SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
คลื่น คลื่นเกิดจากการส่งต่อพลังงานของอนุภาคตัวกลางจากอนุภาคหนึ่งไปยังอนุภาคที่อยู่ข้างเคียง ขณะที่เกิดคลื่นขึ้นทุกอนุภาคบน ตัวกลางก็จะสั่นกลับมารอบตำแหน่งสมดุลโดยไม่มีการเคลื่อนที่ตามคลื่นไป ลักษณะคลื่นแบบนี้เรียกว่า คลื่นกล (mechanical waves) เช่นเมื่อมีการรบกวนบนผิวน้ำนิ่งโดยการโยนก้อนหินลงไปในสระ อนุภาคของน้ำจะสั่นขึ้นและลงรอบตำแหน่งสมดุล ทำให้ เกิดเป็นคลื่นขึ้น โดยคลื่นจะแผ่จากตำแหน่งที่ก้อนหินกระทบผิวน้ำออกไปรอบ ๆ ตำแหน่งนั้นทุกทิศทางเป็นรูปวงกลม ติดต่อกันไป
1.ชนิดของคลื่น
รูปที่ 1 แสดงคลื่นตามขวางในเส้นเชือกรูปที่ 1 แสดงคลื่นตามขวางในเส้นเชือก
ข. คลื่นตามยาว (longitudinal waves) เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในตัวกลางแล้วทำให้อนุภาคในตัวกลางเคลื่อนที่ตามแนวขนานกับ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง , คลื่นในสปริง เป็นต้น ซึ่งจากรูปเป็นคลื่นในท่ออากาศที่เกิดจากอัดลูกสูบที่ ปลายข้างหนึ่ง ของท่อแล้วทำให้อนุภาคของอากาศในท่อจะสั่นในแนวซ้ายขวารอบตำแหน่งสมดุลทำให้เกิดส่วนอัดและส่วนขยาย ซึ่งจะขนานกับ ทิศทางของอัตราเร็ว ของการเคลื่อนที่ของคลื่น (v)
รูปที่ 2 แสดงคลื่นตามยาวของอนุภาคในท่อ
2.ส่วนประกอบของคลื่น รูปที่ 3 แสดงส่วนประกอบของคลื่น
5. ความถี่ (Frequency) คือ จำนวนรอบที่อนุภาคสั่นใน 1 วินาที มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หรือหรือ เฮิรตซ์ (Hertz , Hz) แทนด้วย     โดยที่คาบและความถี่มีความสัมพันธ์ดังนี้
สำหรับในตัวกลางชนิดเดียวกัน อัตราเร็วคลื่นจะมีค่าคงที่ (v คงที่ )โดย ความยาวคลื่นจะแปรผกผันกับความถี่ นั่นคือ ถ้าความถี่สูง ความยาวคลื่นจะสั้น ส่วนคลื่นที่มีความถี่ต่ำ ความยาวคลื่นจะยาวขึ้น
3.อัตราความเร็วคลื่นในตัวกลางชนิดต่างๆ
4.ฟังค์ชันคลื่น  	คลื่นมีลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคเป็นแบบฮาร์โมนิก ดังนั้นการกระจัดของอนุภาค y จะมีรูปแบบเหมือนสมการการเคลื่อนที่ แบบฮาร์โมนิกด้วย ดังนั้นถ้าพิจารณาการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยให้เฟสเริ่มต้นเท่ากับศูนย์ สมการการเคลื่อนที่ของคลื่นหรือเรียกว่า ฟังค์ชันคลื่น ซึ่งก็คือฟังค์ชันที่แสดงตำแหน่งของอนุภาคใดอนุภาคหนึ่งบนคลื่น
5.การสะท้อนของคลื่น รูปแสดง 5 ก. แสดงการสะท้อนที่ตึงปลายแน่น
	เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาถึงจุดตรึง คลื่นจะส่งแรงในทิศลงกระทำต่อสิ่งที่ยึดเชือก โดยสิ่งที่ยึดเชือกนี้ไม่เคลื่อนที่ และจะส่งแรง ปฏิกิริยากระทำต่อเชือกในทิศทาง ตรงข้าม แรงนี้มีผลทำให้การกระจัดของคลื่นสะท้อนอยู่ในทิศทางตรงข้ามกับ คลื่นตกกระทบ หรืออาจ กล่าวได้ว่าเฟสของคลื่นที่สะท้อนออกมา มีเฟสตรงข้าม กับคลื่นตกกระทบ และถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงานในขณะตกกระทบ จะได้ อัมปลิจูดของคลื่นทั้งสองเท่ากัน  ข. การสะท้อนที่ปลายอิสระ(Free End)  เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาถึงปลายอิสระ ซึ่งปลายเชือกนี้สามารถเคลื่อนที่ได้ในแนวดิ่ง จะไม่ทำให้เกิดแรงปฏิกิริยากระทำกับเส้นเชือก ทำให้การกระจัดของคลื่นสะท้อนอยู่ในทิศทางเดียว กับคลื่นตกกระทบ หรืออาจกล่าวได้ว่า คลื่นสะท้อนมีเฟสเหมือนกับคลื่นตกกระทบ และถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงานในขณะตกกระทบ จะได้อัมปลิจูดของคลื่นทั้งสองเท่ากัน
