SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  135
Télécharger pour lire hors ligne
1

                                หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
                               (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)
                            คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

1. ชื่อหลักสูตร
   1.1 ภาษาไทย                  :         หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
   1.2 ภาษาอังกฤษ               :         Doctor of Pharmacy Program

2. ชื่อปริญญา
   2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย          :         เภสัชศาสตรบัณฑิต
   2.2 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ       :         Doctor of Pharmacy
   2.3 ชื่อยอภาษาไทย           :         ภ.บ.
   2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ        :         Pharm.D.

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ
   คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

4. ความเปนมา ปรัชญา และวัตถุประสงคของหลักสูตร
      4.1 ความเปนมา
           วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรข องการ
เสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นเปนยาสําเร็จรูป
ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพื่อบําบัด บรรเทา ปองกัน
พิเ คราะห โรค และสร า งเสริ มสุ ข ภาพ วิช าชี พ นี้ ค รอบคลุ ม เนื้ อ หาวิ ช าการของการกํ า หนดจดจํา
เอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให
เสื่ อ มคุณ ภาพ การปรุ ง การผสม การวิเ คราะห และทําใหไ ดมาตรฐานตามกํ าหนดของยาและ
เวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีก ารผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย
การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวาจะ
เปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิล ปะอื่นใด รวมทั้ง
สัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใตกรอบ
บัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ


                               สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
2

               ในปจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึก ษาเภสั ชศาสตรในประเทศต าง ๆ เช น
สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศญี่ปุน มีแนวโนมเนนการปรับหลักสูตรเพื่อ ใหเ ภสัช
กรมีความพรอมทั้งดานองคความรูแ ละประสบการณจริงในการดูแลกระบวนการใชยาในประชาชน
โดยตรงมากขึ้น เพื่อมุงใหเกิดสัมฤทธิ์ผลของยาตอประชาชนและสงเสริมคุณภาพชีวิต (Quality of life)
ของประชาชนเปนหลัก บทบาทของเภสัชกรตามความตองการของตลาดและสังคมในปจจุบันจึงมิได
สิ้นสุดอยูเพียงแคการผลิต การจัดซื้อจัดหา การกระจายยาและสงมอบยาแกประชาชนเทานั้น แตได
ขยายขอบเขตของบทบาทหนาที่ใหครอบคลุมถึงการใชยาของประชาชน การติดตามประเมินผลอัน
เกิดจากการใชยาของประชาชนและชุมชน การคุมครองผู บริโภค การแกปญหาสุขภาพชุ มชน การ
บริหารจัดการงานเภสัชกรรม รวมถึงการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนองความตองการในการพึ่งพาตนเอง
ของประเทศในดานอุ ตสาหกรรมยารองรับเทคโนโลยีขั้ นสูง และการถ ายทอดเทคโนโลยี ซึ่ง มี
บทบาทเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยา บทบาทวิชาชีพดังกลาวนํามาซึ่งความจําเปนที่จะตองเพิ่มทั้งเนื้อหา
และการฝกปฏิบัติงาน มาตรฐานการศึกษาเภสัชศาสตรในสากล จึงมุงสูระบบการศึกษา 6 ป มากขึ้น
               จากทิศทางขางตน ประกอบกับสภาเภสั ชกรรมไดอ อกข อบั งคับเภสัชกรรมวาดวยการ
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบัน ตาง
ๆ ซึ่งสภาเภสัชกรรมจะรับรองหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณ ฑิต 6 ป เพียงหลัก สูต รเดียวในป พ.ศ.
2557 และใชเปนเงื่อนไขในการสมัครเขาเปนสมาชิก และสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได
ซึ่งถือเปน entry level degree บัณ ฑิตทางเภสัช ศาสตรที่สํา เร็จการศึก ษาในป พ.ศ. 2557 จะตอ ง
สําเร็จการศึก ษาตามหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณ ฑิต 6 ป เทานั้น ดังนั้นคณะฯ จึงปรับปรุงหลักสูตร
เภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ป ในครั้ งนี้ ขึ้ นเพื่อใหเป นไปตามข อกําหนดของสภาเภสัช กรรม และเพื่ อให
หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็ว โดยบัณฑิตที่ไดจากหลักสูตรจะเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรม
      4.2 ปรัชญา
            มุงผลิตบัณฑิตใหเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัช
กรรม พ.ศ.2545 มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ
      4.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร
            วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตร ตามหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณฑิต
6 ป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 มีดังนี้
            4.3.1 วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตรควรมีลักษณะทั่วไปดังนี้
                    1. มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุข ของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาท
ของเภสัชกรที่ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้----*--น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

                             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
3

                   2. มีค วามรอบรู ในศิ ล ปวิ ท ยาต า ง ๆ สมกั บ เป น เภสั ช กรที่ดี ที่ เ พีย บพร อ มด ว ย
คุณ ธรรม ยึ ดมั่ น ในจรรยาบรรณแหง วิ ช าชีพ มีมนุ ษ ยสั มพัน ธ อั น ดี รวมทั้ งมีค วามรั บผิ ดชอบตอ
หนวยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพ
เพื่อบริการประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล
                   3. มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไป
ตลอดชีวิต เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได
                   4. มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมือรวม               ่
ทํางานกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน
                   5. มีค วามตระหนัก รูซึ้ง ถึง ความจํา เปน ในการพัฒ นาคุณ ภาพทั้ง ของตนเอง ของ
วิทยาการ และของวิช าชีพ ใหส ามารถปฏิบัติก ิจกรรมที่ร องรับและกําหนดไวตามพัน ธกิจและ
ภารกิจเพื่อบรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และ
ในการคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงขึ้นไปอีกตามทิศทางและ
แนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป
                   6. มีทักษะทางวิชาชีพที่จําเปนในการปฏิบัติงาน
         4.3.2 วัตถุประสงคเฉพาะ นักศึก ษาเภสัชศาสตร ควรเปนผูมีความรูค วามสามารถดาน
วิชาการ ดังนี้
                   1. ความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทั่วไป
                       ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2545 และ
                   2. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานการบริบาลทางเภสัชกรรมไดแก
                         - การติดตามการใชยาของผูปวยในโรงพยาบาลและสถานปฏิบัติก ารเภสัช
                             กรรมชุมชน
                         - การวิเคราะหปญหาการใชยาในผูปวยแตละราย การไตรตรองวินิจฉัยผล
                             ของยาที่มีตอรางกายทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษรวมทั้งการประเมินผล
                             การใชยาในลักษณะตาง ๆ
                         - การวางแผนการรักษาดวยยา ในผูปวยแตละรายไดอยางเหมาะสม
                         - การวิจัยดานการบริบาลทางเภสัช กรรม หรือ
                   3. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานวิทยาการเภสัชศาสตรไดแก
                         - การประยุก ตองคค วามรู เชิ งลึ ก ด านการผลิ ต การประกั นและหรื อ การ
                             ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑยา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพอื่น ๆ ใน
                             การแกไขปญหาการผลิต การประกันและหรือการควบคุมคุณภาพ



                                  สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
4

                  - การคน ควาวิจัย และพัฒ นายา ผลิตภั ณฑ ยา เครื่ องสํ าอางและผลิตภั ณฑ
                        สงเสริมสุขภาพที่มีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑส ากลเพื่อ การ
                        พัฒนาประเทศในการพึ่งพาตนเอง หรือ
              4. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารไดแก
                   - การคุมครองผูบริโภคดานยา อาหาร เครื่อ งสําอางและผลิตภัณฑสุขภาพ
                        และอื่นๆ เชน วัตถุอันตราย สารเคมี ฯ
                   - การสื่อสารดานขอมูลความรูเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพ รวมถึงการ
                        แนะนําการปฏิบัติตัวในการใชยากับประชาชนและบุคลากรทางการแพทย
                        ที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ
                   - การประยุก ตค วามรูเ พื่อ การบริหารจัด การงานเภสัช กรรมในลัก ษณะ
                        ตางๆ
                   - การคนหาปญหาสาธารณสุข และเสนอแนวทางในการแกไ ข/ ปอ งกัน
                        ปญหาที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามการใชยาและผลิตภัณฑสุข ภาพใน
                        ชุมชน
                   - การคนควาวิจัยดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร หรือ
              5. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ
                 ไดแก
                  - การจัดเก็บขอมูลขาวสารดานเภสัชกรรม และดานสุขภาพอยางเปนระบบ
                        เพื่ อ ความสะดวกในการเรี ย กใช ข อ มู ล สํ า หรั บ การตั ด สิ น ใจหรื อ การ
                        ดําเนินการตาง ๆ
                  - การดูแลบํารุงรักษาระบบขอ มูลขาวสารดานเภสัช กรรมและดานสุขภาพ
                        รวมถึงระบบความปลอดภัยของขอมูลขาวสาร
                  - การสืบคน และการเรียกใช ขอ มูล จากแหลง หรือ จากฐานขอ มูล ตา ง ๆ
                        รวมถึงการประเมิน วิเคราะห และสรุปผลขอมูลเพื่อการนําเสนอในรูปแบบ
                        ตาง ๆ
                  - การประยุกตความรูและทักษะดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ
                        สุ ข ภาพในงานบริ บาลทางเภสั ช กรรมและการวิ จั ยและพั ฒ นายา และ
                        ผลิตภัณฑยา
                  - งานวิจัยดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ

5. กําหนดการเปดสอน
   เริ่มเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2552
                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
5

6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา
   6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ
   6.2 มีคุ ณสมบัติค รบถ วนตามข อ บังคั บมหาวิ ทยาลั ยศิ ล ปากรวาดวยการศึ ก ษาระดับปริ ญ ญา
       บัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) หรือ
   6.3 ผูสํ าเร็จการศึก ษาระดับปริญญาบัณ ฑิต ด านวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดา นตา ง ๆ ให
       สามารถเขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มี
       สิทธิได รับการพิจารณาเทียบโอนและ / หรือ ยกเวนรายวิชาและหนวยกิต จากหนวยกิตที่
       สําเร็จการศึกษา ทั้งนี้จํานวนรายวิช าและหนวยกิตที่ไดรับการเทียบโอน และ/หรือ ยกเวน
       จะเปน ไปตามดุล ยพินิจของคณะกรรมการประจําคณะฯ แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลา
       ศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 10 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 5 ปการศึกษาปกติ

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา
     เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิล ปากรและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึก ษา และ
ตามลั ก ษณะเฉพาะของคณะเภสั ช ศาสตร มหาวิ ทยาลั ยศิล ปากร โดยผ า นการสอบคั ดเลื อ กของ
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึก ษา หรือผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับนักศึก ษาเภสัช
ศาสตรสอบตรง (Direct Admissions) โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ / หรือหนวยงาน
โครงการอื่นใด

