SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
การยืมคาภาษาต่างประเทศ 
มาใช้ในประเทศไทย 
๑. การทับศัพท์ จะถ่ายทอดเสียงมาจากภาษาเดิมอย่างใกล้เคียงที่สุด 
เช่น โค้ช ฟุตบอล โค้ก ก๊าซ คอมพิวเตอร์ 
๒. การบัญญัติศัพท์ เป็นการกาหนดศัพท์ขึ้นใหม่มีความหมายตรงตาม 
ภาษาเดิม ศัพท์บัญญัตินั้นให้บัญญติจากคาไทยก่อน ถ้าหาไม่ได้จึงใช้คา 
บาลีสันสกฤตและต้องสะดวกในการออกเสียง และถ้าใกล้เคียงกับเสียงและ 
ภาษาเดิมยิ่งดี 
เช่น Seminar คือ สัมมนา Concept คือ สังกัป (ความคิดรวบยอด) 
Globalization คือ โลกาภิวัตน์ Computer คือ คณิตกร
การยืมคาภาษาต่างประเทศ 
มาใช้ในประเทศไทย 
๓. การแปลศัพท์ หรือการแปลความ เช่น 
Postman แปลว่า บุรุษไปรษณีย์ President แปลว่า ประธานธิบดี 
Star แปลว่า ดารา Movie star แปลว่า ดาราภาพยนตร์ 
๔. การแปลงศัพท์หรือคายืม จะมีการแปลงเสียงวรรณยุกต์ เสียงสระหรือพยัญชนะ 
หรือ ตัด , เติมเสียง เช่น 
โคมา เสน่ห์ พ่าห์ (แปลงเสียงวรรณยุกต์ ) 
Sign เป็น เซ็น Pipe เป็น แป๊ป (แปลงเสียงสระ ) 
Chassi เป็น คัสซี ปิตา เป็น บิดา มาตา เป็น มารดา (แปลงเสียงพยัญชนะ) 
หฤทัย เป็น หทัย Double เป็น เบิ้ล Entrance เป็น เอ็นท์ (ตัดเสียง) 
สตรี เป็น อิสตรี ณรงค์ เป็น รณรงค์ (เติมเสียง)
การยืมคาภาษาต่างประเทศ 
มาใช้ในประเทศไทย 
๕. การแปลความหมาย ในลักษณะแคบเข้า กว้างออก และย้ายที่ 
ความหมายแคบเข้า เช่น 
Park คือ สวนสาธารณะ แต่ไทยใช้ในความหมายว่า ที่จอดรถ 
ความหมายกว้างออก เช่น 
พิสดาร คือ ละเอียด แต่ไทยหมายถึง แปลกประหลาด ด้วย 
ความหมายย้ายที่ เช่น 
Fit คือ พอดี ไทยใช้หมายถึง คับ 
สงสาร คือ เวียนว่าย ตายเกิด ไทยใช้หมายถึง เมตตา
ภาษาต่างประเทศมีอิทธิพลต่อภาษาไทย 
๑. ทาให้คาในภาษาไทยมีหลายพยางค์เนื่องจากการยืมคา 
ภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น 
ภาษาเขมร เช่น เผด็จ เสวย กังวล บาเพ็ญ ถนน 
ภาษาจีน เช่น ตะหลิว ก๋วยเตี๋ยว เล่าเต๊ง เอี้ยมจุ๊น 
ภาษาอังกฤษ เช่น คลินิก สนุกเกอร์ แคชเชียร์ ไอศกรีม 
ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น ปรัชญา กรีฑา อัคนี วิทยา พัฒนา 
๒.ทาให้คนไทยมีเสียงควบกล้ามากขึ้นเช่น 
จันทรา นิทรา พรหมณ์ ทรานซิสเตอร์ เอนทรานซ์ 
และเพิ่มเสียงควบกล้าซึ่งไม่มีในภาษาไทย 
เช่น ดรัมเมเยอร์ ดร๊าฟ เบรก บรอนซ์ บล็อก ฟรี 
แฟลช ฟลุค ฟลอโชว์ ฟลูออรีน
ภาษาต่างประเทศมีอิทธิพลต่อภาษาไทย 
