยำทของกรรม เรำมีกรรมเป็น เครื่องก่อให้เกิด เรำมีกรรมเป็นพวกพ้อง เรำมีกรรมเป็นพึ่ง ...” เป็นต้น คำำว่ำ “กรรม” ในทำงพระพุทธศำสนำ หมำยถึงกำรกระ ทำำที่ประกอบด้วยเจตนำ ซึ่งคำำว่ำกรรมเป็นคำำกลำง ๆ ยังไม่จัดว่ำ ดีหรือชั่ว เมื่อบุคคลทำำกรรมดีมีกำรให้ทำน รักษำศีล เจริญ ภำวนำเป็นต้น จึงเรียกว่ำ กรรมดี เมื่อบุคคลทำำกรรมชั่ว มีกำรฆ่ำ สัตว์ ลักทรัพย์ของคนอื่น ประพฤติผิดในกำม พูดเท็จเป็นต้น จึง เรียกว่ำ กรรมชั่ว กรรมดีให้ผลในทำงบวก กรรมชั่วให้ผลในทำง ลบ บุคคลทำำกรรมอย่ำงไรก็จะได้รับผลอย่ำงนั้น ไม่ช้ำก็เร็วแล้ว แต่ว่ำกรรมอันไหนจะมีโอกำสให้ผลก่อน ดังพระพุทธพจน์ว่ำ “กมฺ มุนำ วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตำมกรรม” กรรมเป็นสิ่ง จำำแนกสัตว์ให้ดีให้เลวละเอียด ประณีต ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงปัญญำสังคมของแบนดูร่ำตรงกับ หลักกำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำ เพรำะส่วนมำกแบนดูร่ำ จะพูดถึงกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์มำก ขึ้น กำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำก็คือกำรพัฒนำ พฤติกรรมมนุษย์ให้เป็นไปในทำงที่พึงประสงค์เช่นเดียวกัน แต่มี รำยละเอียดแตกต่ำงกันออกไป ทำงพระพุทธศำสนำใช้หลัก ไตรสิกขำ เป็นแนวทำงกำรพัฒนำ คือ หลักศีล เป็นหลักปรับ พฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นหยำบ หลักสมำธิ เป็นหลักกำร ปรับพฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นปำนกลำง หลักปัญญำ เป็น หลักกำรปรับพฤติกรรมทำงกำย วำจำ ใจ ขั้นสูง เพื่อปรับ พฤติกรรมให้ดำำเนินไปตำมที่ต้องกำรสูงขึ้นจนเป็นพระอริยบุคคล เมื่อนำำหลักกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำกับหลัก กำรพัฒนำกรรมในพระพุทธศำสนำมำเปรียบเทียบกันแล้วมีควำม คล้ำยคลึงใกล้เคียงกัน เช่น หลักกำรคบมิตรในพระพุทธศำสนำ กับหลักกำรเลียนแบบจำกตัวแบบของแบนดูร่ำ กำรติเตียนบุคคล ที่ควรติเตียน กำรยกย่องบุคคลที่ควรยกย่องกับหลักกำรกำรเสริม แรงจูงใจ หลักโยนิโสมนสิกำรกับหลักกำรใส่ใจ เป็นต้น ประเด็น องฺ. ปญฺจ. (บำลี) ๒๒/๕๗/๔๓. ขุ.ธ. (บำลี) ๒๕/๖๕๘/๒๓๘. 3
  • 4. เหล่ำนี้ทำำให้ผู้วิจัยมีควำมสนใจที่จะศึกษำเปรียบเทียบทฤษฎีกำร เรียนรู้ทำงปัญญำสังคมของแบนดูร่ำกับหลักกำรพัฒนำกรรมตำม หลักของพระพุทธศำสนำในเชิงลึกเพื่อจะได้นำำมำประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่วงกำรศึกษำต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ๑.๒.๑ เพื่อศึกษำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของ แบนดูร่ำ ๑.๒.๒ เพื่อศึกษำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของ พระพุทธศำสนำ ๑.๒.๓ เพื่อศึกษำวิเครำะห์เปรียบเทียบรูปแบบกำรปรับ พฤติกรรมของแบนดูร่ำกับรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลัก พระพุทธศำสนำ ๑.๓ ปัญหำที่ต้องกำรทรำบ ๑.๓.๑ รูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของแบนดูร่ำ เป็นอย่ำงไร ๑.