8. ระบบการศึกษา
     8.1 การจั ดการศึก ษาใชระบบหนวยกิตทวิ ภ าคหรื อระบบอื่น ที่เทียบเทา โดยระบบหน วยกิ ต
ทวิภาคนั้น หนึ่งปก ารศึก ษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึก ษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา
ศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห
     8.2 การคิดหนวยกิต
          8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห
          8.2.2 รายวิชาปฏิบติการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห
                             ั
          8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิตเทากับ 60 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ
          8.2.4 การเรียนการสอนแบบโครงการ 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ
     8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิตในแตละรายวิชากํ าหนดเกณฑในการกําหนดคา ของหนวย
กิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึก ษาตองศึก ษาดวยตนเองนอก
เวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลวหารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้
               จํานวนหนวยกิต =                            บ+ป+น
                                                             3

                             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
6

     การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บเปนจํานวน
หนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติ และศึกษา
ดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จํานวนหนวยกิต ตัวเลขใน
วงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง
หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน
     8.4 หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

9. ระยะเวลาการศึกษา
   ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 6 ป ทั้งนี้ไมเกิน 12 ป

10. การลงทะเบียนเรียน
    การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึก ษาระดับปริญญา
บัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา
    11.1 การวัดผลการศึกษา
          ให เ ปน ไปตามข อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วา ด ว ยการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต
พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง
    11.2 การสําเร็จการศึกษา
          ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี้
             11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลั กสูตรที่เขาศึ กษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2
เทาของระยะเวลาการศึกษา
             11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00
             11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00
             11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนที่พอใจ ไมนอยกวา 2,000
                                                                                                 
ชั่วโมงปฏิบัติการ
             11.2.5 ตองผานรายวิชาจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีกไมนอยกวา
135 ชั่วโมงปฏิบัติการ
             11.2.6 ตองผานการเขารวมกิจกรรมตามประกาศที่คณะฯกําหนด

12. อาจารยผูสอน
    12.1 อาจารยประจําหลักสูตร
                                 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
7

         12.1.1 เภสัชกร รองศาสตราจารย ดร.ธนะเศรษฐ                                 งาวหิรัญพัฒน
         12.1.2 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ดร.มนฤดี                             สุขมา
         12.1.3 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย นุชนาฏ                               กิจเจริญ
         12.1.4 เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย จันคนา                                   บูรณะโอสถ
         12.1.5 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ปารณีย                              มีแตม
    12.2 อาจารยประจํา (ภาคผนวก ข)
    12.3 อาจารยพิเศษ (ประกาศเปนรายป)

13. จํานวนนักศึกษา
         ชั้นปที่                                          จํานวนนักศึกษา (คน)
                                 ป 2552            ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556                  ป 2557
            1                      180                180       180      180    180                    180
            2                       -                 180       180      180    180                    180
            3                       -                  -        180      180    180                    180
            4                       -                  -         -       180    180                    180
            5                       -                  -         -        -     180                    180
            6                       -                  -         -        -      -                     180
           รวม                     180                360       540      720    900                   1080
 จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จ           -                  -         -        -      -                     180
       การศึกษา

14. สถานที่และอุปกรณการสอน
      14.1 สถานที่
           ใชอาคารคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิล ปากร
ที่มีรายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุข ระดับตาง ๆ
โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นที่เ กี่ยวขอ งกับงานและวิช าชีพเภสัช กรรม ทั้งภาครัฐ และ
ภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพื่อ เสริมทักษะและประสบการณการเรียนรูของนักศึกษาให
สามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติค ณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป
      14.2 อุปกรณการสอน
           อุป กรณแ ละครุภ ัณ ฑก ารศึก ษาของคณะเภสัช ศาสตร มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร และ
หนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิล ปากร

                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
8

15. หองสมุด
       หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย
ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เ กี่ยวขอ งอื่น ๆ
รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยศิลปากร
ดังนี้
       หนังสือ             ภาษาไทย                  จํานวน            6,125      รายการ
                           ภาษาอังกฤษ               จํานวน            4,355      รายการ
       วารสาร              ภาษาไทย                  จํานวน               40      ชือเรื่อง
                                                                                   ่
                           ภาษาอังกฤษ               จํานวน               60      ชือเรื่อง
                                                                                     ่
       ฐานขอมูล
           1. ฐานขอมูลที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก
                  1.1 ฐานขอมูล SpringerLink (มีทั้ง journal และ e-book)
                  1.2 ฐานขอมูล Netlibrary (e-book)
            2. ฐานขอมูลทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับ ThaiLIS (Thai Library
                             ่
Integrated System) บอกรับ จํานวน 5 ฐานขอมูล ไดแก
                  2.1 ฐานขอมูล Sciences Direct
                  2.2 ฐานขอมูลบทความวารสารของ H.W.Wilson ไดแก
                          2.2.1 ฐานขอมูล Applied Science & Technology
                          2.2.2 ฐานขอมูล General Science Fulltext
                          2.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract
                  2.3 ฐานขอมูล ISI Web of Science (ฐานขอมูล Citation ดานวิทยาศาสตรและ
                      สังคม
                  2.4 ฐานขอมูล Proquest (ฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปริญญาโท/เอกของ
                      ตางประเทศ
                  2.5 ฐานขอมูล Dissertation Abstracts Online (DAO)
            นอกจากนี้ยังมีฐ านขอ มูล สารสนเทศทางเภสัชศาสตร แ ละที่เกี่ย วของ ไมนอยกวา 1,482
พันลานตัวอักษร 1,482 Gigabytes (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบันเครือ ขาย
ความรวมมือทางเภสัชศาสตร)




                             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
9

16. งบประมาณ
    16.1 ใชงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน
ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจํา ปต ามแผนงาน งบประมาณของคณะเภสั ช ศาสตร มหาวิ ทยาลั ย
ศิลปากร
    16.2 คาใชจายในการผลิตบัณฑิต 1 คน เปนจํานวนประมาณ 100,000 บาท/คน/ป ทั้งนี้โดยใช
หลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน

17. หลักสูตร
    17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 237 หนวยกิต
    17.2 โครงสรางหลักสูตร
           17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                           30                        หนวยกิต
           17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ                               201                         หนวยกิต
                   - วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                         47                        หนวยกิต
                   - รายวิชาบังคับวิชาชีพ                     130                         หนวยกิต
                        กลุมวิชาทางดานผลิตภัณฑ              35                         หนวยกิต
                        กลุมวิชาทางดานผูปวย                42                         หนวยกิต
                        กลุมวิชาทางดานเภสัชศาสตรสังคม
                            และการบริหาร                       14                         หนวยกิต
                        กลุมวิชาการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ      36                          หนวยกิต
                        รายวิชาจุลนิพนธ                        3                         หนวยกิต
                   - รายวิชาเลือกวิชาชีพ                      24                          หนวยกิต
           17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี                            6                          หนวยกิต
                                                     รวม     237                          หนวยกิต

    17.3 รายวิชา
           รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวน
วรรคหนึ่งชวงระหวางเลขสามหลักแรกและสามหลักหลัง
           ตัวเลขสามหลักแรก เปนเลขประจําหนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น เชน
                       080 มหาวิทยาลัยศิลปากร
                       550, 551 คณะเภสัชศาสตร
                        561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร
                       562 ภาควิชาเภสัชกรรม
                           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
10

                      563       ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน
                      564       ภาควิชาเภสัชเคมี
                      565       ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา
                      566       ภาควิชาเภสัชเวท
                      567       ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม
                      568       ภาควิชาสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ

          ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหัสวิชา
               เลขตัวแรก
               1-3 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาบัณฑิต
               4-9 หมายถึง รายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา
               เลขตัวที่สองและสาม หมายถึงลําดับที่ของรายวิชา

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต
          1.1 วิชาบังคับ            จํานวน 24 หนวยกิต
             ใหนกศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้
                  ั
             กลุมวิชาภาษา          จํานวน 15 หนวยกิต
080 176 ภาษากับการสื่อสาร                                                                  3(3-0-6)
         (Language and Communication)
080 177 ภาษาอังกฤษ 1                                                                       3(2-2-5)
         (English I)
080 178 ภาษาอังกฤษ 2                                                                       3(2-2-5)
         (English II)
550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1                                             3(2-2-5)
         (English for Pharmacy Students I)
550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2                                             3(2-2-5)
         (English for Pharmacy Students II)

            กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต
080 122 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ                                                           2(2-0-4)
        (Professional Ethics)
550 153 หลักการออกแบบเบื้องตน                                                             2(1-3-2)
        (Basic Principle of Design)
                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
11

            กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 2 หนวยกิต
080 144 หลักการวิจัย                                                                       2(2-0-4)
        (Principles of Research)

            กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 3 หนวยกิต
           ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการ
ประจําคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ
080 153 วิทยาศาสตรกับชีวิตประจําวัน                                            3(3-0-6)
         (Science and Everyday Life)
080 156 มลพิษสิ่งแวดลอม                                                        3(3-0-6)
         (Environmental Pollution)
080 162 กระบวนการแกปญหา                                                       3(3-0-6)
         (Problem Solving Process)
080 168 พลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อชีวิต                                         3(3-0-6)
         (Energy and Environment of Life)
080 171 เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดลอม                                            3(3-0-6)
         (Clean Technology and Enivironment)

          1.2 วิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต
                                   
         ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจํา
คณะฯ พิจารณาเห็นชอบ
080 101 มนุษยกับการสรางสรรค                                                  3(3-0-6)
         (Man and Creativity)
080 107 ดนตรีวิจักษ                                                            2(2-0-4)
         (Music Appreciation)
080 114 ศิลปวิจักษ                                                             2(2-0-4)
         (Art Appreciation)
080 117 วรรณคดีวิจักษ                                                          2(2-0-4)
         (Literary Appreciation)
080 119 อารยธรรมตะวันออก                                                        2(2-0-4)
         (Eastern Civilization)
080 127 จิตวิทยาเบื้องตน                                                       2(2-0-4)
         (Introduction to Psychology)
                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
12

