SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  86
Télécharger pour lire hors ligne
ความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถ
ในการสื่อสาร
ความสามารถ
ในการคิด
ความสามารถ
ในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถ
ในการแก้ปัญหา
สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
(Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on
the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008))
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
(Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on
the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008) )


















สำนักทดสอบทางการศึกษา 
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีที่พิมพ์	 :	พ.ศ. 2555
จำนวนพิมพ์	 :	500 เล่ม
ลิขสิทธิ์เป็นของ	 :	สำนักทดสอบทางการศึกษา
		 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
		 กระทรวงศึกษาธิการ
		 โทรศัพท์	 0-2288-5783
		 โทรสาร	 0-2281-6236
เว็บไซต์	 :	http://bet.obec.go.th
พิมพ์ที่	 :	โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
		 314-316 ซอยบ้านบาตร ถนนบำรุงเมือง แขวงบ้านบาตร
		 เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม. 10100
คำนำ


	 ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้สมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียนเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก นอกเหนือจากคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจึงเป็นกลไกสำคัญอัน
หนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยในหลักสูตรฯได้กำหนดสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนไว้ 5 สมรรถนะ
ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความ
สามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งสำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการประเมินสมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรฯของครูผู้สอนในระดับสถานศึกษา จึงได้พัฒนาเครื่องมือที่มีคุณภาพ
และน่าเชื่อถือในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนเพื่อใช้ในระดับสถานศึกษาในแต่ละระดับช่วงชั้น ได้แก่
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งมีรูปแบบการ
ประเมินที่หลากหลายวิธีการ โดยให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
เช่น ให้ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน เป็นต้น ดังนั้น สำนัก
ทดสอบทางการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเครื่องมือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ซึ่งประกอบ
ด้วยคู่มือและเครื่องมือในการประเมินที่ได้พัฒนาขึ้นจะมีประโยชน์อย่างยิ่งในการประเมินและพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียนในทุกระดับชั้นต่อไป


สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรกฎาคม 2554
สารบัญ



เรื่อง		 หน้า
1.	 วัตถุประสงค์ในการประเมิน	 1	
2.	 ฐานคิดของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน	 1	
3.	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551	 3	
4.	 แนวทางการประเมิน	 4
5.	 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน	 4
6.	 วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ข้อมูล	 11
7.	 เกณฑ์การตัดสินและการแปลความหมาย	 14
ภาคผนวก	 15
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน	 17
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/1 (คู่ขนาน)	 44
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/2 (คู่ขนาน)	 50
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/3 (คู่ขนาน)	 56
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/1 (คู่ขนาน)	 62
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/2 (คู่ขนาน)	 66
_	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/3 (คู่ขนาน)	 70
คณะทำงาน	 75
คำชี้แจง

	 เอกสารประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้แก่สถานศึกษาใน

การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรฯ ใน 5 สมรรถนะ ได้แก่ ความสามารถในการ
สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยเอกสารการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนฉบับนี้
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
	 ส่วนที่ 1 คู่มือการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย สาระสำคัญเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ในการประเมิน ฐานคิดของการสร้างและพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
รายละเอียดและคำอธิบายตัวชี้วัดของแต่ละสมรรถนะของผู้เรียน แนวทางการประเมิน กรอบโครงสร้าง
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน วิธีการประเมินและการบันทึกข้อมูล และเกณฑ์การตัดสินและการแปล

ความหมาย 
	 ส่วนที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย เครื่องมือประเมิน

3 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูประเมินผู้เรียน 2) แบบประเมิน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (การประเมินพฤติกรรมและการประเมิน
ทัศนคติ) และ 3) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน
	 ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ผู้ประเมิน

ควรทำความเข้าใจกับสาระสำคัญของแต่ละเรื่องในเอกสารฉบับนี้อย่างละเอียดก่อนที่จะนำไปประเมิน

ผู้เรียน
1
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3)

	 การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นการประเมินสมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียนที่จำเป็นในการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรูปแบบของการประเมิน
จากผู้ประเมินหลายคน (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Multi-
method Approach) โดยมีรายละเอียดในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนดังต่อไปนี้

1. วัตถุประสงค์ในการประเมิน	 
	 เพื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นของผู้เรียนสำหรับใช้ในการปรับปรุงและ
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ฐานคิดของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
	 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีฐานคิดมาจากแนวคิดของ Prof. David C.
McCelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ที่กล่าวไว้ว่า “สมรรถนะ คือ บุคลิกลักษณะที่
ซ่อนอยู่ภายในปัจเจกบุคคล ซึ่งผลักดันให้บุคคลนั้น สามารถสร้างผลการปฏิบัติงานที่ดี หรือปฏิบัติงาน
ที่รับผิดชอบได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด” ซึ่งความหมายในบริบทของผู้เรียน สมรรถนะ หมายถึง
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่

ทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้หรือปฏิบัติงานหรือสร้างผลงานได้โดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงานอื่นๆ ในชั้นเรียน
	 องค์ประกอบของสมรรถนะ
	 McClelland ได้กล่าวว่า สมรรถนะประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน สรุปได้
ดังนี้(McClelland , 1973 ; สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ , 2547 ; สำนักงาน ก.พ. , 2548 ; รัชนีวรรณ
วนิชย์ถนอม, 2547; ชนาธิป ทุ้ยแป, 2551)
	 1.	 ทักษะ (Skills) หมายถึง สิ่งที่บุคคลกระทำได้ดี และฝึกปฏิบัติเป็นประจำจนเกิดความ
ชำนาญ เช่น ทักษะของหมอฟันในการอุดฟัน โดยไม่ทำให้คนไข้รู้สึกเสียวเส้นประสาท
2
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
	 2.	 ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้เฉพาะด้านของบุคคล เช่น ความรู้ภาษา
อังกฤษ ความรู้ด้านการบริหารต้นทุน เป็นต้น
	 3.	 ภาพลักษณ์ภายในบุคคล (Self-Image / Self-concept) หมายถึง ทัศนคติ ค่านิยม
และความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของตนเอง หรือสิ่งที่บุคคลเชื่อว่าตนเองเป็น เช่น Self-
confidence คนที่มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง จะเชื่อว่าตนเองสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้
	 4.	 คุณลักษณะภายในหรืออุปนิสัย (Traits) หมายถึง บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล
เป็นสิ่งที่อธิบายถึงบุคคลนั้น เช่น เป็นคนที่น่าเชื่อถือ และไว้วางใจ หรือมีลักษณะเป็นผู้นำ เป็นต้น
	 5.	 แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง แรงขับภายใน ซึ่งทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่มุ่งสู่สิ่งที่
เป็นเป้าหมาย เช่น บุคคลที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Orientation) มักชอบตั้งเป้าหมายที่
ท้าทาย และพยายามทำงานสำเร็จตามเป้าที่ตั้งไว้ ตลอดจนพยายามปรับปรุงการทำงานของตนเอง
ตลอดเวลา
	 โดยความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ของสมรรถนะนั้นนิยมทำการอธิบายด้วยโมเดล
ภูเขาน้ำแข็ง (Iceberg Model) ดังแผนภาพที่ 1
ปรับปรุงจาก : สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ , 2547
Skills, Knowledge Skills
Knowledge
Self-Image
Self-ImageTraits
Traits
Motives
Traits
Motives
ʋǹ·ÕèàËç¹ä´Œ§‹ÒÂ
ʋǹ·Õ請͹ÍÂÙ‹
ã¹áµ‹Åкؤ¤Å
3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
	 พุทธศักราช 2551
	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ที่ใช้ เป็นกรอบในการประเมินประกอบด้วย 5 สมรรถนะ 16 ตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดดังนี้
สมรรถนะ
 คำอธิบาย
จำนวน
ตัวชี้วัด
1	ความสามารถ