๓.๒ รูปแบบกำรปรับพฤติกรรมตำมหลักของพระพุทธ ศำสนำเป็นอย่ำงไร ๑.๓.๓ เมื่อนำำรูปแบบกำรปรับพฤติกรรมของทั้งสองฝ่ำย มำเปรียบเทียบกันแล้วจะมีควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงกัน อย่ำงไร ๑.๔ คำำจำำกัดควำมของศัพท์ที่ใช้ในกำรวิจัย ๑.๔.๑ รูปแบบ ในงำนวิจัยนี้ หมำยถึงชุดหรือ กระบวนกำรหรือหมวดหลักธรรมที่นำำไปเป็นแนวทำงในกำรปรับ พฤติกรรมตำมหลักกำรปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ำและตำมหลัก พระพุทธศำสนำ ๑.๔.๒ กำรพัฒนำ หมำยถึง กำรปรับเปลี่ยนหรือ ปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภำพในทำงบวกมำกขึ้น สิ่งที่มีอยู่ แล้วในงำนวิจัยนี้หมำยถึงกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักของแบน ดูร่ำและกำรพัฒนำสังขำรหรือเจตสิกตำมหลักของพระพุทธ ศำสนำ 4
  • 5. ๑.๔.๓ สังขาร หมายถึง ในงานวิจัยนี้หมายถึงสังขารใน ขันธ์ ๕ ซึ่งในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรมจำาแนกเป็นเจตสิก ๕๐ อย่าง รวม ถึงเจตนาซึ่งเป็นสังขารในปฏิจจสมุปบาท ๑.๔.๔ พฤติกรรม หมายถึง การกระทำาทุกอย่างที่ ปรากฏออกมาทางกาย และทางวาจา เช่น การกิน การพูด การเดิน การนอน เป็นต้น ๑.๔.๕ การปรับพฤติกรรม หมายถึง กระบวนการหรือ วิธีการต่าง ๆ ที่นำามาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คือ การกิน การพูด การเดิน การนอน เป็นต้น ที่ไม่พึงประสงค์ให้เปลี่ยน เป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๑.๕.๑ พระมหาศุภวัฒน์ ชุติมนฺโต (สุขดำา) ได้ศึกษา วิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่อง พฤติกรรมของ มนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทกับซิกมันด์ ฟรอยด์” จากการศึกษาสรุปได้ว่า พฤติกรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท หมาย ถึง การแสดงออกทางกาย วาจา และสิ่งที่สืบเนื่องมาจากจิตที่อยู่ ภายใน การแสดงออกมาทางกายภาพทั้งหมด เรียกว่า กายกรรม ทางวาจาเรียกว่าวจีกรรม และทางใจเรียกว่ามโนกรรมตามทฤษฎี ตะวันตก ตั้งแต่ยุคกรีกซึ่งรุ่งเรืองทางความคิด มีความเชื่อว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จำาเป็นต้องมีพฤติกรรมสัมพันธ์กับสภาพ แวดล้อมทั้งที่สังเกตได้และไม่สามารถสังเกตได้ โดยนักคิดจิตนิยม ถือว่าจิตเป็นผู้คอยกำากับพฤติกรรม กลุ่มสัจนิยมเชื่อว่ามนุษย์ ประกอบด้วยร่างกายและวิญญาณหรือจิตใจ ซึ่งเป็นกระบวนการ ทางกายภาพ เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แต่มนุษย์มีวิวัฒนาการ ทางจิตสำานึกที่สูงกว่า ขณะที่กลุ่มอัตถิภาวนิยม เชื่อในอิสรภาพ ของมนุษย์ในอันที่จะเลือกแสดงพฤติกรรมได้ นักจิตวิทยามนุษย์ นิยม มีความเชื่อว่าโดยธรรมชาติแล้วมนุษย์เป็นผู้ใฝ่ดี พฤติกรรม ที่เป็นปัญหาของบุคคล เกิดมีขึ้นเพราะสังคมและสิ่งแวดล้อมชักนำา ให้เป็นไป พฤติกรรมนิยม เชื่อว่ามนุษย์แรกเกิดมานั้นไม่ดีไม่ชั่ว พระมหาศุภวัฒน์ ชุติมนฺโต (สุขดำา), “การศึกษาเปรียบเทียบแนว ความคิดเรื่อง พฤติกรรมของมนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทกับ ซิกมันด์ ฟรอยด์”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘). 5
