SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.
บทที่ ๑ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๑. ความหมายและความสำาคัญของ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๑) ความหมายของธัมมานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน แยกตาม
รูปศัพท์ได้ดังนี้ คือ ธรรม + อนุปัส
สนา + สติปัฏฐาน
ธรรม คือ สภาวธรรมทั้งหลาย อนุ
ปัสสนา คือ การพิจารณา การตาม
เห็นด้วยปัญญา และสติปัฏฐาน คือ
ฐานอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ เมื่อรวมเป็น
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงมีความ
หมายโดยรวมว่า การต้ัังสติ
พิจารณาธรรมการใช้สติตั้งมั่น
ในการพิจารณาธรรมหรือการ
พิจารณาธรรมภายใน พิจารณา
ธรรมภายนอก หรือพิจารณาธรรม
ทั้งภายในและภายนอก
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๐๕/๑๖๕.
๒) ความสำาคัญของธัมมานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีความ
สำาคัญอย่างยิ่งในการปฏิบัติธรรม
ปรากฏอย่างน้อย ๔ ประการ คือ
(๑) ความสำาคัญในฐานะเป็นเครื่อง
มือปฏิบัติ
(๒) ความสำาคัญในฐานะเป็นแก่น
พุทธศาสน์
(๓) ความสำาคัญในฐานะเป็น
ทางเอก
“ภิกษุทั้งหลายหนทางนี้เป็นที่ไปอัน
เอกเพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์
เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะเพื่อ
เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และ
โทมนัสเพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้องเพื่อ
ทำาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน หนทางนี้
คือสติปัฏฐาน ๔”
ม.มู.(ไทย) ๑๒/๓๕๓_๓๖๐/๒๖๔_๒๗๐.
(๔) ความสำาคัญในฐานะเกี่ยวข้อง
กับธรรมนิยาม
นิยาม ๕
๑) อุุุตุนิยาม กฏของธรรมชาติของ
สรรพสุ่ิง
๒) พีชนิยาม กฏธรรมชาติของการ
ทำางานทางกาย ชีวภาพของสุ่ิงมี
ชีวิต
๓) จิตนิยาม กฏการทำางานของจิต
๔) กรรมนิยาม กฏการแสดงเหตุ​
และผลตามมาจากเหตุ
๕) ธรรมนิยาม กฏของธรรมชาติ
การพิจารณานิยาม ๕ ด้วยธรรมคือ
ไตรลักษณ์ ธรรมนิยาม ๕ ก็จะ
ปรากฏเป็นหลักธรรมในนิมิตของ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๓. หลักการและวิธีการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ
ปัฏฐาน
๑) หลักการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ
ปัฏฐาน
(๑) หลักการพิจารณาธรรม
ภายนอกกับธรรมภายในเชื่อมโยง
กัน
สาระ ขันธ์ ๕ คนอื่นกับขันธ์ ๕ ตัว
เอง
(๒) การเห็นไตรลักษณ์
หลักไตรลักษณ์ ได้แก่
ก. สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง
ข. สังขารทั้งหลายทั้งปวง เป็นทุกข์
ค. ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็น
อนัตตา
ธรรมมีความหมายกว้างกว่าสังขาร
ธรรมแยกออกเป็น ๒ ประเภท คือ
สังขตธรรมและอสังขตธรรม
สังขตธรรม คือสรรพสิ่งที่ถูกปรุง
แต่ง
อสังขตธรรม คือสุ่ิงที่ไม่มีปัจจัย
ปรุงแต่ง
(๓) การเกิดวิราคะ
ก. วิราคานุปัสสี พิจารณาเห็นขันธ์
๕ เปลี่ยนแปลงไปตามกฏ
ไตรลักษณ์
ข. ปฏินิสสัคคานุปัสสี
พิจารณาเห็นความเกิดดับแม้แต่
ความพิจารณาเห็นก็เกิดดับ ก็จะ
สละคืนความยึดมั่นถือมั่น
๒) วิธีการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ
ปัฏฐาน
(๑) วิธีการพิจารณาหลักธรรม
ภายนอกเข้าสู่ภายใน
ก. พิจารณาขันธ์ ๕
ข. พิจารณาอุปาทานขันธ์ ๕
ค. พิจารณาอายตนะภายใน ๖ และ
อายตนะภายนอก ๖
ง.
(๒) วิธีการพิจารณาหลักธรรม
ภายในออกสู่หลักธรรมภายนอก
สาระ : พิจารณาสภาวธรรมที่เกิด
ขึ้นขณะปฏิบัติเชื่อมโยงกับ กาย
เวทนา จิต ธรรม
(๓) การพิจารณาสภาวะที่เกิดขึ้น
ด้วยหลักไตรลักษณ์
หลักไตรลักษณ์ ได้แก่
ก. สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง
ข. สังขารทั้งหลายทั้งปวง เป็นทุกข์
ค. ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็น
อนัตตา
(๔) การพิจารณาเห็นความเบื่อ
หน่าย (นิพพิทา)
๔. อานิสงส์ของการปฏิบัติตามธัมมานุปัสสนา
อานิสงส์ ๒ ระดับ คือ
๑) ระดับโลกิยะ
๒) ระดับโลกุตตระ
๑)​ ระดับโลกิยะ แบ่งเป็น ๓ ประเภท
(๑) ได้พัฒนาตนเองและสังคม ๓
ด้าน คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
(๒) การบรรลุวิชชา ๘
๑) วิปัสสนาวิชชา
๒) มโนมยิทธิ
๓) อิทธิวิธี
๔)​ ทิพพโสต
๕) เจโตปริยญาณ
๖) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
๗) ทิพพจักขุ
๘) อาสวักขยญาณ
(๓) ได้รักษาแก่นพระพุทธศาสนา
๒)​ ระดับโลกุตตระ
(๑) สตฺตานํ วิสุทฺธิยา เพื่อความ
บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย
(๒) โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย เพื่อ
ข้ามพ้นความโศก และความรํา่่ไร
(๓) ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย
เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และ
โทมนัส
(๔)​ ญายสฺส อธิคมาย เพื่อบรรลุ
ธรรมที่ควรรู้
(๕) นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิ่ิริยาย เพื่อ
ทํานิพพานให้แจ้ง
ระดับของพระอริยบุคคล ๔ ระดับ
(๑) พระโสดาบัน
(๒) พระสกทาคามี
(๓) พระอนาคามี
(๔) พระอรหันต์
๕. การนําหลักธรรมไปประยุกต์ใช้
๑)​ การนําหลักธรรมไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจําวัน
(๑) การแก้ปัญหาชีวิตส่วนบุคคล
และสังคม ใน ๓ ระดับ คือ
ก. ระดับศีล
ข. ระดับสมาธิ
ค. ระดับปัญญา
(๒) การแก้ปัญหาสังคมในระดับ
โครงสร้าง
พุทธทาสภิกขุ
พระพรหมคุณาภรณ์
พระติช นัท ฮันท์
๒) การนําไปประยุกต์ในการเผยแผ่

More Related Content

What's hot

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 

Viewers also liked

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
บรรพต แคไธสง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
bmcweb072
 

Viewers also liked (9)

สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 

Similar to ธรรมภาคปฏิบัติ ๕

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
olivemu
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
Tongsamut vorasan
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
Taweedham Dhamtawee
 

Similar to ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