	 ในการสื่อสาร 
ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลก
เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ
โดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
4
2	ความสามารถ

	 ในการคิด
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด 
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ 
เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ
ตนเอง และสังคมได้อย่างเหมาะสม
2
3	ความสามารถ

	 ในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม
แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และ
มีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง
สังคมและสิ่งแวดล้อม
2
4	ความสามารถ

	 ในการใช้ทักษะ

	 ชีวิต
ความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน
และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
บุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม 
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ
การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
6
5 ความสามารถ

	 ในการใช้

	 เทคโนโลยี
ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน 
การเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง
เหมาะสมและมีคุณธรรม
2
หมายเหตุ	 รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัดในแต่ละสมรรถนะระบุไว้ในรายละเอียดโครงสร้างเครื่องมือ

	 ประเมิน ในหัวข้อที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
4
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. แนวทางการประเมิน
	 แนวทางการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ใช้ในรูปแบบของการประเมินจาก

หลายแหล่ง (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Multi-method)
โดยรายละเอียด ดังแผนภาพที่ 2 
5. เครื่องมือที่ใช้ในประเมิน
	 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี
จำนวน 3 ฉบับ คือ 
	 ฉบับที่ 1 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน

เป็นแบบประเมินที่มีลักษณะเป็นเกณฑ์คุณภาพ (Rubric) โดยในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์
แบบแยกส่วน (Analytic Criteria) ซึ่งแบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม (3 คะแนน)
ระดับดี (2 คะแนน) ระดับพอใช้หรือผ่านเกณฑ์ (1 คะแนน) และระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์

(0 คะแนน) 
Skills
Knowledge
ʋǹ·ÕèàËç¹ä´Œ
ʋǹ·Õ請͹ÍÂÙ‹
ã¹áµ‹Åкؤ¤Å Traits, Motives, Self-Image
¼ÙŒàÃÕ¹»ÃÐàÁÔ¹µ¹àͧ (Rating scale)
à¾×è͹»ÃÐàÁÔ¹ (Checklist)
¤ÃÙ»ÃÐàÁÔ¹ (Checklist)
5
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
	 ตัวอย่าง เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) 
	 สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
	 ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม 
(3 คะแนน)
ดี 
(2 คะแนน)
พอใช้ / 
ผ่านเกณฑ์ 
(1 คะแนน)
ปรับปรุง/
ไม่ผ่านเกณฑ์
(0 คะแนน)
1. เลือกและใช้
เทคโนโลยีในการ
เรียนรู้อย่าง
สร้างสรรค์และมี
คุณธรรม
เลือกและใช้เทคโนโลยีที่
เหมาะสมเพื่อลดขั้น
ตอน เวลา ทรัพยากร
ในการทำงานและ
นำเสนอผลงานที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเอง
และสังคม โดยมี
ความหลากหลาย 
แปลกใหม่ น่าสนใจ 
ไม่ลอกเลียนแบบ 
ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
และสามารถแนะนำผู้อื่นได้
เลือกและใช้
เทคโนโลยี
ที่เหมาะสมเพื่อ
ลดขั้นตอน เวลา
ทรัพยากร ในการ
ทำงานและ
นำเสนอผลงานที่
เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองและสังคม
โดยไม่ทำให้ผู้อื่น
เดือดร้อน ไม่มี
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม 
เลือกและใช้
เทคโนโลยีเพื่อลด
ขั้นตอน เวลา
ทรัพยากร ในการ
ทำงานและ
นำเสนอผลงานที่
เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองหรือสังคม 
เลือกและใช้
เทคโนโลยีเพื่อลด
ขั้นตอน เวลา
ทรัพยากร ในการ
ทำงานและ
นำเสนอผลงานได้
โดยต้องมีผู้แนะนำ
	 ฉบับที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง

มีลักษณะเป็นมาตรวัดประมาณค่า (Rating scale) โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน (สพฐ.ได้จัดทำไว้เป็น
ฉบับคู่ขนาน 3 ฉบับเพื่อให้ครูผู้สอนสามารถเลือกนำไปใช้ในการประเมินได้อย่างหลากหลาย) คือ
	 ตอนที่ 1 การวัดพฤติกรรมการปฏิบัติหรือคุณลักษณะของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบ
มาตรวัดประมาณค่า 3 ระดับ คือ ไม่เคยปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ปฏิบัติบ่อยครั้ง โดยเกณฑ์การให้
คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ไม่เคยปฏิบัติเลยได้ 0 คะแนน ปฏิบัติบางครั้ง ได้ 1 คะแนน
และปฏิบัติบ่อยครั้ง ได้คะแนน 2 คะแนน
	 ตัวอย่าง แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติหรือคุณลักษณะของนักเรียน 
	 สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
รายการพฤติกรรม
ความถี่ของการปฏิบัติ
ไม่เคย 
(0)
บางครั้ง
(1)
บ่อยครั้ง
(2)
1. นักเรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้
 
 
 
2. นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้น/ ค้นคว้า/ รวบรวมความรู้
 
 
 
3……
6
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
	 ตอนที่ 2 การวัดทัศนคติหรือความคิดเห็นของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบมาตรวัด
ประมาณค่า 5 ระดับ คือ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เฉยๆ เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง

โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ข้อความทางบวก ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

ได้ 1 คะแนน ไม่เห็นด้วย ได้ 2 คะแนน เฉยๆได้ 3 คะแนน เห็นด้วย ได้ 4 คะแนน เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ได้ 5 คะแนน ส่วนข้อความทางลบ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 5 คะแนน ไม่เห็นด้วย ได้ 4 คะแนน เฉยๆ
ได้ 3 คะแนน เห็นด้วย ได้ 2 คะแนน เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 1 คะแนน 
	 ตัวอย่าง แบบวัดทัศนคติหรือความคิดเห็นของนักเรียน 
	 สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
รายการ
ระดับความคิดเห็น
ไม่เห็นด้วย
อย่างยิ่ง
(1)
ไม่
เห็นด้วย 
(2)
เฉยๆ 

(3)
เห็นด้วย 

(4)
เห็นด้วย
อย่างยิ่ง 
(5)
1. เทคโนโลยีมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้
 
 
 
 
 
2. นักเรียนชอบที่ครูใช้เทคโนโลยีใน
การจัดการเรียนการสอน

 
 
 
 
3.....
 
 
 
 
 
	 ฉบับที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน มีลักษณะเป็นแบบ

ตรวจสอบรายการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออก (Checklist) โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อรายการ
มีดังนี้ คือ ไม่มี ได้ 0 คะแนน และ มี ได้ 1 คะแนน ( สพฐ.ได้จัดทำไว้เป็นฉบับคู่ขนาน 3 ฉบับเพื่อให้
ครูผู้สอนสามารถเลือกนำไปใช้ในการประเมินได้อย่างหลากหลาย)
	 ตัวอย่าง แบบประเมินสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน
	 สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
รายการพฤติกรรม
 พฤติกรรมที่เห็น
มี
 ไม่มี
1. เพื่อนของนักเรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้
 
 
2. เพื่อนของนักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในสืบค้น/ ค้นคว้า/ รวบรวมความรู้
 
 
3. .....
7
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
รายละเอียดของโครงสร้างเครื่องมือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 
ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่1 สำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน
สมรรถนะ
 ตัวชี้วัด
 ลักษณะ
เครื่องมือ
 จำนวนข้อ
1.	ความสามารถในการ
สื่อสาร 
1.1	 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
ด้วยการพูดและการเขียน 
แบบประเมิน
คุณภาพ
(Rubric)
4
1.2	 พูดเจรจาต่อรอง
 2
1.3	 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
 2
1.4	 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
 1
2.	ความสามารถในการคิด
 2.1	 คิดพื้นฐาน
 3
2.2	 คิดขั้นสูง
 3
3.	ความสามารถในการ
แก้ปัญหา 
3.1	 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผล 
14
3.2	 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา
 2
4.	ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต 
4.1	 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย

ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1
4.2	 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
3
4.3	 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข
7
4.4	 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้งใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
1
4.5	 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และสภาพแวดล้อม
2
4.6	 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่ง
ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
2
5.	ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี 
5.1	 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
4
5.2	 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 
 7
รวมทั้งสิ้น
 58
8
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 2 สำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (ภาคปฏิบัติ)
สมรรถนะ
 ตัวชี้วัด
ลักษณะ
เครื่องมือ
จำนวนข้อ
1. ความสามารถในการ
สื่อสาร 
1.1	ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
ด้วยการพูดและการเขียน 
1.2	พูดเจรจาต่อรอง
1.3	เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
1.4	เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
แบบมาตรวัด
ประมาณค่า
(Rating scale)
3 ระดับ
8
2. ความสามารถในการคิด 2.1	คิดพื้นฐาน
 8
2.2 คิดขั้นสูง
3. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา 
3.1	ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผล
6
3.2	ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต 
4.1	นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
12
4.2	เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
4.3	ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข
4.4	จัดการกับปัญหาและความขัดแย้งใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.5	ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และสภาพแวดล้อม
4.6	หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ 
ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี 
5.1	เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเอง
และสังคม
6
5.2	มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 
รวมทั้งสิ้น
 40
9
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 2 สำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (ภาคความรู้สึก)
สมรรถนะ
 ตัวชี้วัด
ลักษณะ
เครื่องมือ
จำนวนข้อ
1.	 ความสามารถในการ
สื่อสาร 
1.1	ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของ
ตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน
แบบมาตรวัด
ประมาณค่า
(Rating scale)
5 ระดับ
6
1.2	พูดเจรจาต่อรอง
1.3	เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
1.4	เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
 2.1	คิดพื้นฐาน
 6
2.2	คิดขั้นสูง
3.	 ความสามารถในการ
แก้ปัญหา 
3.1	ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและ
สรุปผล 
6
3.2	ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการ
ใช้ทักษะชีวิต 
4.1	นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
6
4.2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
4.3	ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข
4.4	จัดการกับปัญหาและความขัดแย้ง
ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.5	ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคมและสภาพแวดล้อม
4.6	หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ 
ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5.	 ความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยี
5.1	การเลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาตนเองและสังคม

 6
5.2	มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
รวมทั้งสิ้น
 30
10
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 3 สำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน
สมรรถนะ
 ตัวชี้วัด
ลักษณะ
เครื่องมือ
จำนวนข้อ
1.	 ความสามารถในการ
สื่อสาร
1.1	 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของ
ตนเองด้วยการพูดและการเขียน 
แบบ
ตรวจสอบ
รายการเกี่ยวกับ
พฤติกรรมที่
แสดงออก
(Checklist)
16
1.2	 พูดเจรจาต่อรอง
1.3	 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
1.4	 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
 2.1	 คิดพื้นฐาน
 8
2.2	 คิดขั้นสูง
3.	 ความสามารถในการแก้
ปัญหา 
3.1	 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ
วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการ
แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา 
ตรวจสอบและสรุปผล 
8
3.2	 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต 
4.1	 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
30
4.2	 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง
4.3 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มีความสุข
4.4 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้ง
ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.5 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคมและสภาพแวดล้อม
4.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ 
ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5 ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี 
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
8
5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 
รวมทั้งสิ้น
 70
11
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ข้อมูล
	 6.1	วิธีการประเมิน ชุดแบบประเมินนี้ เป็นการประเมินที่มุ่งใช้รูปแบบของการประเมินจาก
หลายแหล่ง ได้แก่ ครูผู้สอนประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน โดยใช้เครื่องมือ
ประเมินที่หลากหลาย ซึ่งได้แก่ ครูผู้สอนประเมินผู้เรียนใช้แบบประเมิน Rubric ผู้เรียนประเมินตนเอง
ใช้มาตรวัดประมาณค่า (Rating scale) และเพื่อนประเมินผู้เรียนใช้แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
ดังแผนภาพต่อไปนี้ 
หมายเหตุ	 ในกรณีที่เพื่อนประเมินผู้เรียนให้ครูผู้สอนทำการสุ่มนักเรียน 1 ต่อ 1 โดยไม่ให้นักเรียนทำการ

	 ประเมินซึ่งกันและกัน

	 6.2	การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ
		 1)	 การวิเคราะห์ข้อมูลในเครื่องมือแต่ละฉบับในแต่ละสมรรถนะ มีขั้นตอนการ
วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละฉบับดังนี้ คือ นำผลการประเมินในแต่ละข้อรายการของพฤติกรรมบ่งชี้ของ
แต่ละสมรรถนะมารวมกัน แล้วแปลงเป็นคะแนนร้อยละ เพื่อเตรียมที่จะนำไปประมวลผลร่วมกับ
เครื่องมือฉบับอื่นๆ ต่อไป โดยมีสูตรในการคำนวณ ดังต่อไปนี้

	 คะแนนรวมร้อยละ = 

	 ตัวอย่างที่ 1 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน 
	 สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 
เลขที่
 ชื่อ-สกุล
ตัวชี้วัดที่ 1
 ตัวชี้วัดที่ 2
 ตัวชี้วัดที่ 3
 ตัวชี้วัดที่ 4
คะแนน
รวม
คะแนน
ร้อยละ
พฤติกรรมบ่งชี้
 พฤติกรรมบ่งชี้
 พฤติกรรมบ่งชี้
 พฤติกรรมบ่งชี้
1
 2
 3
 4
 1
 2
 1
 2
 1
1
 ด.ช. เอ
 2
 2
 1
 3
 2
 2
 2
 3
 2
 19
 70.37
2
 ด.ญ. บี
 1
 1
 2
 2
 1
 1
 2
 2
 1
 13
 48.0
คะแนนรวมที่ได้
คะแนนเต็ม
X 100
à¾×è͹»ÃÐàÁÔ¹
(Checklist)
»ÃÐàÁÔ¹µ¹àͧ
(Rating scale)
¼ÙŒàÃÕ¹
¤ÃÙ»ÃÐàÁÔ¹
(Rubric)
12
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
	 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 9 ข้อรายการ โดยใน
แต่ละข้อรายการพฤติกรรมบ่งชี้มีคะแนนเต็ม 3 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 9 x 3 = 27 คะแนน ดังนั้น
	 ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 19 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (19/27) x 100 = 70.37 
	 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 13 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (13/27) x 100 = 48.00 
	 ตัวอย่างที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (แบบประเมินพฤติกรรม)
	 สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 
เลขที่
 ชื่อ-สกุล
รายการพฤติกรรม
 คะแนน
รวม
คะแนน
ร้อยละ
1
 2
 3
 4
 5
 6
 7
 8
1
 ด.ช. เอ
 1
 2
 2
 2
 2
 2
 2
 1
 14
 88.0
2
 ด.ญ. บี
 1
 1
 1
 2
 2
 2
 2
 1
 12
 75.0
	 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 8 ข้อรายการ โดยใน
แต่ละข้อรายการพฤติกรรมบ่งชี้มีคะแนนเต็ม 2 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 8 x 2 = 16 คะแนน ดังนั้น
	 ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 14 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (14/16) x 100 = 88.0 
	 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 12 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (12/16) x 100 = 75.0 
	 ตัวอย่างที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (แบบประเมินทัศนคติ) 
	 สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 
เลขที่
 ชื่อ-สกุล
รายการ
 คะแนน
รวม
คะแนน
ร้อยละ
1
 2
 3
 4
 5
 6
1
 ด.ช. เอ
 2
 3
 4
 5
 2
 1
 17
 57.0
2
 ด.ญ. บี
 4
 4
 3
 4
 5
 2
 22
 73.0
	 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 6 ข้อรายการ โดยใน
แต่ละข้อรายการมีคะแนนเต็ม 5 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 6 x 5 = 30 คะแนน ดังนั้น
	 ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 17 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (17/30) x 100 = 57.0 
	 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 22 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (22/30) x 100 = 73.0 
	 ตัวอย่างที่ 4 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน 
	 สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 
เลขที่
 ชื่อ-สกุล
รายการพฤติกรรม
 คะแนน
รวม
คะแนน
ร้อยละ
1
 2
 3
 4
 5
 6
 7
 8
 9
 10
 11
 12
 13
 14
 15
 16
1
 ด.ช. เอ
 1
 1
 1
 1
 1
 0
 1
 1
 1
 1
 0
 1
 1
 0
 0
 0
 11
 69.0
2
 ด.ญ. บี
 1
 0
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 1
 14
 88.0
13
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลรวมของผลคูณของน้ำหนักองค์ประกอบกับคะแนนร้อยละของแต่ละแหล่งข้อมูล
4
(2 x คะแนนครูประเมิน) + (1 x คะแนนประเมินตนเอง) + (1 x คะแนนเพื่อนประเมิน)
4
	 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 16 ข้อรายการ โดยใน
แต่ละข้อรายการมีคะแนนเต็ม 1 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 16 x 1 = 16 คะแนน ดังนั้น
	 ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 11 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (11/16) x 100 = 69.0 
	 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 14 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (14/16) x 100 = 88.0 
หมายเหตุ	ในส่วนของแบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเองที่ประกอบไปด้วยผลการ