  • 6. ภายหลังจะเป็นไปตามสภาพแวดล้อมและทิศทางของการพัฒนา พฤติกรรม ที่ถูกกำาหนดโดยการวางเงื่อนไข พุทธปรัชญาเถรวาท ถือว่า พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมาไม่ว่าจะอยู่ในที่เปิดเผยหรือ ในที่ลับ ล้วนเป็นผลสืบเนื่องมาจากบทบาทแห่งการกำาหนดวิถีทาง ของชีวิตทั้งสิ้น ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ผลของพฤติกรรมจะมี การทำางานแบบลูกโซ่ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดแยกกันไม่ออก พฤติกรรมในอดีต ย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมที่กำาลังทำาในปัจจุบัน และทำาในอนาคต ซึ่งจะกลับวนเวียนอยู่เช่นนี้ ตราบใดที่ พฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกมานั้นเป็นพฤติกรรมที่มีกิเลส และ พฤติกรรมที่ชั่วย่อมก่อให้เกิดชีวิตในทางที่เป็นทุกข์ ส่วน พฤติกรรมที่ดีย่อมส่งผลต่อชีวิตในทางที่เป็นความสุขใจทางใจ พฤติกรรมในทรรศนะของซิกมันด์ ฟรอยด์ หมายถึง การ แสดงออกทางกายภาพทั้งหมดของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการ ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลทั่วไปและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสิ่งอื่นๆ ซึ่งมี ทั้งทางดีและไม่ดี เช่น การเดิน การหัวเราะ การร้องไห้ ดีใจ เสียใจ เป็นต้น ๑.๕.๒ ยุภา เทิดอุดมธรรม ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การ ศึกษาหลักพุทธธรรมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการให้การพยาบาล ตามบทบาทเชิงวิชาชีพ : ศึกษากรณีพยาบาลวิชาชีพสังกัด กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี” จากผลของการวิจัย สรุปได้ว่า ๑. การวิจัยที่เกี่ยวกับหลักพุทธธรรมที่นำามาประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงานการพยาบาลพบว่า หลักพรหมวิหาร ๔ และ ฆราวาสธรรม ๔ ทำาให้พยาบาลเป็นผู้ที่ประพฤติเกื้อกูลต่อผู้อื่น มี ความอิ่มเอิบใจเมื่อผู้อื่นมีความสุข สามารถวางใจเป็นกลางต่อ ปัญหาที่เกิดขึ้น มีความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทนและอดกลั้น นับ เป็นหลักธรรมที่เกื้อกูลการปฏิบัติงานในวิชาชีพการพยาบาล ส่ง ผลให้พยาบาลปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข ๒. พฤติกรรมการให้การพยาบาลในบทบาทเชิงวิชาชีพของพยาบาล วิชาชีพโดยรวม อยู่ในระดับบ่อยครั้ง และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน ยุภา เทิดอุดมธรรม, “การศึกษาหลักพุทธธรรมที่มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมการให้การพยาบาลตามบทบาทเชิงวิชาชีพ : ศึกษากรณี พยาบาลวิชาชีพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘). 6