6.การสะท้อนทับของคลื่น  ถ้าคลื่น 2 ขบวน เคลื่อนที่มาซ้อนกัน โดยถ้าคลื่นทั้งสองมีเฟสตรงกัน คลื่นรวมจะมีอัมปลิจูดสูงขึ้น เรียกการรวมกันของคลื่น แบบนี้ว่าการแทรกสอดแบบเสริมกัน (Constructive Interference) แต่ถ้าคลื่นทั้งสองมีเฟสตรงข้ามกัน คลื่นรวมจะมีอัมปลิจูด ลดลงเรียกการรวมกันแบบนี้ว่า การแทรกสอดแบบหักล้าง (Destructive Interference) ดังรูป รูปที่ 6 ก คลื่น 2 ขบวน เคลื่อนที่มารวมกันแบบเสริมกันและหักล้างกัน
7.การแทรกสอดคลื่นนิ่ง
การแทรกสอดนี้เป็นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดเป็นคลื่นนิ่งหรือ คลื่นนิ่งที่เวลาใด ๆ เป็นดังรูป รูปที่ 7 แสดงคลื่นนิ่ง ตำแหน่งบัพ (Nodes) และตำแหน่งปฏิบัพ (Antinodes)
รูปที่ 8 แสดงตำแหน่งปฏิบัพ (Antinodes) และบัพ (Nodes) ของคลื่นนิ่งในเส้นเชือก
รูปที่ 10 แสดงคลื่นนิ่งในท่อ
จัดทำโดย 1.นาย ฤทธิชัย กันชม                 เลขที่ 5 2.นาย อรรถชัย ใจยุ                    เลขที่ 6 3.นางสาว จอมขวัญ ถุงแก้ว       เลขที่ 8 4.นางสาว ธาราพร กาศสมบรูณ์ เลขที่ 10 5.นางสาว นิชา ไชยพงษ์วิสุตษ์   เลขที่ 11 6.นางสาว สุขฌามาศ คิดเห็น      เลขที่ 15 7.นางสาว จิราพร พลีดี                เลขที่ 24 ม.5/2

Contenu connexe

En vedette

เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์Niraporn Pousiri
 

En vedette (6)

เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
 

Similaire à 568

ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1sutham
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptxssuser4e6b5a1
 

Similaire à 568 (18)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
wave part1
wave part1wave part1
wave part1
 
20012554 1005492525
20012554 100549252520012554 1005492525
20012554 1005492525
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น2
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
1.ความหมายและชนิดของคลื่น.pptx
 
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่นฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
ฟิสิกส์ เรื่องคลื่น
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

Plus de Chakkrawut Mueangkhon

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 

Plus de Chakkrawut Mueangkhon (20)

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
 
Akaranee
AkaraneeAkaranee
Akaranee
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
heat
heatheat
heat
 
fluid
fluidfluid
fluid
 

568