080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน                                                       2(2-0-4)
        (Economics in Everyday Life)
080 135 กฎหมายกับสังคม                                                                    2(2-0-4)
        (Law and Society)
080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1                                                           3(2-2-5)
        (Basic French I)
080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2                                                           3(2-2-5)
        (Basic French II)
080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1                                                            3(2-2-5)
        (Basic German I)
080 184 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2                                                            3(2-2-5)
        (Basic German II)
080 187 ภาษาจีนเบื้องตน 1                                                                3(2-2-5)
        (Basic Chinese I)
080 188 ภาษาจีนเบื้องตน 2                                                                3(2-2-5)
        (Basic Chinese II)
080 189 ภาษาญี่ปนเบืองตน 1
                  ุ ้                                                                    3(2-2-5)
        (Basic Japanese I)
080 190 ภาษาญี่ปนเบืองตน 2
                    ุ ้                                                                  3(2-2-5)
        (Basic Japanese II)
415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต                                                         2(2-0-4)
        (Southeast Asian World)
449 106 การอนุรกษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
                ั                                                                         2(2-0-4)
        (Conservation of Resources and Environment)
554 101 สมุนไพรพื้นฐาน*                                                                   3(3-0-6)
        (Elementary Herbal Medicines)
554 102 ความรูพื้นฐานดานยา*                                                             3(3-0-6)
        (Basic Drug Knowledge)
554 103 มนุษยกับสารพิษ *                                                                 3(3-0-6)
        (Man and Toxic Substances)
554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ *                                                                3(3-0-6)
        (Food for Health)
                           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
13

* หมายเหตุ เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ
           ขอลงทะเบียนไดโดยไมนับเปนหนวยกิตรายวิช าคณะในการสําเร็จการศึกษา แตนับ
           รวมเปนหนวยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได

2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวนหนวยกิต 201 หนวยกิต
    2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 47 หนวยกิต
           ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้ หรือรายวิชาอื่นที่คณะกรรมการประจําคณะฯ
พิจารณาวาเทียบเทา

            2.1.1 วิชาคณิตศาสตรและสถิติ จํานวน 8 หนวยกิต
550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขนพื้นฐานทางเภสัชศาสตร
                                   ั้                                                     2(1-3-2)
        (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences)
511 103 แคลคูลสสําหรับนักวิทยาศาสตรชีวภาพ
                 ั                                                                        3(3-0-6)
        (Calculus for Biological Scientists)
515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                                   3(2-2-5)
        (Statistics for Pharmacy Students)

              2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน       จํานวน 21 หนวยกิต
512 106   ชีววิทยาทั่วไป                                                                  4(4-0-8)
          (General Biology)
512 107   ปฏิบัตการชีววิทยาทั่วไป
                    ิ                                                                     1(0-3-0)
          (General Biology Laboratory)
513 108   เคมีทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                            4(4-0-8)
          (General Chemistry for Pharmacy Students)
513 220    เคมีฟสิคัล                                                                    3(3-0-6)
          (Physical Chemistry)
513 256   หลักเคมีอนทรีย
                      ิ                                                                   4(4-0-8)
          (Principles of Organic Chemistry)
514 109   ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                         4(4-0-8)
          (General Physics for Pharmacy Students)
514 110   ปฏิบัตการฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร
                  ิ                                                                       1(0-3-0)
          (General Physics Laboratory for Pharmacy Students)

                           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
14

              2.1.3 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 18 หนวยกิต
561 104   พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุลสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                    2(2-0-4)
          (Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy Students)
561 105   สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                        5(5-0-10)
          (Human Physiology for Pharmacy Students)
561 135   ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                              1(0-3-0)
          (Human Physiology Laboratory for Pharmacy Students)
561 204   ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                     3(3-0-6)
          (Medical Biochemistry for Pharmacy Students)
561 205   จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                                 3(3-0-6)
          (Medical Microbiology for Pharmacy Students)
561 206   วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                            1(1-0-2)
          (Medical Immunology for Pharmacy Students)
561 207   พยาธิวิทยาทั่วไป                                                                 1(1-0-2)
          (General Pathology)
561 234   ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                           1(0-3-0)
          (Medical Biochemistry Laboratory for Pharmacy Students)
561 235   ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร                       1(0-3-0)
          (Medical Microbiology Laboratory for Pharmacy Students)

     2.2. รายวิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 130 หนวยกิต
             2.2.1 กลุมวิชาดานผลิตภัณฑ จํานวน 35 หนวยกิต
564 111 เภสัชอนินทรียเคมี                                                                 1(1-0-2)
           (Inorganic Pharmaceutical Chemistry)
564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี                                                                1(0-3-0)
           (Pharmaceutical Chemistry Laboratory)
564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1                                                                3(3-0-6)
           (Pharmaceutical Quality Control I)
564 132 ปฏิบัตการการควบคุมคุณภาพยา 1
                  ิ                                                                        1(0-3-0)
           (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I)
564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2                                                                3(3-0-6)
           (Pharmaceutical Quality Control II)
                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
15

564 233 ปฏิบัตการการควบคุมคุณภาพยา 2
              ิ                                                                            1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II)
566 101 เภสัชพฤกษศาสตร                                                                    2(1-3-2)
        (Pharmaceutical Botany)
566 111 เภสัชเวท 1                                                                         3(3-0-6)
        (Pharmacognosy I)
566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1                                                               1(0-3-0)
        (Pharmacognosy Laboratory I)
566 211 เภสัชเวท 2                                                                         2(2-0-4)
        (Pharmacognosy II)
566 221 ปฏิบัตการเภสัชเวท 2
                ิ                                                                          1(0-3-0)
        (Pharmacognosy Laboratory II)
567 265 หลักการผลิตที่ดี 1                                                                 1(1-0-2)
        (Good Manufacturing Practice I)
567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1                                                               1(1-0-2)
        (Pharmaceutical Technology I)
567 267 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                                                               3(3-0-6)
        (Pharmaceutical Technology II)
567 268 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                                                               2 (2-0-4 )
        (Pharmaceutical Technology III)
567 269 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                                                               2 (2-0-4)
        (Pharmaceutical Technology IV)
567 270 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                                                               2(2-0-4)
        (Pharmaceutical Technology V)
567 271 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 6                                                               1(1-0-2)
        (Pharmaceutical Technology VI)
567 287 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2                                                     1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Technology Laboratory II)
567 288 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3                                                     1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Technology Laboratory III)
567 289 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4                                                     1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Technology Laboratory IV)
                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
16

567 290 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5                                                     1(0-3-0)
        (Pharmaceutical Technology Laboratory V)

           2.2.2 กลุมวิชาทางดานผูปวย จํานวน 42 หนวยกิต
                                   
561 211   ชีววัตถุ                                                                          2(2-0-4)
          (Biologics)
562 362   เภสัชบําบัด 2                                                                     5(4-3-8)
          (Pharmacotherapeutics II)
562 363   เภสัชกรรมการจายยา                                                                3(2-3-4)
          (Dispensing Pharmacy)
562 364   หลักการพื้นฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล                                              2 (2-0-4)
          (Principles of Hospital Pharmacy)
562 365   เภสัชกรรมปฏิบัติ                                                                  4(3-3-6)
          (Pharmacy Practice)
562 366   บริการเภสัชสนเทศ                                                                  2 (1-3-2)
          (Drug Information Services)
562 367   ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร                                                   3 (3-0-6)
          (Biopharmaceutical and Pharmacokinetics)
564 211   เคมีทางยา 1                                                                       3(3-0-6)
          (Medicinal Chemistry I)
564 212   เคมีทางยา 2                                                                       4(4-0-8)
          (Medicinal Chemistry II)
565 353   เภสัชวิทยา 1                                                                      4(4-0-8)
          (Pharmacology I)
565 354   เภสัชวิทยา 2                                                                      4(4-0-8)
          (Pharmacology II)
565 355   เภสัชบําบัด 1                                                                     3 (2-3-4)
          (Pharmacotherapeutics I)
565 356   พิษวิทยา                                                                          2 (2-0-4)
          (Toxicology )
565 357   ปฏิบัติการเภสัชวิทยา                                                              1(0-3-0)
          (Pharmacology Laboratory)

                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
17

           2.2.3 กลุมวิชาทางดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 14 หนวยกิต
550 151   เภสัชนิเทศ                                                         1(1-0-2)
          (Pharmacy Orientation)
563 251   สาธารณสุขพื้นฐาน                                                   2(2-0-4)
          (Basic Public Health)
563 256   นิติเภสัช                                                          1(1-0-2)
          (Pharmacy Law)
563 257   การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1                                       2(2-0-4)
          (Basic Pharmacy Administration I)
563 258   การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2                                       2(1-3-2)
          (Basic Pharmacy Administration II)
563 259   ระบบสุขภาพ                                                         2(2-0-4)
          (Health System)
563 260   หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร                             1(1-0-2)
          (Principles of Pharmacoepidemiology and Pharmacoeconomics)
563 261   การสื่อสารกับสุขภาพ                                                1(0-3-0)
          (Communication and Health)
568 301   สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ                                            2 (1-3-2)
          (Health Informatics)

         2.2.4 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรม จํานวน 36 หนวยกิต
                 2.2.4.1 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพภาคบังคับ จํานวน 6 หนวยกิต
550 251 การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานสุขภาพ                       1(ไมนอยกวา 60 ชั่วโมง)
        (Experiential Learning in Pharmacy Setting)
550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ                               5(ไมนอยกวา 400 ชั่วโมง)
        (Professional Practice)

                  2.2.4.2 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมสาขา จํานวน 30 หนวยกิต
       รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 30 หนวยกิต
551 331 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 1               5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Pharmaceutical Sciences Clerkship I)
551 332 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2               5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Pharmaceutical Sciences Clerkship II)
                              สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
18

551 333 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3                                 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Pharmaceutical Sciences Clerkship III)
551 334 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 4                                 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Pharmaceutical Sciences Clerkship IV)
551 335 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 5                                 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Pharmaceutical Sciences Clerkship V)
551 336 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 6                                 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Pharmaceutical Sciences Clerkship VI)

          รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 30 หนวยกิตประกอบดวย
                   บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 20 หนวยกิต
551 337    การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง              5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
           อายุรศาสตร
           (Pharmaceutical Care Clerkship in Medicine)
551 338    การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางการ           5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
           ดูแลผูปวยนอก
           (Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care)
551 339    การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง              5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
           เภสัชกรรมชุมชน
           (Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)
551 340    การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง              5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
           บริการเภสัชสนเทศ
           (Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service)

              เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 10 หนวยกิต
551 341 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง             5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics)
551 342 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง             5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        เภสัชกรรมสถานพยาบาล
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service)