  • 7. พบว่า พฤติกรรมการพยาบาลด้านการป้องกัน พฤติกรรมการ พยาบาลด้านการส่งเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการพยาบาลด้าน การฟื้นฟูสมรรถภาพ อยู่ในระดับบ่อยครั้ง ส่วนพฤติกรรมการ พยาบาลด้านการดูแลรักษาอยู่ในระดับทุกครั้ง ๓. ลักษณะทาง พระพุทธศาสนา พบว่า มีการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ อยู่ ในระดับทุกครั้ง ส่วนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม ๔ และ วิถีชีวิตแบบพุทธอยู่ในระดับบ่อยครั้ง ๔. พยาบาลวิชาชีพมี สุขภาพจิต อยู่ในระดับค่อนข้างดี ๕. การปฏิบัติตนตามหลักพรหม วิหาร ๔ การปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม ๔ วิถีชีวิตแบบพุทธ และสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการให้การพยาบาล ตามบทบาทเชิงวิชาชีพโดยรวมและแต่ละด้านทั้ง ๔ ด้าน อย่างมี นัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ ๖. ปัจจัยภูมิหลัง ได้แก่ อายุ สถานภาพ และประสบการณ์การทำางานของพยาบาลที่แตกต่าง กัน ส่งผลให้พยาบาลมีพฤติกรรมการพยาบาลในบทบาทเชิง วิชาชีพโดยรวมและรายด้านทั้ง ๔ ด้าน แตกต่างกัน อย่างนี้นัย สำาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๑.๕.๓ พระมหากิจการ โชติปญฺโญ ( ยุติพันธ์) ได้ ศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาพุทธวิธีการให้การปรึกษาที่ปรากฏใน พระสุตตันตปิฎก” จากการศึกษาพบว่า พุทธวิธีการให้การปรึกษา คือ กระบวนการที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมให้แก่มนุษย์ผู้ ประสบกับปัญหา คือ ความทุกข์ ได้มีหนทางในการนำาพาตนเอง ให้หลุดพ้นจากความทุกข์ที่กำาลังประสบอยู่ มีพระผู้มีพระภาคทรง เป็นกัลยาณมิตร ทรงเป็นผู้แนะนำาด้วยวิธีการต่าง ๆ และทรงให้ ความเป็นอิสระในการตัดสินใจของพวกเขาพุทธวิธีการให้การ ปรึกษาดังกล่าว มีหลักการที่สำาคัญ คือ พระองค์ทรงช่วยชี้แจงถึง ปัญหาให้กระจ่างชัดเจน โน้มน้าวจิตใจให้เขาปฏิบัติตาม ให้มี ความมุ่งมั่นต่อการแก้ไขปัญหา และให้เกิดความสุขใจ มองเห็น หนทางแก้ไขปัญหา คือ ความทุกข์นั้นได้กรณีตัวอย่างที่ได้ยกมา พระมหากิจการ โชติปญฺโญ, “การศึกษาพุทธวิธีการให้การ ปรึกษาที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก” , วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหา บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗). 7
  • 8. แสดง สามารถนำามายืนยันให้เห็นถึงความสำาเร็จของพระองค์ที่ ทรงใช้พุทธวิธีการให้การปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหา แต่ละวิธีที่ทรง ใช้ ล้วนเหมาะสมกับผู้มาขอรับการปรึกษา แบ่งเป็น ๕ กลุ่ม คือ ภิกษุ ๑๐ เรื่อง ภิกษุณี ๔ เรื่อง อุบาสก ๑๐ เรื่อง อุบาสิกา ๑ เรื่อง นักบวชนอกศาสนา ๘ เรื่อง รวมทั้งสิ้น ๓๓ เรื่อง ในแต่ละกรณี ตัวอย่างที่ยกมานั้นได้ทำาการวิเคราะห์ ถึงวิธีการให้การปรึกษาไว้ ในตอนท้ายของแต่ละเรื่อง มีลักษณะที่แตกต่างกันไป แต่มีเป้า หมายเดียวกัน คือ การช่วยให้มนุษย์ได้หลุดพ้นจากความทุกข์ จากการศึกษาพุทธวิธีการให้การปรึกษา และกรณีตัวอย่างที่ผ่าน มา