	 ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินพฤติกรรม และประเมินทัศนคติ ให้นำคะแนนรวมร้อยละทั้ง

	 2 ส่วน มาคำนวณหาค่าเฉลี่ย เพื่อสรุปเป็นคะแนนร้อยละของแบบประเมินสำหรับผู้เรียน

	 ประเมินตนเอง และนำไปประมวลผลในระดับสมรรถนะต่อไป
	 2)	 การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละสมรรถนะ มีขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละสมรรถนะ
ดังนี้ คือ นำคะแนนรวมร้อยละจากแหล่งการประเมินต่างๆ ซึ่งได้แก่ ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียน
ประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน มาคูณกับค่าน้ำหนักความสำคัญของข้อมูลจากส่วนต่างๆ
แล้วนำค่าที่ได้ไปคำนวณหาค่าเฉลี่ย แล้วนำคะแนนเฉลี่ยที่คำนวณได้ไปเทียบกับเกณฑ์ โดยมีสัดส่วน
หรือน้ำหนักความสำคัญของข้อมูลจากส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้
ครูประเมิน : ผู้เรียนประเมินตนเอง : เพื่อนประเมินผู้เรียน เท่ากับ 2 : 1 : 1 

โดยมีสูตรในการคำนวณดังต่อไปนี้
คะแนนรายสมรรถนะ = 
หรือ
คะแนนรายสมรรถนะ = 

	 ตัวอย่าง สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร 
เลขที่
 ชื่อ-สกุล
 ครูประเมิน
 ประเมินตนเอง
 เพื่อนประเมิน
 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
 ความหมาย
1
 ด.ช. เอ
 70.37
 72.50
 69.0
 70.56
 พอใช้
2
 ด.ญ. บี
 48.0
 74.00
 88.0
 64.50
 พอใช้
	 ตัวอย่างการคำนวณ ในกรณี ด.ช. เอ มีผลการประเมินในสมรรถนะที่ 1 ความสามารถใน
การสื่อสาร จาก 3 แหล่ง ดังนี้
	 1)	 ครูประเมิน เท่ากับ 70.37 
	 2)	 ผู้เรียนประเมินตนเอง (ประเมินพฤติกรรม + ประเมินทัศนคติ) เท่ากับ 
		 (88.0 + 57.0)/2 =72.50 
	 3)	 เพื่อประเมินผู้เรียน เท่ากับ 69.0 
		 ดังนั้น ด.ช. เอ มีคะแนนรายสมรรถนะ เท่ากับ 
		 (2 x 70.37) + (1 x 72.50) + (1 x 69.0) = 70.56
					 4
14
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. เกณฑ์การตัดสินและการแปลผล 
	 เกณฑ์การตัดสินในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครั้งนี้ ผู้พัฒนากำหนดขึ้นบนฐานคิดของแนวคิดทฤษฏีการ
กำหนดจุดตัด (Cut-off Scores) ของนักวิชาการหลายท่าน ได้แก่ แนวคิดของอีเบล (Ebel, 1972)
แองกอฟฟ์ (Angoff, 1971) แกลส(Glass, 1978) สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2522) และสงบ ลักษณะ (2523)
เพื่อให้เกิดความเป็นปรนัยและคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด โดยอาศัยความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง
ประกอบด้วยศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักวิชาการ พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนกรายข้อและรายสมรรถนะ โดยเกณฑ์ในการตัดสินจำแนก
ออกเป็น 2 ระดับ คือ
	 7.1	เกณฑ์การตัดสินรายสมรรถนะ
		 เกณฑ์การตัดสินรายสมรรถนะและการแปลความหมายในแต่ละสมรรถนะได้แบ่ง
ระดับคุณภาพออกเป็น 3 ระดับ คือ ปรับปรุง พอใช้ และดี โดยในแต่ละระดับคุณภาพมีเกณฑ์ในการ
ตัดสินดังต่อไปนี้ 
ระดับคุณภาพ
 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ดี
 มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 75 ขึ้นไป
พอใช้
 มีคะแนนระหว่างร้อยละ 40-74
ปรับปรุง
 มีคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 40
	 7.2	เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะในภาพรวม 
		 เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินในภาพรวมของสมรรถนะ พิจารณาจากระดับ
คุณภาพของแต่ละสมรรถนะทั้ง 5 สมรรถนะ แล้วนำมาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินสมรรถนะในภาพรวม
ได้แบ่งระดับคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ปรับปรุง พอใช้ ดี และดีเยี่ยม โดยในแต่ละระดับคุณภาพ
มีเกณฑ์ในการตัดสินดังต่อไปนี้ 
ระดับคุณภาพ
 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ดีเยี่ยม
 มีผลการประเมินในระดับ ดี ครบทั้ง 5 สมรรถนะ
ดี
 มีผลการประเมินในระดับ ดี 4 สมรรถนะ
พอใช้
 มีผลการประเมินในระดับ ดี 3 สมรรถนะ
ปรับปรุง
 มีผลการประเมินในระดับ ดี น้อยกว่า 3 สมรรถนะ
หมายเหตุ	เพื่อความสะดวกในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของครูผู้สอน สพฐ. ได้จัดทำ

	 โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของโปรแกรม Microsoft excel

	 โดย Download ได้ทางเวป์ไซด์ของ สทศ. http://bet.obec.go.th
15
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาคผนวก
16
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
ในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
ประกอบด้วย
สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร
สมรรถนะที่2ความสามารถในการคิด
สมรรถนะที่3ความสามารถในการแก้ปัญหา
สมรรถนะที่4ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
สมรรถนะที่5ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
17
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน
คำชี้แจงแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียนแบ่งออกเป็น2ส่วนคือ
	ส่วนที่1เกณฑ์คุณภาพในการประเมินสมรรถนะผู้เรียน(Rubric)ใช้สำหรับประเมินสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล
	ส่วนที่2แบบบันทึกผลการประเมินสมรรถนะผู้เรียนสำหรับครู

การบันทึกข้อมูล	ให้ครูผู้สอนทำการประเมินสมรรถนะผู้เรียนแต่ละคนโดยพิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพ(Rubric)ในแต่ละตัวชี้วัดและสมรรถนะ