                             สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
19

551 343 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง                  5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        กุมารเวชศาสตร
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics)
551 344 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางผูสูงอายุ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Geriatrics)
551 345 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคติดเชือ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
                                                                      ้
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases)
551 346 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคหัวใจ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        และหลอดเลือด
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases)
551 347 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัช กรรมโดยใชขอมูล 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        อิเล็กทรอนิกสของการดูแลผูปวย
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Electronic Pharmaceutical Care)
551 348 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัช กรรมในผูปวยที่ใช 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        การรักษาทางเลือก
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine)
551 349 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในการจัดการ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        ความเสี่ยงและความปลอดภัยของผูปวย
        (Pharmaceutical Care Clerkship in Risk Management and Patient
        Safety)

       รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 30 หนวยกิต
551 350 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 1 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Social and Administrative Pharmacy Clerkship I)
551 351 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 2 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Social and Administrative Pharmacy Clerkship II)
551 352 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 3 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Social and Administrative Pharmacy Clerkship III)
551 353 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 4 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Social and Administrative Pharmacy Clerkship IV)
551 354 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 5 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
         (Social and Administrative Pharmacy Clerkship V)

                              สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
20

551 355 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 6                         5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
        (Social and Administrative Pharmacy Clerkship VI)

       รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวน 30
หนวยกิต ประกอบดวย
                    บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ
จํานวน 20 หนวยกิต
551 356 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุขภาพ ทางการศึกษาระบบงานและการกําหนดปญหา
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System
          Study and Problem Identification)
551 357 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          สุขภาพ ทางการวิเคราะหระบบงานและแนวทางการแกปญหา
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System
          Analysis and Solutions to Problem)
551 358 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุขภาพเชิงบูรณาการ 1
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration
          of Pharmaceutical and Health Informatics I)
551 359 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุขภาพเชิงบูรณาการ 2
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration
          of Pharmaceutical and Health Informatics II)
                  เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ
จํานวน 10 หนวยกิต
551 360 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 1
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System
          Implementation I)
551 361 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 2


                           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
21

          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System
          Implementation II)
551 362   การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุข ภาพ ทางการวิเ คราะหขอ มูล การค นคื น ขอ มู ล และการ
          นําเสนอขอมูล 1
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data
          Analysis, Information Retrieval and Publishing I)
551 363   การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง)
          และสุข ภาพ ทางการวิเ คราะหขอ มูล การค นคื น ขอ มู ล และการ
          นําเสนอขอมูล 2
          (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data
          Analysis, Information Retrieval and Publishing II)
           2.2.5 รายวิชาจุลนิพนธ       จํานวน 3 หนวยกิต
551 364   จุลนิพนธ 1                                                       1(0-3-0)
          (Senior Project I)
551 365   จุลนิพนธ 2                                                       2(0-6-0)
          (Senior Project II)

       2.3 รายวิชาเลือกวิชาชีพ จํานวน 24 หนวยกิต
          2.3.1 กลุมวิชารายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 24 หนวยกิต
ประกอบดวย
        รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 20 หนวยกิต
561 241 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร                                           2(2-0-4)
          (Pharmaceutical Biotechnology)
561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ                                              2(2-0-4)
          (Biological Quality Control in Pharmaceutical Products)
561 246 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ                                    1(0-3-0)
          (Biological Quality Control in Pharmaceutical Products Laboratory)
564 234 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห                                               3(1-6-2)
          (Integrated Study in Pharmaceutical Analysis)
565 358 การพัฒนาและควบคุมยา                                                     2(2-0-4)
          (Drug Development and Regulation)

                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
22

567 272 หลักการผลิตที่ดี 2                                                                 2(2-0-4)
        (Good Manufacturing Practice II)
567 273 การจัดการทางเภสัชศาสตร                                                            2(2-0-4)
        (Management in Pharmaceutical Sciences)
567 274 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ                                              4(2-6-4)
        (Pharmaceutical Formulation and Development)
567 275 การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับอุตสาหกรรม                                           2(1-3-2)
        (Pharmaceutical Production Planning and Processing)

        รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต เลือก
                                                                
เรียนจากรายวิชาดังนี้
561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด                                             2(2-0-4)
          (Nutrition and Nutritional Therapy)
561 243 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา                                      3(3-0-6)
          (Drug Biotransformation)
561 244 เภสัชวิทยาจีโนม                                                   2(2-0-4)
          (Pharmacogenomics)
561 302 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม                                    3(1-6-2)
          (Safety of Foods and Drinking Water)
561 311 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร                         3(2-3-4)
          (Molecular Biotechnology for Pharmacists)
564 235 การแยกเพื่อการวิเคราะหเภสัชภัณฑ                                 3(2-3-4)
          (Analytical Separation of Pharmaceuticals )
564 236 วิธีพิเศษในการวิเคราะหยา                                         3(2-3-4)
          (Special Methods in Medicinal Analysis)
564 237 เภสัชวิเคราะห                                                    4(2-6-4)
          (Pharmaceutical Analysis)
564 238 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ                                         3(2-3-4)
          (Medicinal Analysis in Biologicals)
564 239 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร                           2(2-0-4)
          (Current Topics in Pharmaceutical Sciences)


                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
23

564 240 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร                                                     2(2-0-4)
        (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)
564 241 การสังเคราะหยา                                                                   3(2-3-4)
        (Pharmaceutical Synthesis)
564 242 การเรียนรูเคมีทางยาโดยใชปญหาเปนฐาน                                            2(2-0-4)
        (Problem-Based Learning in Medicinal Chemistry)
564 243 เคมีทางยาของยาใหม                                                                2(2-0-4)
        (Medicinal Chemistry of New Drugs)
564 244 เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี                                                          2 (2-0-4)
        (Chemical Aspects in Drug Metabolism)
564 245 การอธิบายโครงสรางของอินทรียสารดวยวิธีทางสเปกโทรเมตรี                            3(3-0-6)
        (Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds)
565 359 พิษวิทยาภาวะแวดลอม                                                               3(2-3-4)
        (Environmental Toxicology)
565 360 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุล                                                    3(3-0-6)
        (Cellular and Molecular Pharmacology)
565 361 การทดลองทางเภสัชวิทยา                                                             2(1-3-2)
        (Experimental Pharmacology)
565 362 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท                                            2(2-0-4)
        (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)
565 363 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด                                2(2-0-4)
        (Pharmacology of Cardiovascular Drugs)
565 364 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร                                     2(2-0-4)
        (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)
565 365 ยาใหม                                                                            2(2-0-4)
        (New Drugs)
565 366 การประเมินฤทธิ์ของยา                                                              2(1-3-2)
        (Evaluation of Drug Action)
566 222 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร                                                 3(2-3-4)
        (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences)
566 223 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร                                                        3(2-3-4)
        (Research and Development in Medicinal Plants)
                           สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
24

566 224 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร                                                       3(2-3-4)
        (Biotechnology of Medicinal Plants)
566 225 เภสัชเวทประยุกต                                                                   2(2-0-4)
        (Applied Pharmacognosy)
566 226 พฤกษบําบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ                                                    2(2-0-4)
        (Evidence Base Phytotherapy)
566 227 ยาสมุนไพรพื้นบาน                                                                  3(2-3-4)
        (Indigenous Medicines)
567 276 ระบบนําสงยาแบบใหม                                                                2(2-0-4)
        (Novel Drug Delivery System)
567 277 วิทยาการเครื่องสําอาง                                                              4(2-6-4)
        (Cosmeticology)
567 278 การบริหารการผลิต                                                                   4(3-3-6)
        (Manufacturing Management)
567 279 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ                                                          4(3-3-6)
        (Quality Control and Quality Assurance Systems)
567 280 การเคลือบยาเม็ด                                                                    3(2-3-4)
        (Tablet Coating)
567 281 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม                                             2(2-0-4)
        (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy)
567 282 อนามัยอุตสาหกรรม                                                                   4(3-3-6)
        (Industrial Hygiene)
567 283 นาโนเทคโนโลยีทางเภสัชศาสตร                                                        3(3-0-6)
        (Pharmaceutical Nanotechnology)
567 284 พื้นฐานทางวิศวเภสัชกรรม                                                            2(2-0-4)
        (Basics in Pharmaceutical Engineering)
567 285 รังสีเภสัชภัณฑ                                                                    2(2-0-4)
        (Radiopharmaceuticals)




                            สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

Contenu connexe

Tendances

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี Chutchavarn Wongsaree
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านZiwapohn Peecharoensap
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นreaweewan
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)Chantana Papattha
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 

Tendances (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
Shock
ShockShock
Shock
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)5 behavior theory 15092558 (1)
5 behavior theory 15092558 (1)
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 

Similaire à หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝันWanlop Chimpalee
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติnawaporn khamseanwong
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะMontree Jareeyanuwat
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 

Similaire à หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี) (20)

50
5050
50
 
50
5050
50
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
อาชีพในฝัน
อาชีพในฝันอาชีพในฝัน
อาชีพในฝัน
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
 
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพกาเนะ
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 

Plus de tanong2516

ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์
ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์  พูลสวัสดิ์ ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์  พูลสวัสดิ์
ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์ tanong2516
 
Gpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmentGpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmenttanong2516
 
Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02tanong2516
 
Happy New Year Pharmacy su. 54
Happy New Year Pharmacy su. 54Happy New Year Pharmacy su. 54
Happy New Year Pharmacy su. 54tanong2516
 
Telephone number of sanamchandra
Telephone number of sanamchandraTelephone number of sanamchandra
Telephone number of sanamchandratanong2516
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 

Plus de tanong2516 (6)

ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์
ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์  พูลสวัสดิ์ ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์  พูลสวัสดิ์
ความรู้เรื่องญาณเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์
 
Gpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of departmentGpa online secreatary of department
Gpa online secreatary of department
 
Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02
 
Happy New Year Pharmacy su. 54
Happy New Year Pharmacy su. 54Happy New Year Pharmacy su. 54
Happy New Year Pharmacy su. 54
 
Telephone number of sanamchandra
Telephone number of sanamchandraTelephone number of sanamchandra
Telephone number of sanamchandra
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)