๓. ทาให้คาไทยมีตัวสะกดมากขึ้น ปกติคาไทยแท้ ตัวสะกดจะตรงตาม 
มาตรา ซึ่งมีเพียง ๘ แม่ แต่คายืมจากภาษาต่างประเทศจะสะกดไม่ตรงตาม 
มาตรา ดังตัวอย่าง 
แม่กก เช่น สุข เมฆ เช็ค สมัคร 
แม่กด เช่น กฎ รัฐ กอล์ฟ ฤทธิ์ พุทธ 
แม่กน เช่น เพ็ญ เพียร สูญ บอล คุณ กุศล 
แม่กบ เช่น รูป โลภ กราฟ กอล์ฟ 
๔. ทาให้คาในภาษาไทยมีคาศัพท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ได้ตามความ 
เหมาะสม เช่น 
น้า - อุทก วารี คงคา สาคร ธาร ชล ชโลธร 
ผู้หญิง - นงเยาว์ นงคราญ อิตถี สตรี กัลยา สุดา สมร วนิดา
คายืมจากภาษาอาหรับ 
คายืมจากภาษาทมิฬ – มลายู 
ตัวอย่างคา ที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ 
ได้แก่ กะลาสี โกหร่าน (พระคัมภีร์กุรอาน) 
ระยา (การลงโทษโดยใช้ก้อนหินขว้างให้ตายเพราะทาผิด 
ประเพณี ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ชั่วช้าเลวทราม) 
ตัวอย่างคา ที่ยืมมาจากภาษาทมิฬ 
ได้แก่ กะไหล่ กุลี กานพลูกามะหยี่ จงกลนี ตรียัมปวาย 
อาจาด กะละออม กะหรี่ (แกงแขกชนิดหนึ่ง) 
ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษามลายู 
ได้แก่ กว้าน พลาย เพลาะ สมิง กระแจะ 
ฝาละมี กามะลอ สะบ้า ตวัก
คายืมจากภาษาโปรตุเกส 
ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษาโปรตุเกส 
กระดาษ (สันนิษฐานว่าเพี้ยนมากจากกราดัส) 
กะละแม กะละมัง (ขนม)ปัง ปั้นเหน่ง 
เหรียญ บาทหลวง เลหลัง สบู่
คายืมจากภาษาเปอร์เชีย 
ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เชีย 
เกด คาราวาน ชุกชี ตาด เยียรบับ ตรา 
ตราชู ฝรั่ง ราชาวดี ศาลา สนม 
สักหลาด สุหร่าย องุ่น
มาลองทายคากันว่า 
มาจากภาษาใด 
ลองนะ 
เอาสมุดนกมา 
ลุย
ทายกันว่ามาจากภาษาอะไร 
เหรียญ สบู่ องุ่น พลาย ระยา 
กามะลอ สมิง กะละมัง กามะหยี่ 
สักหลาด ตรียัมปวาย ฝรั่ง ปั้นเหน่ง 
ตวัก กะลาสี กะหรี่ (ขนม)ปัง สนม 
เลหลัง คาราวาน กะละแม กระดาษ
เฉลยจ้า... 
เหรียญ(โปร) สบู่ (โปร) องุ่น(เปอร์) พลาย(มลายู) 
ระยา(อ่หรับ) กามะลอ (มลายู) สมิง (มลายู) 
กะละมัง(โปร) กามะหยี่(ทมิฬ) สักหลาด (เปอร์) 
ตรียัมปวาย (ทมิฬ) ฝรั่ง (เปอร์) ปั้นเหน่ง (โปร) 
ตวัก (มลายู) กะลาสี กะหรี่ (ขนม)ปัง (โปร) 
สนม (เปอร์) เลหลัง (โปร) คาราวาน (เปอร์) 
กะละแม (โปร) กระดาษ (โปร)
1. ครู วาสินี เวชชประสิทธิ์ 
กศ.บ. (เกียรตินิยม) ภาษาไทย 
กศ.ม. การมัธยมศึกษา 
2. ครู สุชาดา คงสมบัติ 
ค.บ. ภาษาอังกฤษ
การยืมคำ ตปท.มาใช้