			ต่อไปนี้แล้วทำการบันทึกผลการประเมินลงในแบบบันทึกผลการประเมินที่แนบมาพร้อมกันนี้โดยมีรายละเอียดในการบันทึก

			ดังนี้
				ถ้า	ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับดีเยี่ยม	ให้กรอกหมายเลข3ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม
					ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับดี		ให้กรอกหมายเลข2ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม
					ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับพอใช้	ให้กรอกหมายเลข1ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม
					ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับปรับปรุง	ให้กรอกหมายเลข0ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล
เลขที่
ชื่อ-สกุล
ตัวชี้วัดที่1
ตัวชี้วัดที่2
ตัวชี้วัดที่3
ตัวชี้วัดที่4
หมายเหตุ
พฤติกรรมบ่งชี้
พฤติกรรมบ่งชี้
พฤติกรรมบ่งชี้
พฤติกรรมบ่งชี้
1
2
3
4
1
2
1
2
1
1
ด.ช.เอ
3
2
3
3
2
2
3
3
3

2
ด.ช.บี
1
1
1
0
1
2
2
1
1

3
ด.ญ.ซี
3
3
3
3
2
2
3
3
3
18
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ส่วนที่1	เกณฑ์คุณภาพในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(Rubric)
สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร
	ตัวชี้วัดที่1ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจความคิดความรู้สึกและทัศนะของตนเองด้วยการพูดและการเขียน
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
1.	พูดถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่าน
ฟังหรือดูด้วยภาษาของ
ตนเองได้
พูดถ่ายทอดความรู้ความ
เข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู
ด้วยภาษาของตนเองได้อย่าง
คล่องแคล่วชัดเจน
พูดถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
จากสารที่อ่านฟังหรือดู
ด้วยภาษาของตนเองได้อย่าง
ชัดเจนแต่ขาดความคล่องแคล่ว
พูดถ่ายทอดความรู้ความ
เข้าใจจากสารที่อ่านฟัง
หรือดูด้วยภาษาของตนเองได้
บ้าง
ไม่สามารถพูดถ่ายทอด
ความรู้ความเข้าใจจากสาร
ที่อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา
ของตนเองได้
2.	พูดถ่ายทอดความคิด
ความรู้สึกและทัศนะของ
ตนเองจากสารที่อ่านฟัง
หรือดูด้วยภาษาของ
ตนเองได้
พูดถ่ายทอดความคิดความรู้สึก
และทัศนะจากสารที่อ่านฟัง
หรือดูตามที่กำหนดได้อย่าง
สมเหตุสมผลคล่องแคล่วชัดเจน
ด้วยภาษาของตนเองได้
พูดถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะจากสารที่
อ่านฟังหรือดูตามที่กำหนด
ได้อย่างมีเหตุผลด้วยภาษา
ของตนเองได้
พูดถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะจากสารที่
อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา
ของตนเองได้บ้างและมี
เหตุผลไม่เพียงพอ
พูดถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะจากสารที่อ่าน
ฟังหรือดูตามแบบ
3.	เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่าน
ฟังหรือดูด้วยภาษาของ
ตนเองได้
เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู
ด้วยภาษาของตนเอง
ได้ใจความครอบคลุมครบถ้วน
และถูกต้องตามหลักการใช้
ภาษา
เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู
ด้วยภาษาของตนเอง
ได้ใจความสำคัญเป็นส่วนใหญ่
แต่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และมี
ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา
วรรคตอนและการเขียนคำ
ไม่เกิน2แห่ง
เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู
ด้วยภาษาของตนเองได้
ใจความสำคัญเป็นบางส่วน
และมีข้อบกพร่องในการใช้
ภาษาวรรคตอนและการ
เขียนคำตั้งแต่3แห่งแต่ไม่
เกิน5แห่ง
เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่อ่าน
ฟังหรือดูตามแบบ
19
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร(ต่อ)
	ตัวชี้วัดที่1ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจความคิดความรู้สึกและทัศนะของตนเองด้วยการพูดและการเขียน(ต่อ)
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
4.	เขียนถ่ายทอดความคิด
ความรู้สึกและทัศนะของ
ตนเองจากสารที่อ่านฟัง
หรือดูด้วยภาษาของ
ตนเองได้
เขียนถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะของตนเอง
จากสารที่อ่านฟังหรือดู
ด้วยภาษาของตนเอง
ได้ใจความครอบคลุมครบถ้วน
และถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา
เขียนถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะของตนเองจาก
สารที่อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา
ของตนเองได้ใจความสำคัญ
เป็นส่วนใหญ่แต่ไม่ครบถ้วน
สมบูรณ์และมีข้อบกพร่อง
ในการใช้ภาษาวรรคตอนและ
การเขียนคำไม่เกิน2แห่ง
เขียนถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะของตนเอง
จากสารที่อ่านฟังหรือดู
ด้วยภาษาของตนเองได้ใจความ
สำคัญเป็นบางส่วนและมีข้อ
บกพร่องในการใช้ภาษา
วรรคตอนและการเขียนคำ
ตั้งแต่3แห่งแต่ไม่เกิน5แห่ง
เขียนถ่ายทอดความคิดความ
รู้สึกและทัศนะของตนเองจาก
สารที่อ่านฟังหรือดูตามแบบ
	ตัวชี้วัดที่2พูดเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
1.พูดเจรจาโน้มน้าวได้
อย่างเหมาะสมตาม
สถานการณ์เพื่อประโยชน์
ต่อตนเองและสังคม
พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ได้สำเร็จทุกสถานการณ์
พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่
เป็นประโยชน์ต่อตนเองและ
สังคมได้สำเร็จบาง
สถานการณ์
พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่
เป็นประโยชน์ต่อตนเองได้
สำเร็จ
พูดเจรจาโน้มน้าวให้ผู้อื่น
คล้อยตามไม่สำเร็จ
2.พูดเจรจาต่อรองได้
อย่างเหมาะสม
ตามสถานการณ์เพื่อประโยชน์
ต่อตนเองและสังคม
พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ได้สำเร็จทุกสถานการณ์
พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ได้สำเร็จบางสถานการณ์
พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น
คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองได้สำเร็จ
พูดเจรจาต่อรองให้ผู้อื่น
คล้อยตามไม่สำเร็จ
20
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร(ต่อ)
	ตัวชี้วัดที่3เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
1.รับรู้ข้อมูลข่าวสาร
ที่เป็นประโยชน์
รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ
ได้ถูกต้องและเหมาะสมด้วย
ตนเองทุกครั้ง
รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ
ได้ถูกต้องและเหมาะสมด้วย
ตนเองเป็นบางครั้ง
รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ
ตามที่ผู้อื่นชี้แนะ
รับข้อมูลข่าวสารทุกประเภท
โดยไม่จำแนกแยกแยะ
2.ตัดสินใจเลือกรับหรือ
ไม่รับข้อมูลข่าวสารได้
อย่างมีเหตุผล
ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง
ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา
ตนเองและส่วนรวมอย่างมี
เหตุผลประกอบในทุกๆครั้ง
ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง
ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา
ตนเองและส่วนรวมอย่างมี
เหตุผลประกอบเป็นบางครั้ง
ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง
ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา
ตนเองหรือส่วนรวมโดยมี
เหตุผลประกอบบางครั้ง
ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารตามความ
ต้องการของตนเองโดยไม่
ไตร่ตรอง
	ตัวชี้วัดที่4เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
1.เลือกใช้วิธีการสื่อสาร
ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึง
ถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่
เหมาะสมและคุ้มค่ากับ
ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย
คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นต่อ
ตนเองและสังคมทุครั้ง
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่
เหมาะสมและคุ้มค่ากับ
ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย
คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นต่อ
ตนเองและสังคมเป็นบางครั้ง
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่
เหมาะสมกับลักษณะข้อมูล
ข่าวสารโดยคำนึงถึงผลที่จะ
เกิดขึ้นต่อตนเองหรือสังคม
เลือกใช้วิธีการสื่อสารกับ
ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย
ไม่คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น
ต่อตนเองและสังคม
21
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
	 แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สมรรถนะที่2ความสามารถในการคิด
	ตัวชี้วัดที่1คิดพื้นฐาน(การคิดวิเคราะห์)
พฤติกรรมบ่งชี้
ระดับคุณภาพ
ดีเยี่ยม(3)
ดี(2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1)
ปรับปรุง(0)
1.จำแนกจัดหมวดหมู่
จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูล
ในบริบทของการดำเนินชีวิต
ประจำวัน
มีพฤติกรรมบ่งชี้ดังนี้
1.	จำแนกข้อมูลได้
2.	จัดหมวดหมู่ข้อมูลได้
3.	จัดลำดับความสำคัญของ	
	ข้อมูลได้
4.	เปรียบเทียบข้อมูลได้
ในบริบทของการดำเนินชีวิต
ประจำวันได้อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับความเป็นจริง
มีพฤติกรรมบ่งชี้3พฤติกรรม
ในบริบทของการดำเนินชีวิต
ประจำวันได้อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับความเป็นจริง
มีพฤติกรรมบ่งชี้2พฤติกรรม
ในบริบทของการดำเนินชีวิต
ประจำวันได้อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกับความเป็นจริง
มีพฤติกรรมบ่งชี้พฤติกรรมใด
พฤติกรรมหนึ่งหรือไม่
ปรากฏพฤติกรรมใดเลย
2.หาความสัมพันธ์ของ
ส่วนประกอบต่างๆของ
ข้อมูลที่พบเห็นในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
ประจำวัน
ระบุความสัมพันธ์ของส่วน
ประกอบต่างๆของข้อมูล
และสามารถเชื่อมโยงกับ
เหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิต
ประจำวันได้ถูกต้องครบถ้วน
ระบุความสัมพันธ์ของส่วน
ประกอบต่างๆของข้อมูล
และสามารถเชื่อมโยงกับ
เหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิต
ประจำวันได้ถูกต้อง
ระบุความสัมพันธ์ของส่วน
ประกอบต่างๆของข้อมูลได้
ถูกต้องแต่ไม่สามารถเชื่อม
โยงกับเหตุการณ์ที่พบเห็นใน
ชีวิตประจำวันได้
ไม่สามารถระบุความสัมพันธ์
ของส่วนประกอบต่างๆของ
ข้อมูลและไม่สามารถเชื่อม
โยงกับเหตุการณ์ที่พบเห็นใน
ชีวิตประจำวันได้
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑suwanna champasak
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอนุพงษ์ ทิพโรจน์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 