  • 1.
  • 2. 1 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ภาษาไทย : หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต 1.2 ภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy Program 2. ชื่อปริญญา 2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย : เภสัชศาสตรบัณฑิต 2.2 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Pharmacy 2.3 ชื่อยอภาษาไทย : ภ.บ. 2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ : Pharm.D. 3. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ความเปนมา ปรัชญา และวัตถุประสงคของหลักสูตร 4.1 ความเปนมา วิชาชีพทางเภสัชศาสตร เปนวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องดวยศิลปวิทยาการและวิทยาศาสตรข องการ เสาะแสวงหา การประดิษฐสารจากแหลงกําเนิดตามธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นเปนยาสําเร็จรูป ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหมีความเหมาะสมและสะดวกในการแจกจายและใชเพื่อบําบัด บรรเทา ปองกัน พิเ คราะห โรค และสร า งเสริ มสุ ข ภาพ วิช าชี พ นี้ ค รอบคลุ ม เนื้ อ หาวิ ช าการของการกํ า หนดจดจํา เอกลักษณและการตรวจพิสูจน การเลือกสรรฤทธิ์หรือสรรพคุณของยา การเก็บถนอมรักษายามิให เสื่ อ มคุณ ภาพ การปรุ ง การผสม การวิเ คราะห และทําใหไ ดมาตรฐานตามกํ าหนดของยาและ เวชภัณฑ การวิจัยและพัฒนาสูตรตํารับและเทคโนโลยีก ารผลิตยา อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการแจกจาย การติดตามผล การประเมิน การทบทวน และการเลือกใชอยางถูกตองปลอดภัยโดยเหมาะสม ไมวาจะ เปนการจายตามใบสั่งใชยาของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิล ปะอื่นใด รวมทั้ง สัตวแพทย หรือจะเปนการจายใหโดยตรง หรือขาย หรือใหบริการ ดานความรูแกผูบริโภคภายใตกรอบ บัญญัติแหงกฎหมายและนิติธรรม อีกทั้งตองตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 3. 2 ในปจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึก ษาเภสั ชศาสตรในประเทศต าง ๆ เช น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศญี่ปุน มีแนวโนมเนนการปรับหลักสูตรเพื่อ ใหเ ภสัช กรมีความพรอมทั้งดานองคความรูแ ละประสบการณจริงในการดูแลกระบวนการใชยาในประชาชน โดยตรงมากขึ้น เพื่อมุงใหเกิดสัมฤทธิ์ผลของยาตอประชาชนและสงเสริมคุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนเปนหลัก บทบาทของเภสัชกรตามความตองการของตลาดและสังคมในปจจุบันจึงมิได สิ้นสุดอยูเพียงแคการผลิต การจัดซื้อจัดหา การกระจายยาและสงมอบยาแกประชาชนเทานั้น แตได ขยายขอบเขตของบทบาทหนาที่ใหครอบคลุมถึงการใชยาของประชาชน การติดตามประเมินผลอัน เกิดจากการใชยาของประชาชนและชุมชน การคุมครองผู บริโภค การแกปญหาสุขภาพชุ มชน การ บริหารจัดการงานเภสัชกรรม รวมถึงการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนองความตองการในการพึ่งพาตนเอง ของประเทศในดานอุ ตสาหกรรมยารองรับเทคโนโลยีขั้ นสูง และการถ ายทอดเทคโนโลยี ซึ่ง มี บทบาทเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยา บทบาทวิชาชีพดังกลาวนํามาซึ่งความจําเปนที่จะตองเพิ่มทั้งเนื้อหา และการฝกปฏิบัติงาน มาตรฐานการศึกษาเภสัชศาสตรในสากล จึงมุงสูระบบการศึกษา 6 ป มากขึ้น จากทิศทางขางตน ประกอบกับสภาเภสั ชกรรมไดอ อกข อบั งคับเภสัชกรรมวาดวยการ รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาเภสัชศาสตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเภสัชกรรมของสถาบัน ตาง ๆ ซึ่งสภาเภสัชกรรมจะรับรองหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณ ฑิต 6 ป เพียงหลัก สูต รเดียวในป พ.ศ. 2557 และใชเปนเงื่อนไขในการสมัครเขาเปนสมาชิก และสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได ซึ่งถือเปน entry level degree บัณ ฑิตทางเภสัช ศาสตรที่สํา เร็จการศึก ษาในป พ.ศ. 2557 จะตอ ง สําเร็จการศึก ษาตามหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณ ฑิต 6 ป เทานั้น ดังนั้นคณะฯ จึงปรับปรุงหลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิ ต 6 ป ในครั้ งนี้ ขึ้ นเพื่อใหเป นไปตามข อกําหนดของสภาเภสัช กรรม และเพื่ อให หลักสูตรมีความเหมาะสมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว โดยบัณฑิตที่ไดจากหลักสูตรจะเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรม 4.2 ปรัชญา มุงผลิตบัณฑิตใหเปนผูที่มีสมรรถนะทางวิชาชีพตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเภสัช กรรม พ.ศ.2545 มีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ 4.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของการศึกษาเภสัชศาสตร ตามหลัก สูตรเภสัช ศาสตรบัณฑิต 6 ป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552 มีดังนี้ 4.3.1 วัตถุประสงคทั่วไป : นักศึกษาเภสัชศาสตรควรมีลักษณะทั่วไปดังนี้ 1. มีความรูและเขาใจ ปญหาสาธารณสุข ของประเทศ ตลอดจนตระหนักถึงบทบาท ของเภสัชกรที่ตองมีสวนรวมในการแกปญหานั้----*--น ๆ และรวมไปกับบุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวของ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 4. 3 2. มีค วามรอบรู ในศิ ล ปวิ ท ยาต า ง ๆ สมกั บ เป น เภสั ช กรที่ดี ที่ เ พีย บพร อ มด ว ย คุณ ธรรม ยึ ดมั่ น ในจรรยาบรรณแหง วิ ช าชีพ มีมนุ ษ ยสั มพัน ธ อั น ดี รวมทั้ งมีค วามรั บผิ ดชอบตอ หนวยงาน สังคม และประเทศชาติ และสามารถประยุกตความรู ทั้งในดานวิชาชีพและนอกวิชาชีพ เพื่อบริการประชาชนดานสุขภาพอนามัยอยางมีประสิทธิภาพ เปยมประสิทธิผล 3. มีความเขาใจวา "วิชาชีพเภสัชกรรม" เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูใฝศึกษาติดตอกันไป ตลอดชีวิต เยี่ยงวิชาชีพอื่น ๆ และมีความสามารถพอที่จะศึกษาคนควาดวยตนเองตอไปได 4. มีความสามารถวิเคราะหและปรับปรุงตนเองใหเหมาะสมกับสถานการณ เมือรวม ่ ทํางานกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน 5. มีค วามตระหนัก รูซึ้ง ถึง ความจํา เปน ในการพัฒ นาคุณ ภาพทั้ง ของตนเอง ของ วิทยาการ และของวิช าชีพ ใหส ามารถปฏิบัติก ิจกรรมที่ร องรับและกําหนดไวตามพัน ธกิจและ ภารกิจเพื่อบรรลุวัตถุประสงคและเจตนารมณที่กําหนดไวเปนหลักฐานแหงบุคลากรในสายวิชาชีพ และ ในการคุมครองผูบริโภคทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือในระดับที่สูงขึ้นไปอีกตามทิศทางและ แนวโนมการพัฒนาที่จักดําเนินตอไป 6. มีทักษะทางวิชาชีพที่จําเปนในการปฏิบัติงาน 4.3.2 วัตถุประสงคเฉพาะ นักศึก ษาเภสัชศาสตร ควรเปนผูมีความรูค วามสามารถดาน วิชาการ ดังนี้ 1. ความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมทั่วไป ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ.2545 และ 2. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานการบริบาลทางเภสัชกรรมไดแก - การติดตามการใชยาของผูปวยในโรงพยาบาลและสถานปฏิบัติก ารเภสัช กรรมชุมชน - การวิเคราะหปญหาการใชยาในผูปวยแตละราย การไตรตรองวินิจฉัยผล ของยาที่มีตอรางกายทั้งในดานเปนคุณและเปนพิษรวมทั้งการประเมินผล การใชยาในลักษณะตาง ๆ - การวางแผนการรักษาดวยยา ในผูปวยแตละรายไดอยางเหมาะสม - การวิจัยดานการบริบาลทางเภสัช กรรม หรือ 3. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานวิทยาการเภสัชศาสตรไดแก - การประยุก ตองคค วามรู เชิ งลึ ก ด านการผลิ ต การประกั นและหรื อ การ ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑยา เครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพอื่น ๆ ใน การแกไขปญหาการผลิต การประกันและหรือการควบคุมคุณภาพ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 5. 4 - การคน ควาวิจัย และพัฒ นายา ผลิตภั ณฑ ยา เครื่ องสํ าอางและผลิตภั ณฑ สงเสริมสุขภาพที่มีคุณคา คุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑส ากลเพื่อ การ พัฒนาประเทศในการพึ่งพาตนเอง หรือ 4. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหารไดแก - การคุมครองผูบริโภคดานยา อาหาร เครื่อ งสําอางและผลิตภัณฑสุขภาพ และอื่นๆ เชน วัตถุอันตราย สารเคมี ฯ - การสื่อสารดานขอมูลความรูเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑสุขภาพ รวมถึงการ แนะนําการปฏิบัติตัวในการใชยากับประชาชนและบุคลากรทางการแพทย ที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ - การประยุก ตค วามรูเ พื่อ การบริหารจัด การงานเภสัช กรรมในลัก ษณะ ตางๆ - การคนหาปญหาสาธารณสุข และเสนอแนวทางในการแกไ ข/ ปอ งกัน ปญหาที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามการใชยาและผลิตภัณฑสุข ภาพใน ชุมชน - การคนควาวิจัยดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร หรือ 5. ความรูความสามารถเฉพาะทางดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ ไดแก - การจัดเก็บขอมูลขาวสารดานเภสัชกรรม และดานสุขภาพอยางเปนระบบ เพื่ อ ความสะดวกในการเรี ย กใช ข อ มู ล สํ า หรั บ การตั ด สิ น ใจหรื อ การ ดําเนินการตาง ๆ - การดูแลบํารุงรักษาระบบขอ มูลขาวสารดานเภสัช กรรมและดานสุขภาพ รวมถึงระบบความปลอดภัยของขอมูลขาวสาร - การสืบคน และการเรียกใช ขอ มูล จากแหลง หรือ จากฐานขอ มูล ตา ง ๆ รวมถึงการประเมิน วิเคราะห และสรุปผลขอมูลเพื่อการนําเสนอในรูปแบบ ตาง ๆ - การประยุกตความรูและทักษะดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ สุ ข ภาพในงานบริ บาลทางเภสั ช กรรมและการวิ จั ยและพั ฒ นายา และ ผลิตภัณฑยา - งานวิจัยดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ 5. กําหนดการเปดสอน เริ่มเปดสอนตั้งแตภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2552 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 6. 5 6. คุณสมบัติผูเขาศึกษา 6.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และ/หรือ 6.2 มีคุ ณสมบัติค รบถ วนตามข อ บังคั บมหาวิ ทยาลั ยศิ ล ปากรวาดวยการศึ ก ษาระดับปริ ญ ญา บัณฑิต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) หรือ 6.3 ผูสํ าเร็จการศึก ษาระดับปริญญาบัณ ฑิต ด านวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดา นตา ง ๆ ให สามารถเขาศึกษาในหลักสูตรนี้ไดตามกระบวนการและขั้นตอนการคัดเลือกเขาศึกษา มี สิทธิได รับการพิจารณาเทียบโอนและ / หรือ ยกเวนรายวิชาและหนวยกิต จากหนวยกิตที่ สําเร็จการศึกษา ทั้งนี้จํานวนรายวิช าและหนวยกิตที่ไดรับการเทียบโอน และ/หรือ ยกเวน จะเปน ไปตามดุล ยพินิจของคณะกรรมการประจําคณะฯ แตรวมแลวจะตองมีระยะเวลา ศึกษาตามหลักสูตรไมนอยกวา 10 ภาคการศึกษาปกติ หรือ 5 ปการศึกษาปกติ 7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยศิล ปากรและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึก ษา และ ตามลั ก ษณะเฉพาะของคณะเภสั ช ศาสตร มหาวิ ทยาลั ยศิล ปากร โดยผ า นการสอบคั ดเลื อ กของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึก ษา หรือผานการสอบคัดเลือกตามโครงการรับนักศึก ษาเภสัช ศาสตรสอบตรง (Direct Admissions) โครงการพิเศษของกระทรวงมหาดไทย และ / หรือหนวยงาน โครงการอื่นใด 8. ระบบการศึกษา 8.1 การจั ดการศึก ษาใชระบบหนวยกิตทวิ ภ าคหรื อระบบอื่น ที่เทียบเทา โดยระบบหน วยกิ ต ทวิภาคนั้น หนึ่งปก ารศึก ษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึก ษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา ศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห 8.2 การคิดหนวยกิต 8.2.1 รายวิชาบรรยาย 1 หนวยกิตเทากับ 1 ชั่วโมงตอสัปดาห 8.2.2 รายวิชาปฏิบติการ 1 หนวยกิตเทากับ 2-3 ชั่วโมงตอสัปดาห ั 8.2.3 รายวิชาฝกงาน 1 หนวยกิตเทากับ 60 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาปกติ 8.2.4 การเรียนการสอนแบบโครงการ 1 หนวยกิต ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ 8.3 เกณฑในการกําหนดหนวยกิตในแตละรายวิชากํ าหนดเกณฑในการกําหนดคา ของหนวย กิตจากจํานวนชั่วโมงบรรยาย (บ) ชั่วโมงปฏิบัติ (ป) และชั่วโมงที่นักศึก ษาตองศึก ษาดวยตนเองนอก เวลาเรียน (น) ตอ 1 สัปดาห แลวหารดวย 3 ซึ่งมีวิธีคิดดังนี้ จํานวนหนวยกิต = บ+ป+น 3 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 7. 