เห็นได้ว่าสามารถนำามาเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ใช้ในการ ป้องกัน และการแก้ไขปัญหา ในด้านของการศึกษา ระหว่างผู้ สอนกับผู้เรียน และการจัดการเรียนการสอน ในด้านของการ ปกครอง ระหว่างผู้ทำาหน้าที่ปกครองกับผู้อยู่ภายใต้การปกครอง สุดท้ายในด้านของเศรษฐศาสตร์ ระหว่างผู้ทำาหน้าที่ผลิตกับผู้ บริโภค ควรมีหลักธรรมในการปฏิบัติต่อกัน เพื่อช่วยแก้ไขและ ป้องกันปัญหาอันจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และทำาให้สังคมมีความ เป็นอยู่ที่ดี อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขตลอดไป ๑.๕.๔ นัตติมา ชูดวงแก้ว ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การ ศึกษาเปรียบเทียบเจตสิกธรรมในพระอภิธรรมปิฎกกับพระสุตตันต ปิฎก” จากการศึกษาค้นคว้าสรุปใจความได้ว่า เจตสิก (สังขาร) ในพระอภิธรรมมีการจำาแนกเป็นประเภทใหญ่และแยกย่อยให้เห็น ลักษณะของจิตและเจตสิกที่ประกอบอย่างชัดเจน เป็นความรู้ใน เชิงทฤษฎีที่กว้างขวางยิ่งขึ้นเพราะทรงแสดงสภาวธรรมอื่น ๆที่ เกี่ยวข้อง เช่น สาเหตุการเกิดของเจตสิก การนำาเจตสิกแต่ละ ดวงมาจำาแนกเป็นประเภทต่าง ๆ การปฏิบัติเพื่อละอกุศลเจตสิก และการปฏิบัติเพื่อให้กุศลเจตสิกเกิดขึ้น เป็นต้น การแสดงใน พระสูตร ทรงมุ่งเน้นการนำาความรู้ไปปฏิบัติมากกว่าการแสดง ทฤษฎี แต่ไม่ขัดแย้งกัน...เจตสิกมีอิทธิพลต่อสุขภาพกายและ สุขภาพจิตของบุคคล ดังจะเห็นได้ว่าความสุขและความทุกข์ของ คนเรานั้นล้วนเกี่ยวข้องกับเจตสิกทั้งสิ้น เจตสิกที่มีอิทธิพลทำาให้ สุขภาพจิตไม่ดีเป็นจิตที่เศร้าหมอง คืออกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ ที่ตรัสว่าเป็นรากเหง้าของอกุศลและจิตที่มี สุขภาพดี คือจิตที่ประกอบด้วยกุศลเจตสิก ได้แก่ ปัญญา สติ ศรัทธา เมตตา กรุณา เป็นต้น เป็นจิตที่ผ่องแผ้วเหมาะแก่การ 8
  • 9. ทำำกำรงำนทั้งทำงโลกและกำรปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้ำหมำยใน พระพุทธศำสนำ กำรปฏิบัติเพื่อกำรพัฒนำจิตให้มีสุขภำพดีจึง หมำยถึงกำรปฏิบัติเพื่อให้กุศลเจตสิกเกิดขึ้น กำรปฏิบัตินี้ ทรง แสดงไว้เป็นจำำนวนมำก เมื่อกล่ำวโดยรวมแล้วได้แก่กำรปฏิบัติ ตำมหลัก ศีล สมำธิ ปัญญำ นั่นเอง ๑.๕.๕ สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต ได้กล่ำวถึงกำรปรับ พฤติกรรมไว้ในหนังสือชื่อว่ำ “ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ พฤติกรรม” พอสรุปได้ว่ำ กำรปรับพฤติกรรมเป็นแนวควำมคิด ของนักจิตวิทยำกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaveorism) ซึ่งเป็น แนวคิดที่วำงอยู่บนพื้นฐำนของควำมเป็นวิทยำศำสตร์ อำศัย ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้จำกกำรทดลองมำอธิบำยปรำกฏกำรณ์ของ กำรเกิดพฤติกรรมของอินทรีย์ นักจิตวิทยำกลุ่มนี้ไม่ยอมรับกำร อธิบำยปรำกฏกำรณ์ของกำรเกิดพฤติกรรมของอินทรีย์ว่ำเป็น เพรำะปัจจัยภำยในของอินทรีย์ ทั้งนี้เนื่องจำกว่ำกำรอธิบำยด้วย ปัจจัยภำยในนั้น เป็นกำรอธิบำยโดยอำศัยหลักของภำวะ สันนิษฐำน ไม่สำมำรถจะพิสูจน์ได้อย่ำงเชิงประจักษ์ แต่จะมี ควำมเชื่อว่ำพฤติกรรมของอินทรีย์นั้นเกิดขึ้นเนื่องมำจำกปัจจัย ภำยนอก หรือสภำพแวดล้อมเป็นหลัก ๑.