Tendances (20)

วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ส่งประกวดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 

En vedette

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51Kul Kully
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนworapong jinwong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษChicharito Iamjang
 
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้Teacher Sophonnawit
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
งานวิจัยนักศึกษา กศน.
งานวิจัยนักศึกษา กศน.งานวิจัยนักศึกษา กศน.
งานวิจัยนักศึกษา กศน.prongsadao
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของguest7c5fea
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18kkkkon
 
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่นniralai
 

En vedette (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 
Access m.3 wordlists
Access m.3 wordlistsAccess m.3 wordlists
Access m.3 wordlists
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
แบบฝึกการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้
มรรคมีองค์ ๘ เส้นทางครูแท้
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
งานวิจัยนักศึกษา กศน.
งานวิจัยนักศึกษา กศน.งานวิจัยนักศึกษา กศน.
งานวิจัยนักศึกษา กศน.
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
 
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
ว7 กรอบและแนวทางการทดสอบความรู้ความสามารถเชิงทฤษฎีและการประเมินประสบการณ์วิชาชีพ
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
 
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น
083จิตวิทยาสอนวัยรุ่น
 
วิจัย ม
วิจัย มวิจัย ม
วิจัย ม
 

Similaire à คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษ
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษรายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษ
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษโรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61Bordeedon Sasen
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรkhanidthakpt
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556Cher Phabet
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑TooNz Chatpilai
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]Apichaya Savetvijit
 

Similaire à คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (20)

M6
M6M6
M6
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษ
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษรายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษ
รายงานผลการพัฒนาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิชาภาษาอังกฤษ
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
เปรียบเทียบหลักสูตร 50/61
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]
 
3.
3.3.
3.
 

Plus de Teacher Sophonnawit

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน LogbookTeacher Sophonnawit
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดTeacher Sophonnawit
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)Teacher Sophonnawit
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4Teacher Sophonnawit
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาTeacher Sophonnawit
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)Teacher Sophonnawit
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)Teacher Sophonnawit
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพTeacher Sophonnawit
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์Teacher Sophonnawit
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างTeacher Sophonnawit
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการTeacher Sophonnawit
 
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)Teacher Sophonnawit
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 

Plus de Teacher Sophonnawit (20)

คู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbookคู่มือการใช้งาน Logbook
คู่มือการใช้งาน Logbook
 
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุดวิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
วิทยฐานะ ว 21 2560 ล่าสุด
 
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)ว21 2560 (ดร.สำเริง)
ว21 2560 (ดร.สำเริง)
 
Lookbook teacher
Lookbook teacherLookbook teacher
Lookbook teacher
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
คู่มือการใช้สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive Solfwear) หนังสือ Upstream ม.4
 
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณาว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
ว7 แนวทางและแบบฟอร์มการเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้ ก.ค.ศ. พิจารณา
 
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
PA.3/4 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานนิเทศการศึกษา)
 
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/3 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
PA.3/2 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานบริหารสถานศึกษา)
 
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
PA.3/1 แบบข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ (สายงานการสอน)
 
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพPA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
PA.2 แบบรายงานและรับรองด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
PA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอPA.1 แบบคำขอ
PA.1 แบบคำขอ
 
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
ว7 ปฏิทินการดำเนินงานตามหลักเกณฑ์
 
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่างว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
ว7 คำอธิบายและตัวอย่าง
 
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
ว7 หลักเกณฑ์และวิธีการ
 
ว7
ว7ว7
ว7
 
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)
คู่มือการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ (CEFR)
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 

คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

  • 1. ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถ ในการแก้ปัญหา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008))
  • 2. คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008) ) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีที่พิมพ์ : พ.ศ. 2555 จำนวนพิมพ์ : 500 เล่ม ลิขสิทธิ์เป็นของ : สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์ 0-2288-5783 โทรสาร 0-2281-6236 เว็บไซต์ : http://bet.obec.go.th พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 314-316 ซอยบ้านบาตร ถนนบำรุงเมือง แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม. 10100
  • 4. คำนำ ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียนเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก นอกเหนือจากคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจึงเป็นกลไกสำคัญอัน หนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยในหลักสูตรฯได้กำหนดสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนไว้ 5 สมรรถนะ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความ สามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการประเมินสมรรถนะ สำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรฯของครูผู้สอนในระดับสถานศึกษา จึงได้พัฒนาเครื่องมือที่มีคุณภาพ และน่าเชื่อถือในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนเพื่อใช้ในระดับสถานศึกษาในแต่ละระดับช่วงชั้น ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งมีรูปแบบการ ประเมินที่หลากหลายวิธีการ โดยให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เช่น ให้ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน เป็นต้น ดังนั้น สำนัก ทดสอบทางการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเครื่องมือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ซึ่งประกอบ ด้วยคู่มือและเครื่องมือในการประเมินที่ได้พัฒนาขึ้นจะมีประโยชน์อย่างยิ่งในการประเมินและพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนในทุกระดับชั้นต่อไป สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรกฎาคม 2554
  • 5.
  • 6. สารบัญ เรื่อง หน้า 1. วัตถุประสงค์ในการประเมิน 1 2. ฐานคิดของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1 3. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3 4. แนวทางการประเมิน 4 5. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 4 6. วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ข้อมูล 11 7. เกณฑ์การตัดสินและการแปลความหมาย 14 ภาคผนวก 15 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน 17 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/1 (คู่ขนาน) 44 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/2 (คู่ขนาน) 50 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง ฉบับที่ 2/3 (คู่ขนาน) 56 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/1 (คู่ขนาน) 62 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/2 (คู่ขนาน) 66 _ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ฉบับที่ 3/3 (คู่ขนาน) 70 คณะทำงาน 75
  • 7. คำชี้แจง เอกสารประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้แก่สถานศึกษาใน การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรฯ ใน 5 สมรรถนะ ได้แก่ ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยเอกสารการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนฉบับนี้ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คู่มือการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย สาระสำคัญเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ในการประเมิน ฐานคิดของการสร้างและพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน รายละเอียดและคำอธิบายตัวชี้วัดของแต่ละสมรรถนะของผู้เรียน แนวทางการประเมิน กรอบโครงสร้าง เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน วิธีการประเมินและการบันทึกข้อมูล และเกณฑ์การตัดสินและการแปล ความหมาย ส่วนที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย เครื่องมือประเมิน 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูประเมินผู้เรียน 2) แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (การประเมินพฤติกรรมและการประเมิน ทัศนคติ) และ 3) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ผู้ประเมิน ควรทำความเข้าใจกับสาระสำคัญของแต่ละเรื่องในเอกสารฉบับนี้อย่างละเอียดก่อนที่จะนำไปประเมิน ผู้เรียน
  • 8. 1 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นการประเมินสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียนที่จำเป็นในการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรูปแบบของการประเมิน จากผู้ประเมินหลายคน (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Multi- method Approach) โดยมีรายละเอียดในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนดังต่อไปนี้ 1. วัตถุประสงค์ในการประเมิน เพื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นของผู้เรียนสำหรับใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ฐานคิดของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีฐานคิดมาจากแนวคิดของ Prof. David C. McCelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ที่กล่าวไว้ว่า “สมรรถนะ คือ บุคลิกลักษณะที่ ซ่อนอยู่ภายในปัจเจกบุคคล ซึ่งผลักดันให้บุคคลนั้น สามารถสร้างผลการปฏิบัติงานที่ดี หรือปฏิบัติงาน ที่รับผิดชอบได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด” ซึ่งความหมายในบริบทของผู้เรียน สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ ทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้หรือปฏิบัติงานหรือสร้างผลงานได้โดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงานอื่นๆ ในชั้นเรียน องค์ประกอบของสมรรถนะ McClelland ได้กล่าวว่า สมรรถนะประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน สรุปได้ ดังนี้(McClelland , 1973 ; สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ , 2547 ; สำนักงาน ก.พ. , 2548 ; รัชนีวรรณ วนิชย์ถนอม, 2547; ชนาธิป ทุ้ยแป, 2551) 1. ทักษะ (Skills) หมายถึง สิ่งที่บุคคลกระทำได้ดี และฝึกปฏิบัติเป็นประจำจนเกิดความ ชำนาญ เช่น ทักษะของหมอฟันในการอุดฟัน โดยไม่ทำให้คนไข้รู้สึกเสียวเส้นประสาท
  • 9. 2 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้เฉพาะด้านของบุคคล เช่น ความรู้ภาษา อังกฤษ ความรู้ด้านการบริหารต้นทุน เป็นต้น 3. ภาพลักษณ์ภายในบุคคล (Self-Image / Self-concept) หมายถึง ทัศนคติ ค่านิยม และความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของตนเอง หรือสิ่งที่บุคคลเชื่อว่าตนเองเป็น เช่น Self- confidence คนที่มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง จะเชื่อว่าตนเองสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ 4. คุณลักษณะภายในหรืออุปนิสัย (Traits) หมายถึง บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล เป็นสิ่งที่อธิบายถึงบุคคลนั้น เช่น เป็นคนที่น่าเชื่อถือ และไว้วางใจ หรือมีลักษณะเป็นผู้นำ เป็นต้น 5. แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง แรงขับภายใน ซึ่งทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่มุ่งสู่สิ่งที่ เป็นเป้าหมาย เช่น บุคคลที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Orientation) มักชอบตั้งเป้าหมายที่ ท้าทาย และพยายามทำงานสำเร็จตามเป้าที่ตั้งไว้ ตลอดจนพยายามปรับปรุงการทำงานของตนเอง ตลอดเวลา โดยความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ของสมรรถนะนั้นนิยมทำการอธิบายด้วยโมเดล ภูเขาน้ำแข็ง (Iceberg Model) ดังแผนภาพที่ 1 ปรับปรุงจาก : สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ , 2547 Skills, Knowledge Skills Knowledge Self-Image Self-ImageTraits Traits Motives Traits Motives ʋǹ·ÕèàËç¹ä´Œ§‹Ò ʋǹ·Õ請͹ÍÂÙ‹ ã¹áµ‹Åкؤ¤Å
  • 10. 3 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ใช้ เป็นกรอบในการประเมินประกอบด้วย 5 สมรรถนะ 16 ตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดดังนี้ สมรรถนะ คำอธิบาย จำนวน ตัวชี้วัด 1 ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 4 2 ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับ ตนเอง และสังคมได้อย่างเหมาะสม 2 3 ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และ มีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2 4 ความสามารถ ในการใช้ทักษะ ชีวิต ความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง บุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 6 5 ความสามารถ ในการใช้ เทคโนโลยี ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน การเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม 2 หมายเหตุ รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัดในแต่ละสมรรถนะระบุไว้ในรายละเอียดโครงสร้างเครื่องมือ ประเมิน ในหัวข้อที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
  • 11. 4 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. แนวทางการประเมิน แนวทางการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ใช้ในรูปแบบของการประเมินจาก หลายแหล่ง (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Multi-method) โดยรายละเอียด ดังแผนภาพที่ 2 5. เครื่องมือที่ใช้ในประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี จำนวน 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน เป็นแบบประเมินที่มีลักษณะเป็นเกณฑ์คุณภาพ (Rubric) โดยในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์ แบบแยกส่วน (Analytic Criteria) ซึ่งแบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม (3 คะแนน) ระดับดี (2 คะแนน) ระดับพอใช้หรือผ่านเกณฑ์ (1 คะแนน) และระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ (0 คะแนน) Skills Knowledge ʋǹ·ÕèàËç¹ä´Œ ʋǹ·Õ請͹ÍÂÙ‹ ã¹áµ‹Åкؤ¤Å Traits, Motives, Self-Image ¼ÙŒàÃÕ¹»ÃÐàÁÔ¹µ¹àͧ (Rating scale) à¾×è͹»ÃÐàÁÔ¹ (Checklist) ¤ÃÙ»ÃÐàÁÔ¹ (Checklist)