6 การเขียนหนวยกิตในรายวิชาตางๆ ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัวคือ ตัวแรกอยูนอกวงเล็บเปนจํานวน หนวยกิตของรายวิชานั้น ตัวที่สอง สาม และสี่ อยูในวงเล็บ บอกจํานวนชั่วโมงบรรยาย ปฏิบัติ และศึกษา ดวยตนเองนอกเวลาเรียน ตามลําดับ เชน 2(2-0-4) เลข 2 นอกวงเล็บ หมายถึง จํานวนหนวยกิต ตัวเลขใน วงเล็บ เลข 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงบรรยาย เลข 0 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติและเลข 4 ตัวหลัง หมายถึง จํานวนชั่วโมงที่นักศึกษาตองศึกษาดวยตนเองนอกเวลาเรียน 8.4 หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 6 ป ทั้งนี้ไมเกิน 12 ป 10. การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร วาดวยการศึก ษาระดับปริญญา บัณฑิต พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา 11.1 การวัดผลการศึกษา ให เ ปน ไปตามข อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วา ด ว ยการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต พ.ศ.2551 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายหลัง 11.2 การสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติดังนี้ 11.2.1 สอบไดหนวยกิตสะสมครบตามหลั กสูตรที่เขาศึ กษาภายในระยะเวลาไมเกิน 2 เทาของระยะเวลาการศึกษา 11.2.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 2.00 11.2.3 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมเฉพาะวิชาของคณะเภสัชศาสตร ไมนอยกวา 2.00 11.2.4 ตองผานการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดวยระดับการประเมินเปนที่พอใจ ไมนอยกวา 2,000  ชั่วโมงปฏิบัติการ 11.2.5 ตองผานรายวิชาจุลนิพนธตามแผนการเรียนการสอนแบบโครงการอีกไมนอยกวา 135 ชั่วโมงปฏิบัติการ 11.2.6 ตองผานการเขารวมกิจกรรมตามประกาศที่คณะฯกําหนด 12. อาจารยผูสอน 12.1 อาจารยประจําหลักสูตร สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 8. 7 12.1.1 เภสัชกร รองศาสตราจารย ดร.ธนะเศรษฐ งาวหิรัญพัฒน 12.1.2 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ดร.มนฤดี สุขมา 12.1.3 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย นุชนาฏ กิจเจริญ 12.1.4 เภสัชกรหญิง รองศาสตราจารย จันคนา บูรณะโอสถ 12.1.5 เภสัชกรหญิง ผูชวยศาสตราจารย ปารณีย มีแตม 12.2 อาจารยประจํา (ภาคผนวก ข) 12.3 อาจารยพิเศษ (ประกาศเปนรายป) 13. จํานวนนักศึกษา ชั้นปที่ จํานวนนักศึกษา (คน) ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 1 180 180 180 180 180 180 2 - 180 180 180 180 180 3 - - 180 180 180 180 4 - - - 180 180 180 5 - - - - 180 180 6 - - - - - 180 รวม 180 360 540 720 900 1080 จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จ - - - - - 180 การศึกษา 14. สถานที่และอุปกรณการสอน 14.1 สถานที่ ใชอาคารคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และคณะตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิล ปากร ที่มีรายวิชาบรรจุในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาล สถานบริการสาธารณสุข ระดับตาง ๆ โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่นที่เ กี่ยวขอ งกับงานและวิช าชีพเภสัช กรรม ทั้งภาครัฐ และ ภาคเอกชน ทั้งนี้การศึกษานอกสถานที่เพื่อ เสริมทักษะและประสบการณการเรียนรูของนักศึกษาให สามารถทําไดโดยเสนอขออนุมัติค ณะวิชาเปนกรณี ๆ ไป 14.2 อุปกรณการสอน อุป กรณแ ละครุภ ัณ ฑก ารศึก ษาของคณะเภสัช ศาสตร มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร และ หนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยศิล ปากร สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 9. 8 15. หองสมุด หนังสือ ตํารา วารสาร และเอกสารวิชาการตาง ๆ ใชบริการจากสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย ศิลปากร หองเอกสารอางอิงทางเภสัชศาสตร “ประโชติ เปลงวิทยา” และหนวยงานที่เ กี่ยวขอ งอื่น ๆ รวมถึงระบบฐานขอมูล ระบบเครือขายสารสนเทศ ของคณะเภสัชศาสตร และของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ หนังสือ ภาษาไทย จํานวน 6,125 รายการ ภาษาอังกฤษ จํานวน 4,355 รายการ วารสาร ภาษาไทย จํานวน 40 ชือเรื่อง ่ ภาษาอังกฤษ จํานวน 60 ชือเรื่อง ่ ฐานขอมูล 1. ฐานขอมูลที่หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร บอกรับ จํานวน 2 ฐานขอมูล ไดแก 1.1 ฐานขอมูล SpringerLink (มีทั้ง journal และ e-book) 1.2 ฐานขอมูล Netlibrary (e-book) 2. ฐานขอมูลทีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รวมกับ ThaiLIS (Thai Library ่ Integrated System) บอกรับ จํานวน 5 ฐานขอมูล ไดแก 2.1 ฐานขอมูล Sciences Direct 2.2 ฐานขอมูลบทความวารสารของ H.W.Wilson ไดแก 2.2.1 ฐานขอมูล Applied Science & Technology 2.2.2 ฐานขอมูล General Science Fulltext 2.2.3 ฐานขอมูล CAB Abstract 2.3 ฐานขอมูล ISI Web of Science (ฐานขอมูล Citation ดานวิทยาศาสตรและ สังคม 2.4 ฐานขอมูล Proquest (ฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปริญญาโท/เอกของ ตางประเทศ 2.5 ฐานขอมูล Dissertation Abstracts Online (DAO) นอกจากนี้ยังมีฐ านขอ มูล สารสนเทศทางเภสัชศาสตร แ ละที่เกี่ย วของ ไมนอยกวา 1,482 พันลานตัวอักษร 1,482 Gigabytes (ของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และสถาบันเครือ ขาย ความรวมมือทางเภสัชศาสตร) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 10. 9 16. งบประมาณ 16.1 ใชงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผนดินที่ไดรับการจัดสรร และงบประมาณแผนดิน ตามที่จะไดรับการจัดสรรประจํา ปต ามแผนงาน งบประมาณของคณะเภสั ช ศาสตร มหาวิ ทยาลั ย ศิลปากร 16.2 คาใชจายในการผลิตบัณฑิต 1 คน เปนจํานวนประมาณ 100,000 บาท/คน/ป ทั้งนี้โดยใช หลักการของการจัดสรรและการใชสอยทรัพยากรรวมกัน 17. หลักสูตร 17.1 จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 237 หนวยกิต 17.2 โครงสรางหลักสูตร 17.2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 17.2.2 หมวดวิชาเฉพาะ 201 หนวยกิต - วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 47 หนวยกิต - รายวิชาบังคับวิชาชีพ 130 หนวยกิต กลุมวิชาทางดานผลิตภัณฑ 35 หนวยกิต กลุมวิชาทางดานผูปวย 42 หนวยกิต กลุมวิชาทางดานเภสัชศาสตรสังคม และการบริหาร 14 หนวยกิต กลุมวิชาการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ 36 หนวยกิต รายวิชาจุลนิพนธ 3 หนวยกิต - รายวิชาเลือกวิชาชีพ 24 หนวยกิต 17.2.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต รวม 237 หนวยกิต 17.3 รายวิชา รหัสวิชากําหนดใชเปนเลข 6 หลักโดยแบงเลขออกเปนสองกลุม กลุมละสามหลักโดยเวน วรรคหนึ่งชวงระหวางเลขสามหลักแรกและสามหลักหลัง ตัวเลขสามหลักแรก เปนเลขประจําหนวยงานที่รับผิดชอบรายวิชานั้น เชน 080 มหาวิทยาลัยศิลปากร 550, 551 คณะเภสัชศาสตร 561 ภาควิชาชีวเภสัชศาสตร 562 ภาควิชาเภสัชกรรม สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 11. 10 563 ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน 564 ภาควิชาเภสัชเคมี 565 ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 566 ภาควิชาเภสัชเวท 567 ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 568 ภาควิชาสารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ ตัวเลขสามหลักหลัง เปนตัวเลขบอกรหัสวิชา เลขตัวแรก 1-3 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาบัณฑิต 4-9 หมายถึง รายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา เลขตัวที่สองและสาม หมายถึงลําดับที่ของรายวิชา 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1 วิชาบังคับ จํานวน 24 หนวยกิต ใหนกศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้ ั กลุมวิชาภาษา จํานวน 15 หนวยกิต 080 176 ภาษากับการสื่อสาร 3(3-0-6) (Language and Communication) 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5) (English I) 080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5) (English II) 550 155 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students I) 550 158 ภาษาอังกฤษสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2 3(2-2-5) (English for Pharmacy Students II) กลุมวิชามนุษยศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต 080 122 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4) (Professional Ethics) 550 153 หลักการออกแบบเบื้องตน 2(1-3-2) (Basic Principle of Design) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 12. 11 กลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 2 หนวยกิต 080 144 หลักการวิจัย 2(2-0-4) (Principles of Research) กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จํานวน 3 หนวยกิต ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการ ประจําคณะฯ พิจารณาเห็นชอบ 080 153 วิทยาศาสตรกับชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) (Science and Everyday Life) 080 156 มลพิษสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) (Environmental Pollution) 080 162 กระบวนการแกปญหา 3(3-0-6) (Problem Solving Process) 080 168 พลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อชีวิต 3(3-0-6) (Energy and Environment of Life) 080 171 เทคโนโลยีสะอาดและสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) (Clean Technology and Enivironment) 1.2 วิชาเลือก จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต  ใหเลือกลงทะเบียนเรียนจากรายวิชาตาง ๆ ดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่คณะกรรมการประจํา คณะฯ พิจารณาเห็นชอบ 080 101 มนุษยกับการสรางสรรค 3(3-0-6) (Man and Creativity) 080 107 ดนตรีวิจักษ 2(2-0-4) (Music Appreciation) 080 114 ศิลปวิจักษ 2(2-0-4) (Art Appreciation) 080 117 วรรณคดีวิจักษ 2(2-0-4) (Literary Appreciation) 080 119 อารยธรรมตะวันออก 2(2-0-4) (Eastern Civilization) 080 127 จิตวิทยาเบื้องตน 2(2-0-4) (Introduction to Psychology) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 13. 