๕.๖ ประเทือง ภูมิภัทรำคม ได้กล่ำวไว้ในหนังสือ ชื่อว่ำ “กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำรประยุกต์” สรุป ใจควำมได้ว่ำ กำรปรับพฤติกรรมเป็นกระบวนกำรเปลี่ยนแปลง แก้ไขพฤติกรรมที่ค่อนข้ำงใหม่ได้มีกำรนำำมำใช้และเผยแพร่กัน อย่ำงจริงจังเมื่อไม่นำนมำนี้ จำกกำรศึกษำค้นคว้ำเอกสำรที่ตี พิมพ์เผยแพร่ พบว่ำได้มีกำรพัฒนำเทคนิคกำรปรับพฤติกรรมขึ้น มำ และนำำไปใช้แก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่ำงจริงจังเมื่อ ประมำณ ๓ ทศวรรษที่ผ่ำนมำนี้เอง ยิ่งในประเทศไทยแล้ว กำร นัตติมำ ชูดวงแก้ว, “กำรศึกษำเปรียบเทียบเจตสิกธรรมในพระ อภิธรรมปิฎกกับในพระสุตตันตปิฎก” วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำ บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๔๕), หน้ำ ข. สมโภชน์ เอี่ยมสุภำษิต, ทฤษฎีและเทคนิคกำรปรับ พฤติกรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย, ๒๕๔๓). ประเทือง ภูมิภัทรำคม, กำรปรับพฤติกรรม : ทฤษฎีและกำร ประยุกต์, (กรุงเทพมหำนคร : สำำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๐). 9
  • 10. ปรับพฤติกรรมยิ่งเป็นเรื่องที่ค่อนข้ำงใหม่มำก จำกหลักฐำน เอกสำรที่ปรำกฏพบว่ำกำรปรับพฤติกรรมในประเทศไทยเริ่มเกิด ขึ้นเมื่อประมำณ ๑๐ ปีเศษที่ผ่ำนมำนี้เอง เรื่องกำรปรับพฤติกรรม จึงจัดว่ำเป็นของใหม่สำำหรับประเทศไทย ยังไม่เป็นที่รู้จักกันกว้ำง ขวำงนักในหมู่ของนักจิตวิทยำและนักกำรศึกษำ ๑.๕.๘ โสภณ ศรีกฤษฎำพร ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง”ควำม คิดมนุษย์ในพุทธปรัชญำ” ได้กล่ำวถึงพฤติกรรมไว้ว่ำ ตัวกำรที่ เป็นผู้ประกอบกรรมโดยตรงคือ จิต ส่วนกำยนั้นไม่ใช่เป็นตัวกำรที่ เป็นผู้ประกอบกรรมโดยตรง แต่กำยเป็นเพียงเครื่องมือให้จิต กระทำำกรรม ดังนั้น จิตนอกจำกอำศัยกำยเป็นแนวทำงในกำรรับรู้ โลกภำยนอกแล้ว ยังอำศัยกำยเป็นเครื่องมือในกำรแสดง พฤติกรรมหรือกำรกระทำำต่อโลกด้วย เพรำะเหตุที่จิตแสดง พฤติกรรมหรือกำรกระทำำต่อโลกโดยอำศัยกำยเป็นฐำนให้เกิด กำยกรรม วจีกรรม และมโนกรรมนี้เอง จึงทำำให้เกิดข้อปฏิบัติใน แง่จริยธรรมในสังคมมนุษย์ คือกำรกระทำำดี กระทำำชั่วกำรกระทำำ ถูกและกำรกระทำำผิด เป็นต้นขึ้น ๑.๕.๙ พระมหำพิเชษฐ์ ธีรวำโส (ดอกรัก) ได้ศึกษำ วิจัยเรื่อง “กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์เรื่องกรรมและสังสำรวัฏในพุทธ ปรัชญำเถรวำทที่มีอิทธิพลต่อกำรดำำเนินชีวิตของพุทธศำสนิกชน ไทยในปัจจุบัน” สรุปเนื้อควำมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมได้ว่ำ สำเหตุที่ทำำให้มนุษย์ที่แสดงออกซึ่งพฤติกรรมนั้น เกิดจำกกิเลส หรือตัณหำ ซึ่งอยู่ในจิตของมนุษย์อันจะผลักดันให้มนุษย์เกิด ควำมต้องกำร ควำมปรำรถนำจึงกระทำำกรรม (แสดงพฤติกรรม) ต่ำง ๆ ออกมำตำมแรงผลักดันของกุศลเจตสิกและอกุศลเจตสิก เมื่อบุคคลแสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้ำนใดด้ำนหนึ่งย่อมมีผลแห่ง พฤติกรรมนั้น และผลนั้นย่อมมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตบุคคลในชำติ โสภณ ศรีกฤษฎำพร, “ควำมคิดเรื่องมนุษย์ในพุทธ ปรัชญำ”, กรุงเทพมหำนคร : มหำวิทยำลัยกรุงเทพ,๒๕๓๐.