Contenu connexe

Tendances

นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงMahidol University
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1Wilawun Wisanuvekin
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 

Tendances (20)

คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลง
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
เหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษาเหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษา
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 

Similaire à การยืมคำ ตปท.มาใช้

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59Manee Prakmanon
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมkrupanida sornkheang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้duangchan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองManee Prakmanon
 

Similaire à การยืมคำ ตปท.มาใช้ (20)

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
T4
T4T4
T4
 
T4
T4T4
T4
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Plus de Thanit Lawyer

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Thanit Lawyer
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดThanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)Thanit Lawyer
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานThanit Lawyer
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีThanit Lawyer
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 

Plus de Thanit Lawyer (8)

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 

การยืมคำ ตปท.มาใช้

  • 1.
  • 2. การยืมคาภาษาต่างประเทศ มาใช้ในประเทศไทย ๑. การทับศัพท์ จะถ่ายทอดเสียงมาจากภาษาเดิมอย่างใกล้เคียงที่สุด เช่น โค้ช ฟุตบอล โค้ก ก๊าซ คอมพิวเตอร์ ๒. การบัญญัติศัพท์ เป็นการกาหนดศัพท์ขึ้นใหม่มีความหมายตรงตาม ภาษาเดิม ศัพท์บัญญัตินั้นให้บัญญติจากคาไทยก่อน ถ้าหาไม่ได้จึงใช้คา บาลีสันสกฤตและต้องสะดวกในการออกเสียง และถ้าใกล้เคียงกับเสียงและ ภาษาเดิมยิ่งดี เช่น Seminar คือ สัมมนา Concept คือ สังกัป (ความคิดรวบยอด) Globalization คือ โลกาภิวัตน์ Computer คือ คณิตกร
  • 3. การยืมคาภาษาต่างประเทศ มาใช้ในประเทศไทย ๓. การแปลศัพท์ หรือการแปลความ เช่น Postman แปลว่า บุรุษไปรษณีย์ President แปลว่า ประธานธิบดี Star แปลว่า ดารา Movie star แปลว่า ดาราภาพยนตร์ ๔. การแปลงศัพท์หรือคายืม จะมีการแปลงเสียงวรรณยุกต์ เสียงสระหรือพยัญชนะ หรือ ตัด , เติมเสียง เช่น โคมา เสน่ห์ พ่าห์ (แปลงเสียงวรรณยุกต์ ) Sign เป็น เซ็น Pipe เป็น แป๊ป (แปลงเสียงสระ ) Chassi เป็น คัสซี ปิตา เป็น บิดา มาตา เป็น มารดา (แปลงเสียงพยัญชนะ) หฤทัย เป็น หทัย Double เป็น เบิ้ล Entrance เป็น เอ็นท์ (ตัดเสียง) สตรี เป็น อิสตรี ณรงค์ เป็น รณรงค์ (เติมเสียง)
  • 4. การยืมคาภาษาต่างประเทศ มาใช้ในประเทศไทย ๕. การแปลความหมาย ในลักษณะแคบเข้า กว้างออก และย้ายที่ ความหมายแคบเข้า เช่น Park คือ สวนสาธารณะ แต่ไทยใช้ในความหมายว่า ที่จอดรถ ความหมายกว้างออก เช่น พิสดาร คือ ละเอียด แต่ไทยหมายถึง แปลกประหลาด ด้วย ความหมายย้ายที่ เช่น Fit คือ พอดี ไทยใช้หมายถึง คับ สงสาร คือ เวียนว่าย ตายเกิด ไทยใช้หมายถึง เมตตา