12 080 133 เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน 2(2-0-4) (Economics in Everyday Life) 080 135 กฎหมายกับสังคม 2(2-0-4) (Law and Society) 080 179 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic French I) 080 180 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic French II) 080 183 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic German I) 080 184 ภาษาเยอรมันเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic German II) 080 187 ภาษาจีนเบื้องตน 1 3(2-2-5) (Basic Chinese I) 080 188 ภาษาจีนเบื้องตน 2 3(2-2-5) (Basic Chinese II) 080 189 ภาษาญี่ปนเบืองตน 1 ุ ้ 3(2-2-5) (Basic Japanese I) 080 190 ภาษาญี่ปนเบืองตน 2 ุ ้ 3(2-2-5) (Basic Japanese II) 415 151 โลกเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2(2-0-4) (Southeast Asian World) 449 106 การอนุรกษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ั 2(2-0-4) (Conservation of Resources and Environment) 554 101 สมุนไพรพื้นฐาน* 3(3-0-6) (Elementary Herbal Medicines) 554 102 ความรูพื้นฐานดานยา* 3(3-0-6) (Basic Drug Knowledge) 554 103 มนุษยกับสารพิษ * 3(3-0-6) (Man and Toxic Substances) 554 104 อาหารเพื่อสุขภาพ * 3(3-0-6) (Food for Health) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 14. 13 * หมายเหตุ เปนรายวิชาที่เปดบริการสําหรับนักศึกษานอกคณะวิชา ทั้งนี้นักศึกษาเภสัชศาสตรอาจ ขอลงทะเบียนไดโดยไมนับเปนหนวยกิตรายวิช าคณะในการสําเร็จการศึกษา แตนับ รวมเปนหนวยกิตสะสมตลอดหลักสูตรได 2. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวนหนวยกิต 201 หนวยกิต 2.1 รายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จํานวน 47 หนวยกิต ใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาตอไปนี้ หรือรายวิชาอื่นที่คณะกรรมการประจําคณะฯ พิจารณาวาเทียบเทา 2.1.1 วิชาคณิตศาสตรและสถิติ จํานวน 8 หนวยกิต 550 101 การประยุกตคอมพิวเตอรขนพื้นฐานทางเภสัชศาสตร ั้ 2(1-3-2) (Basic Computer Applications in Pharmaceutical Sciences) 511 103 แคลคูลสสําหรับนักวิทยาศาสตรชีวภาพ ั 3(3-0-6) (Calculus for Biological Scientists) 515 203 สถิติสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(2-2-5) (Statistics for Pharmacy Students) 2.1.2 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน จํานวน 21 หนวยกิต 512 106 ชีววิทยาทั่วไป 4(4-0-8) (General Biology) 512 107 ปฏิบัตการชีววิทยาทั่วไป ิ 1(0-3-0) (General Biology Laboratory) 513 108 เคมีทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 4(4-0-8) (General Chemistry for Pharmacy Students) 513 220 เคมีฟสิคัล 3(3-0-6) (Physical Chemistry) 513 256 หลักเคมีอนทรีย ิ 4(4-0-8) (Principles of Organic Chemistry) 514 109 ฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 4(4-0-8) (General Physics for Pharmacy Students) 514 110 ปฏิบัตการฟสิกสทั่วไปสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร ิ 1(0-3-0) (General Physics Laboratory for Pharmacy Students) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 15. 14 2.1.3 วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพและคลินิก จํานวน 18 หนวยกิต 561 104 พื้นฐานชีววิทยาระดับเซลลและโมเลกุลสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Basic Cellular and Molecular Biology for Pharmacy Students) 561 105 สรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 5(5-0-10) (Human Physiology for Pharmacy Students) 561 135 ปฏิบัติการสรีรวิทยามนุษยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Human Physiology Laboratory for Pharmacy Students) 561 204 ชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Medical Biochemistry for Pharmacy Students) 561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Medical Microbiology for Pharmacy Students) 561 206 วิทยาภูมิคุมกันทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(1-0-2) (Medical Immunology for Pharmacy Students) 561 207 พยาธิวิทยาทั่วไป 1(1-0-2) (General Pathology) 561 234 ปฏิบัติการชีวเคมีทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Medical Biochemistry Laboratory for Pharmacy Students) 561 235 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางการแพทยสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร 1(0-3-0) (Medical Microbiology Laboratory for Pharmacy Students) 2.2. รายวิชาบังคับวิชาชีพ จํานวน 130 หนวยกิต 2.2.1 กลุมวิชาดานผลิตภัณฑ จํานวน 35 หนวยกิต 564 111 เภสัชอนินทรียเคมี 1(1-0-2) (Inorganic Pharmaceutical Chemistry) 564 121 ปฏิบัติการเภสัชเคมี 1(0-3-0) (Pharmaceutical Chemistry Laboratory) 564 131 การควบคุมคุณภาพยา 1 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control I) 564 132 ปฏิบัตการการควบคุมคุณภาพยา 1 ิ 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory I) 564 231 การควบคุมคุณภาพยา 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Quality Control II) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 16. 15 564 233 ปฏิบัตการการควบคุมคุณภาพยา 2 ิ 1(0-3-0) (Pharmaceutical Quality Control Laboratory II) 566 101 เภสัชพฤกษศาสตร 2(1-3-2) (Pharmaceutical Botany) 566 111 เภสัชเวท 1 3(3-0-6) (Pharmacognosy I) 566 121 ปฏิบัติการเภสัชเวท 1 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory I) 566 211 เภสัชเวท 2 2(2-0-4) (Pharmacognosy II) 566 221 ปฏิบัตการเภสัชเวท 2 ิ 1(0-3-0) (Pharmacognosy Laboratory II) 567 265 หลักการผลิตที่ดี 1 1(1-0-2) (Good Manufacturing Practice I) 567 266 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(1-0-2) (Pharmaceutical Technology I) 567 267 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 3(3-0-6) (Pharmaceutical Technology II) 567 268 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 2 (2-0-4 ) (Pharmaceutical Technology III) 567 269 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 2 (2-0-4) (Pharmaceutical Technology IV) 567 270 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4) (Pharmaceutical Technology V) 567 271 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 6 1(1-0-2) (Pharmaceutical Technology VI) 567 287 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory II) 567 288 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory III) 567 289 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory IV) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 17. 16 567 290 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 1(0-3-0) (Pharmaceutical Technology Laboratory V) 2.2.2 กลุมวิชาทางดานผูปวย จํานวน 42 หนวยกิต  561 211 ชีววัตถุ 2(2-0-4) (Biologics) 562 362 เภสัชบําบัด 2 5(4-3-8) (Pharmacotherapeutics II) 562 363 เภสัชกรรมการจายยา 3(2-3-4) (Dispensing Pharmacy) 562 364 หลักการพื้นฐานทางเภสัชกรรมสถานพยาบาล 2 (2-0-4) (Principles of Hospital Pharmacy) 562 365 เภสัชกรรมปฏิบัติ 4(3-3-6) (Pharmacy Practice) 562 366 บริการเภสัชสนเทศ 2 (1-3-2) (Drug Information Services) 562 367 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร 3 (3-0-6) (Biopharmaceutical and Pharmacokinetics) 564 211 เคมีทางยา 1 3(3-0-6) (Medicinal Chemistry I) 564 212 เคมีทางยา 2 4(4-0-8) (Medicinal Chemistry II) 565 353 เภสัชวิทยา 1 4(4-0-8) (Pharmacology I) 565 354 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8) (Pharmacology II) 565 355 เภสัชบําบัด 1 3 (2-3-4) (Pharmacotherapeutics I) 565 356 พิษวิทยา 2 (2-0-4) (Toxicology ) 565 357 ปฏิบัติการเภสัชวิทยา 1(0-3-0) (Pharmacology Laboratory) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 18. 17 2.2.3 กลุมวิชาทางดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 14 หนวยกิต 550 151 เภสัชนิเทศ 1(1-0-2) (Pharmacy Orientation) 563 251 สาธารณสุขพื้นฐาน 2(2-0-4) (Basic Public Health) 563 256 นิติเภสัช 1(1-0-2) (Pharmacy Law) 563 257 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 1 2(2-0-4) (Basic Pharmacy Administration I) 563 258 การบริหารเภสัชกิจเบื้องตน 2 2(1-3-2) (Basic Pharmacy Administration II) 563 259 ระบบสุขภาพ 2(2-0-4) (Health System) 563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร 1(1-0-2) (Principles of Pharmacoepidemiology and Pharmacoeconomics) 563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ 1(0-3-0) (Communication and Health) 568 301 สารสนเทศศาสตรทางสุขภาพ 2 (1-3-2) (Health Informatics) 2.2.4 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรม จํานวน 36 หนวยกิต 2.2.4.1 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพภาคบังคับ จํานวน 6 หนวยกิต 550 251 การเรียนรูเชิงประสบการณในหนวยงานสุขภาพ 1(ไมนอยกวา 60 ชั่วโมง) (Experiential Learning in Pharmacy Setting) 550 351 ประสบการณการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ 5(ไมนอยกวา 400 ชั่วโมง) (Professional Practice) 2.2.4.2 รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพกลุมสาขา จํานวน 30 หนวยกิต รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 30 หนวยกิต 551 331 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 1 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship I) 551 332 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship II) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 19. 18 551 333 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 3 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship III) 551 334 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 4 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship IV) 551 335 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 5 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship V) 551 336 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานวิทยาการทางเภสัชศาสตร 6 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Sciences Clerkship VI) รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 30 หนวยกิตประกอบดวย บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 20 หนวยกิต 551 337 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) อายุรศาสตร (Pharmaceutical Care Clerkship in Medicine) 551 338 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางการ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) ดูแลผูปวยนอก (Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care) 551 339 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) เภสัชกรรมชุมชน (Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy) 551 340 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) บริการเภสัชสนเทศ (Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service) เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จํานวน 10 หนวยกิต 551 341 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) เภสัชจลนพลศาสตรคลินิก (Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics) 551 342 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) เภสัชกรรมสถานพยาบาล (Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 20. 