(รำยงำนกำร วิจัย). พระมหำพิเชษฐ์ ธีรวำโส (ดอกรัก), “กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์เรื่อง กรรมและสังสำรวัฏในพุทธปรัชญำเถรวำทที่มีอิทธิพลต่อกำรดำำเนินชีวิต ของพุทธศำสนิกชนไทยในปัจจุบัน”, วิทยำนิพนธ์ พุทธศำสตรมหำ บัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย : มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย), ๒๕๓๔. 10
  • 11. นี้(ปัจจุบัน) และชำติหน้ำ (อนำคต) กำรกระทำำของมนุษย์เป็น มรรคำที่จะนำำไปสุ่สุคติและทุคติ กำรกระทำำดีย่อมมีอิทธิพลต่อวิถี ชีวิตที่เป็นควำมสุข กำรกระทำำที่เป็นควำมชั่ว ย่อมมีอิทธิพลต่อวิถี ชีวิตที่เป็นควำมทุกข์ พุทธปรัชญำเถรวำทให้ควำมสำำคัญต่อกำรก ระทำำที่เป็นไปเพื่อควำมพ้นทุกข์โดยดำำเนินตำมหลักของมัชฌิมำ ปฏิปทำเพื่อควำมไม่เกิดอีกต่อไป ๑.๕.๑๐ รุ่งทิพย์ กิจทำำ ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง “กำรศึกษำ เปรียบเทียบทรรศนะเรื่องกรรมในพุทธปรัชญำกับปรัชญำเชน” สรุปหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์ได้ว่ำ ในศำสนำทั้งสอง นั้น ต่ำงยอมรับว่ำมนุษย์จะเป็นอะไร อย่ำงไร จะประสบควำมทุกข์ ในชีวิตอย่ำงไรขึ้นอยู่กับกรรม (กำรกระทำำ ,พฤติกรรม) ที่เขำ กระทำำไว้ในอดีตและที่กำำลังกระทำำอยู่ในปัจจุบัน ส่วนในอนำคต บุคคลจะมีสภำพเป็นอย่ำงไร ก็ขึ้นอยู่กับกำรกระทำำของเขำใน อดีตและปัจจุบันรวมกัน ถึงแม้ว่ำในศำสนำทั้งสองจะเชื่อเรื่อง กรรมเหมือนกัน แต่ก็เน้นเรื่องกรรมต่ำงกัน คือ ในกรรม ๓ อย่ำง ที่แบ่งตำมช่องทำงแห่งกำรกระทำำ คือ กำยกรรม วจีกรรม และ มโนกรรมนั้น พุทธปรัชญำเน้นมโนกรรมว่ำมีบทบำทมำกที่สุดใน เรื่องควำมหนักเบำของกรรม ส่วนปรัชญำเชนกลับเน้นกำยกรรม ว่ำสำำคัญที่สุด และให้ผลรุนแรงกว่ำกรรมที่ทำำทำงวำจำและใจ ๑.๕.๗ พระชัชวำลย์ ศรีสุข ได้ศึกษำวิจัยเรื่อง “ศำสนำกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพ : ศึกษำเปรียบเทียบหลักคำำสอน เกี่ยวกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพในพระพุทธศำสนำและศำสนำ คริสต์” สรุปเนื้อควำมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมไว้ว่ำ พฤติกรรมต่ำง ๆ ของมนุษย์เป็นผลมำจำกแรง ผลักดันของตัณหำ เป็นหลักใหญ่ แม้ว่ำตัณหำจะมิใช่ตัวเหตุโดยตรงของพฤติกรรม แต่เป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมในฐำนะเป็นเงื่อนไขของ รุ่งทิพย์ กิจทำำ, “กำรศึกษำเปรียบเทียบทรรศนะเรื่องกรรมใน พุทธปรัชญำกับปรัชญำเชน”, วิทยำนิพนธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑิต , (คณะอักษรศำสตร์ : จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย) ,๒๕๒๑. พระชัชวำลย์ ศรีสุข, “ศำสนำกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพ : ศึกษำ เปรียบเทียบหลักคำำสอนเกี่ยวกับกำรพัฒนำบุคลิกภำพในพุทธศำสนำและ ศำสนำคริสต์”,วิทยำนิพนธ์อักษรศำสตร์มหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย : มหำวิทยำลัยมหิดล), ๒๕๔๑. 11