  • 5. ภาษาต่างประเทศมีอิทธิพลต่อภาษาไทย ๑. ทาให้คาในภาษาไทยมีหลายพยางค์เนื่องจากการยืมคา ภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น ภาษาเขมร เช่น เผด็จ เสวย กังวล บาเพ็ญ ถนน ภาษาจีน เช่น ตะหลิว ก๋วยเตี๋ยว เล่าเต๊ง เอี้ยมจุ๊น ภาษาอังกฤษ เช่น คลินิก สนุกเกอร์ แคชเชียร์ ไอศกรีม ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น ปรัชญา กรีฑา อัคนี วิทยา พัฒนา ๒.ทาให้คนไทยมีเสียงควบกล้ามากขึ้นเช่น จันทรา นิทรา พรหมณ์ ทรานซิสเตอร์ เอนทรานซ์ และเพิ่มเสียงควบกล้าซึ่งไม่มีในภาษาไทย เช่น ดรัมเมเยอร์ ดร๊าฟ เบรก บรอนซ์ บล็อก ฟรี แฟลช ฟลุค ฟลอโชว์ ฟลูออรีน
  • 6. ภาษาต่างประเทศมีอิทธิพลต่อภาษาไทย ๓. ทาให้คาไทยมีตัวสะกดมากขึ้น ปกติคาไทยแท้ ตัวสะกดจะตรงตาม มาตรา ซึ่งมีเพียง ๘ แม่ แต่คายืมจากภาษาต่างประเทศจะสะกดไม่ตรงตาม มาตรา ดังตัวอย่าง แม่กก เช่น สุข เมฆ เช็ค สมัคร แม่กด เช่น กฎ รัฐ กอล์ฟ ฤทธิ์ พุทธ แม่กน เช่น เพ็ญ เพียร สูญ บอล คุณ กุศล แม่กบ เช่น รูป โลภ กราฟ กอล์ฟ ๔. ทาให้คาในภาษาไทยมีคาศัพท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ได้ตามความ เหมาะสม เช่น น้า - อุทก วารี คงคา สาคร ธาร ชล ชโลธร ผู้หญิง - นงเยาว์ นงคราญ อิตถี สตรี กัลยา สุดา สมร วนิดา
  • 7. คายืมจากภาษาอาหรับ คายืมจากภาษาทมิฬ – มลายู ตัวอย่างคา ที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ ได้แก่ กะลาสี โกหร่าน (พระคัมภีร์กุรอาน) ระยา (การลงโทษโดยใช้ก้อนหินขว้างให้ตายเพราะทาผิด ประเพณี ไทยนามาใช้ในความหมายว่า ชั่วช้าเลวทราม) ตัวอย่างคา ที่ยืมมาจากภาษาทมิฬ ได้แก่ กะไหล่ กุลี กานพลูกามะหยี่ จงกลนี ตรียัมปวาย อาจาด กะละออม กะหรี่ (แกงแขกชนิดหนึ่ง) ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษามลายู ได้แก่ กว้าน พลาย เพลาะ สมิง กระแจะ ฝาละมี กามะลอ สะบ้า ตวัก
  • 8. คายืมจากภาษาโปรตุเกส ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษาโปรตุเกส กระดาษ (สันนิษฐานว่าเพี้ยนมากจากกราดัส) กะละแม กะละมัง (ขนม)ปัง ปั้นเหน่ง เหรียญ บาทหลวง เลหลัง สบู่
  • 9. คายืมจากภาษาเปอร์เชีย ตัวอย่างคาที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เชีย เกด คาราวาน ชุกชี ตาด เยียรบับ ตรา ตราชู ฝรั่ง ราชาวดี ศาลา สนม สักหลาด สุหร่าย องุ่น
  • 11. ทายกันว่ามาจากภาษาอะไร เหรียญ สบู่ องุ่น พลาย ระยา กามะลอ สมิง กะละมัง กามะหยี่ สักหลาด ตรียัมปวาย ฝรั่ง ปั้นเหน่ง ตวัก กะลาสี กะหรี่ (ขนม)ปัง สนม เลหลัง คาราวาน กะละแม กระดาษ
  • 12. เฉลยจ้า... เหรียญ(โปร) สบู่ (โปร) องุ่น(เปอร์) พลาย(มลายู) ระยา(อ่หรับ) กามะลอ (มลายู) สมิง (มลายู) กะละมัง(โปร) กามะหยี่(ทมิฬ) สักหลาด (เปอร์) ตรียัมปวาย (ทมิฬ) ฝรั่ง (เปอร์) ปั้นเหน่ง (โปร) ตวัก (มลายู) กะลาสี กะหรี่ (ขนม)ปัง (โปร) สนม (เปอร์) เลหลัง (โปร) คาราวาน (เปอร์) กะละแม (โปร) กระดาษ (โปร)
  • 13.
  • 14.
  • 15. 1. ครู วาสินี เวชชประสิทธิ์ กศ.บ. (เกียรตินิยม) ภาษาไทย กศ.ม. การมัธยมศึกษา 2. ครู สุชาดา คงสมบัติ ค.บ. ภาษาอังกฤษ