19 551 343 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) กุมารเวชศาสตร (Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics) 551 344 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางผูสูงอายุ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Pharmaceutical Care Clerkship in Geriatrics) 551 345 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคติดเชือ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) ้ (Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases) 551 346 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคหัวใจ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และหลอดเลือด (Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases) 551 347 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัช กรรมโดยใชขอมูล 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) อิเล็กทรอนิกสของการดูแลผูปวย (Pharmaceutical Care Clerkship in Electronic Pharmaceutical Care) 551 348 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัช กรรมในผูปวยที่ใช 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) การรักษาทางเลือก (Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine) 551 349 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานบริบาลทางเภสัชกรรมในการจัดการ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) ความเสี่ยงและความปลอดภัยของผูปวย (Pharmaceutical Care Clerkship in Risk Management and Patient Safety) รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร จํานวน 30 หนวยกิต 551 350 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 1 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship I) 551 351 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 2 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship II) 551 352 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 3 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship III) 551 353 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 4 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship IV) 551 354 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 5 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship V) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 21. 20 551 355 การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพดานเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร 6 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) (Social and Administrative Pharmacy Clerkship VI) รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวน 30 หนวยกิต ประกอบดวย บังคับฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวน 20 หนวยกิต 551 356 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพดานสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุขภาพ ทางการศึกษาระบบงานและการกําหนดปญหา (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Study and Problem Identification) 551 357 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและ 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) สุขภาพ ทางการวิเคราะหระบบงานและแนวทางการแกปญหา (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Analysis and Solutions to Problem) 551 358 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุขภาพเชิงบูรณาการ 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics I) 551 359 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุขภาพเชิงบูรณาการ 2 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Integration of Pharmaceutical and Health Informatics II) เลือกฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาสารสนเทศศาสตรทางเภสัชกรรมและสุขภาพ จํานวน 10 หนวยกิต 551 360 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation I) 551 361 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุขภาพ ทางการพัฒนาระบบงาน 2 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 22. 21 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in System Implementation II) 551 362 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุข ภาพ ทางการวิเ คราะหขอ มูล การค นคื น ขอ มู ล และการ นําเสนอขอมูล 1 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing I) 551 363 การฝก ปฏิบัติงานวิชาชีพด านสารสนเทศศาสตรทางเภสั ชกรรม 5(ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และสุข ภาพ ทางการวิเ คราะหขอ มูล การค นคื น ขอ มู ล และการ นําเสนอขอมูล 2 (Pharmaceutical and Health Informatics Clerkship in Data Analysis, Information Retrieval and Publishing II) 2.2.5 รายวิชาจุลนิพนธ จํานวน 3 หนวยกิต 551 364 จุลนิพนธ 1 1(0-3-0) (Senior Project I) 551 365 จุลนิพนธ 2 2(0-6-0) (Senior Project II) 2.3 รายวิชาเลือกวิชาชีพ จํานวน 24 หนวยกิต 2.3.1 กลุมวิชารายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 24 หนวยกิต ประกอบดวย รายวิชาบังคับกลุมรายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวน 20 หนวยกิต 561 241 เทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Pharmaceutical Biotechnology) 561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 2(2-0-4) (Biological Quality Control in Pharmaceutical Products) 561 246 ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 1(0-3-0) (Biological Quality Control in Pharmaceutical Products Laboratory) 564 234 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห 3(1-6-2) (Integrated Study in Pharmaceutical Analysis) 565 358 การพัฒนาและควบคุมยา 2(2-0-4) (Drug Development and Regulation) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 23. 22 567 272 หลักการผลิตที่ดี 2 2(2-0-4) (Good Manufacturing Practice II) 567 273 การจัดการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Management in Pharmaceutical Sciences) 567 274 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ 4(2-6-4) (Pharmaceutical Formulation and Development) 567 275 การวางแผนและกระบวนการผลิตระดับอุตสาหกรรม 2(1-3-2) (Pharmaceutical Production Planning and Processing) รายวิชาเลือกวิชาชีพสาขาวิทยาการทางเภสัชศาสตร จํานวนไมนอยกวา 4 หนวยกิต เลือก  เรียนจากรายวิชาดังนี้ 561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4) (Nutrition and Nutritional Therapy) 561 243 การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของยา 3(3-0-6) (Drug Biotransformation) 561 244 เภสัชวิทยาจีโนม 2(2-0-4) (Pharmacogenomics) 561 302 ความปลอดภัยของอาหารและน้ําดื่ม 3(1-6-2) (Safety of Foods and Drinking Water) 561 311 เทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลสําหรับเภสัชกร 3(2-3-4) (Molecular Biotechnology for Pharmacists) 564 235 การแยกเพื่อการวิเคราะหเภสัชภัณฑ 3(2-3-4) (Analytical Separation of Pharmaceuticals ) 564 236 วิธีพิเศษในการวิเคราะหยา 3(2-3-4) (Special Methods in Medicinal Analysis) 564 237 เภสัชวิเคราะห 4(2-6-4) (Pharmaceutical Analysis) 564 238 การวิเคราะหยาในสารชีวภาพ 3(2-3-4) (Medicinal Analysis in Biologicals) 564 239 หัวขอปจจุบันของวิทยาการทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Current Topics in Pharmaceutical Sciences) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 24. 23 564 240 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร 2(2-0-4) (Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences) 564 241 การสังเคราะหยา 3(2-3-4) (Pharmaceutical Synthesis) 564 242 การเรียนรูเคมีทางยาโดยใชปญหาเปนฐาน 2(2-0-4) (Problem-Based Learning in Medicinal Chemistry) 564 243 เคมีทางยาของยาใหม 2(2-0-4) (Medicinal Chemistry of New Drugs) 564 244 เมแทบอลิซึมของยาเชิงเคมี 2 (2-0-4) (Chemical Aspects in Drug Metabolism) 564 245 การอธิบายโครงสรางของอินทรียสารดวยวิธีทางสเปกโทรเมตรี 3(3-0-6) (Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds) 565 359 พิษวิทยาภาวะแวดลอม 3(2-3-4) (Environmental Toxicology) 565 360 เภสัชวิทยาระดับเซลลและโมเลกุล 3(3-0-6) (Cellular and Molecular Pharmacology) 565 361 การทดลองทางเภสัชวิทยา 2(1-3-2) (Experimental Pharmacology) 565 362 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท 2(2-0-4) (Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs) 565 363 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4) (Pharmacology of Cardiovascular Drugs) 565 364 เภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ตอระบบทางเดินอาหาร 2(2-0-4) (Pharmacology of Gastrointestinal Drugs) 565 365 ยาใหม 2(2-0-4) (New Drugs) 565 366 การประเมินฤทธิ์ของยา 2(1-3-2) (Evaluation of Drug Action) 566 222 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชศาสตร 3(2-3-4) (Separation Technique in Pharmaceutical Sciences) 566 223 การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Research and Development in Medicinal Plants) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552
  • 25. 24 566 224 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3-4) (Biotechnology of Medicinal Plants) 566 225 เภสัชเวทประยุกต 2(2-0-4) (Applied Pharmacognosy) 566 226 พฤกษบําบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ 2(2-0-4) (Evidence Base Phytotherapy) 566 227 ยาสมุนไพรพื้นบาน 3(2-3-4) (Indigenous Medicines) 567 276 ระบบนําสงยาแบบใหม 2(2-0-4) (Novel Drug Delivery System) 567 277 วิทยาการเครื่องสําอาง 4(2-6-4) (Cosmeticology) 567 278 การบริหารการผลิต 4(3-3-6) (Manufacturing Management) 567 279 ระบบควบคุมและประกันคุณภาพ 4(3-3-6) (Quality Control and Quality Assurance Systems) 567 280 การเคลือบยาเม็ด 3(2-3-4) (Tablet Coating) 567 281 วิทยาการพอลิเมอรเบื้องตนทางเภสัชกรรม 2(2-0-4) (Introductory Polymer Sciences in Pharmacy) 567 282 อนามัยอุตสาหกรรม 4(3-3-6) (Industrial Hygiene) 567 283 นาโนเทคโนโลยีทางเภสัชศาสตร 3(3-0-6) (Pharmaceutical Nanotechnology) 567 284 พื้นฐานทางวิศวเภสัชกรรม 2(2-0-4) (Basics in Pharmaceutical Engineering) 567 285 รังสีเภสัชภัณฑ 2(2-0-4) (Radiopharmaceuticals) สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 12/2552 วันที่ 9 ธันวาคม 2552