  • 12. กำรกระทำำ โดยใช้ปัญญำ(โยนิโสมนสิกำร) เป็นตัวแก้ปัญหำ พฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมที่มีปัญญำเป็นตัวนำำทำำให้กำร พัฒนำบุคลิกภำพเป็นไปด้วยดี ต้องอำศัยควำมเคยชิน(อุปนิสัย) เพรำะถ้ำมีพฤติกรรมเคยชินอย่ำงไร คนก็จะดำำเนินชีวิตไปด้วย พฤติกรรมอย่ำงนั้น กำรพัฒนำบุคลิกภำพในพระพุทธศำสนำใช้ กำรพัฒนำจิตใจไปทีละขั้นจนกว่ำจะสิ้นกิเลส ด้วยกำรพัฒนำตน และสังคมตำมหลักของศีล สมำธิ ปัญญำ ๑.๖ ขอบเขตของกำรวิจัย งำนวิจัยนี้ ได้จำำกัดขอบเขตของกำรวิจัย คือศึกษำ ประเด็นว่ำด้วยควำมหมำยและประเภทของพฤติกรรมในจิตวิทยำ ควำมหมำยของพฤติกรรมในแนวคิดของแบนดูร่ำ หลักกำรเรื่อง พฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำ แนวทำงกำรปรับพฤติกรรมมนุษย์ ตำมหลักของแบนดูร่ำ และควำมหมำยและประเภทของกรรมใน พระพุทธศำสนำ แนวทัศนะเกี่ยวกับกรรมตำมหลักพระพุทธ ศำสนำ กำรพัฒนำพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักพระพุทธศำสนำ ระดับกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักพระพุทธศำสนำ โดยมี ขอบเขตกำรศึกษำเอกสำรจำกพระไตรปิฎกและอรรถกถำ และ เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ๑.๗ วิธีดำำเนินกำรวิจัย ขั้นตอนกำรวิจัย ในงำนวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้จัดขั้นตอนในกำรศึกษำ โดย สังเขปดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ ๑ เป็นกำรศึกษำควำมหมำยและประเภทของ พฤติกรรมในจิตวิทยำ ควำมหมำยของพฤติกรรมในแนวคิดของ แบนดูร่ำ หลักกำรเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ำ แนวทำงกำร ปรับพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักของแบนดูร่ำ โดยรวบรวมข้อมูล จำกเอกสำร และเอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ ๒ เป็นกำรศึกษำควำมหมำยและประเภทของ กรรมในพระพุทธศำสนำ แนวทัศนะเกี่ยวกับกรรมตำมหลัก พระพุทธศำสนำ กำรพัฒนำพฤติกรรมมนุษย์ตำมหลักพระพุทธ ศำสนำ ระดับกำรพัฒนำพฤติกรรมตำมหลักพระพุทธศำสนำ ขั้นตอนที่ ๓ เป็นกำรศึกษำเชิงเปรียบเทียบระหว่ำงหลัก 12
  • 13. การเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ของแบนดูร่ากับหลักการเรื่องกรรมตาม หลักของพระพุทธศาสนา ขั้นตอนที่ ๔ เป็นการสรุปผลของการวิจัยที่ได้จากการ ศึกษาจากขั้นตอนที่ ๑ – ๓ ๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑.๘.๑ ทำาให้ทราบเรื่องรูปแบบการปรับพฤติกรรมตาม หลักของวิทยาการสมัยใหม่ ๑.๘.๒ ทำาให้ทราบเรื่องรูปแบบการปรับพฤติกรรมตาม หลักของพระพุทธศาสนา ๑.๘.๓ ทำาให้ทราบความเหมือนกันและความต่างกันของ รูปแบบการปรับพฤติกรรมของแบนดูร่ากับหลักการปรับพฤติกรรม ของพระพุทธศาสนา 13