  • 12. 5 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่าง เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (3 คะแนน) ดี (2 คะแนน) พอใช้ / ผ่านเกณฑ์ (1 คะแนน) ปรับปรุง/ ไม่ผ่านเกณฑ์ (0 คะแนน) 1. เลือกและใช้ เทคโนโลยีในการ เรียนรู้อย่าง สร้างสรรค์และมี คุณธรรม เลือกและใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสมเพื่อลดขั้น ตอน เวลา ทรัพยากร ในการทำงานและ นำเสนอผลงานที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม โดยมี ความหลากหลาย แปลกใหม่ น่าสนใจ ไม่ลอกเลียนแบบ ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถแนะนำผู้อื่นได้ เลือกและใช้ เทคโนโลยี ที่เหมาะสมเพื่อ ลดขั้นตอน เวลา ทรัพยากร ในการ ทำงานและ นำเสนอผลงานที่ เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม โดยไม่ทำให้ผู้อื่น เดือดร้อน ไม่มี ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม เลือกและใช้ เทคโนโลยีเพื่อลด ขั้นตอน เวลา ทรัพยากร ในการ ทำงานและ นำเสนอผลงานที่ เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองหรือสังคม เลือกและใช้ เทคโนโลยีเพื่อลด ขั้นตอน เวลา ทรัพยากร ในการ ทำงานและ นำเสนอผลงานได้ โดยต้องมีผู้แนะนำ ฉบับที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง มีลักษณะเป็นมาตรวัดประมาณค่า (Rating scale) โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน (สพฐ.ได้จัดทำไว้เป็น ฉบับคู่ขนาน 3 ฉบับเพื่อให้ครูผู้สอนสามารถเลือกนำไปใช้ในการประเมินได้อย่างหลากหลาย) คือ ตอนที่ 1 การวัดพฤติกรรมการปฏิบัติหรือคุณลักษณะของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบ มาตรวัดประมาณค่า 3 ระดับ คือ ไม่เคยปฏิบัติ ปฏิบัติบางครั้ง ปฏิบัติบ่อยครั้ง โดยเกณฑ์การให้ คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ไม่เคยปฏิบัติเลยได้ 0 คะแนน ปฏิบัติบางครั้ง ได้ 1 คะแนน และปฏิบัติบ่อยครั้ง ได้คะแนน 2 คะแนน ตัวอย่าง แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติหรือคุณลักษณะของนักเรียน สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รายการพฤติกรรม ความถี่ของการปฏิบัติ ไม่เคย (0) บางครั้ง (1) บ่อยครั้ง (2) 1. นักเรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ 2. นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้น/ ค้นคว้า/ รวบรวมความรู้ 3……
  • 13. 6 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตอนที่ 2 การวัดทัศนคติหรือความคิดเห็นของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบมาตรวัด ประมาณค่า 5 ระดับ คือ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย เฉยๆ เห็นด้วย และเห็นด้วยอย่างยิ่ง โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ข้อความทางบวก ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 1 คะแนน ไม่เห็นด้วย ได้ 2 คะแนน เฉยๆได้ 3 คะแนน เห็นด้วย ได้ 4 คะแนน เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 5 คะแนน ส่วนข้อความทางลบ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 5 คะแนน ไม่เห็นด้วย ได้ 4 คะแนน เฉยๆ ได้ 3 คะแนน เห็นด้วย ได้ 2 คะแนน เห็นด้วยอย่างยิ่ง ได้ 1 คะแนน ตัวอย่าง แบบวัดทัศนคติหรือความคิดเห็นของนักเรียน สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รายการ ระดับความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง (1) ไม่ เห็นด้วย (2) เฉยๆ (3) เห็นด้วย (4) เห็นด้วย อย่างยิ่ง (5) 1. เทคโนโลยีมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ 2. นักเรียนชอบที่ครูใช้เทคโนโลยีใน การจัดการเรียนการสอน 3..... ฉบับที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน มีลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออก (Checklist) โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ไม่มี ได้ 0 คะแนน และ มี ได้ 1 คะแนน ( สพฐ.ได้จัดทำไว้เป็นฉบับคู่ขนาน 3 ฉบับเพื่อให้ ครูผู้สอนสามารถเลือกนำไปใช้ในการประเมินได้อย่างหลากหลาย) ตัวอย่าง แบบประเมินสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รายการพฤติกรรม พฤติกรรมที่เห็น มี ไม่มี 1. เพื่อนของนักเรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ 2. เพื่อนของนักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในสืบค้น/ ค้นคว้า/ รวบรวมความรู้ 3. .....
  • 14. 7 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายละเอียดของโครงสร้างเครื่องมือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่1 สำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน สมรรถนะ ตัวชี้วัด ลักษณะ เครื่องมือ จำนวนข้อ 1. ความสามารถในการ สื่อสาร 1.1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน แบบประเมิน คุณภาพ (Rubric) 4 1.2 พูดเจรจาต่อรอง 2 1.3 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 2 1.4 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร 1 2. ความสามารถในการคิด 2.1 คิดพื้นฐาน 3 2.2 คิดขั้นสูง 3 3. ความสามารถในการ แก้ปัญหา 3.1 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผล 14 3.2 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา 2 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต 4.1 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 1 4.2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 3 4.3 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข 7 4.4 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้งใน สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 1 4.5 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม 2 4.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่ง ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 2 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคม 4 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี 7 รวมทั้งสิ้น 58
  • 15. 8 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 2 สำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (ภาคปฏิบัติ) สมรรถนะ ตัวชี้วัด ลักษณะ เครื่องมือ จำนวนข้อ 1. ความสามารถในการ สื่อสาร 1.1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน 1.2 พูดเจรจาต่อรอง 1.3 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 1.4 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร แบบมาตรวัด ประมาณค่า (Rating scale) 3 ระดับ 8 2. ความสามารถในการคิด 2.1 คิดพื้นฐาน 8 2.2 คิดขั้นสูง 3. ความสามารถในการ แก้ปัญหา 3.1 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผล 6 3.2 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต 4.1 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 12 4.2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 4.3 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข 4.4 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้งใน สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 4.5 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม 4.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคม 6 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี รวมทั้งสิ้น 40
  • 16. 9 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 2 สำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (ภาคความรู้สึก) สมรรถนะ ตัวชี้วัด ลักษณะ เครื่องมือ จำนวนข้อ 1. ความสามารถในการ สื่อสาร 1.1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน แบบมาตรวัด ประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ 6 1.2 พูดเจรจาต่อรอง 1.3 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 1.4 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 2.1 คิดพื้นฐาน 6 2.2 คิดขั้นสูง 3. ความสามารถในการ แก้ปัญหา 3.1 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและ สรุปผล 6 3.2 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต 4.1 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 6 4.2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 4.3 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข 4.4 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้ง ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 4.5 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและสภาพแวดล้อม 4.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี 5.1 การเลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาตนเองและสังคม 6 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี รวมทั้งสิ้น 30
  • 17. 10 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตาราง กรอบโครงสร้างแบบประเมิน ฉบับที่ 3 สำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน สมรรถนะ ตัวชี้วัด ลักษณะ เครื่องมือ จำนวนข้อ 1. ความสามารถในการ สื่อสาร 1.1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเองด้วยการพูดและการเขียน แบบ ตรวจสอบ รายการเกี่ยวกับ พฤติกรรมที่ แสดงออก (Checklist) 16 1.2 พูดเจรจาต่อรอง 1.3 เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 1.4 เลือกใช้วิธีการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 2.1 คิดพื้นฐาน 8 2.2 คิดขั้นสูง 3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา 3.1 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาโดยการ วิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการ แก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรุปผล 8 3.2 ผลลัพธ์ที่เกิดจากการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต 4.1 นำกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 30 4.2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง 4.3 ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง มีความสุข 4.4 จัดการกับปัญหาและความขัดแย้ง ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 4.5 ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและสภาพแวดล้อม 4.6 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5 ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคม 8 5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี รวมทั้งสิ้น 70
  • 18. 11 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6. วิธีการประเมินและการวิเคราะห์ข้อมูล 6.1 วิธีการประเมิน ชุดแบบประเมินนี้ เป็นการประเมินที่มุ่งใช้รูปแบบของการประเมินจาก หลายแหล่ง ได้แก่ ครูผู้สอนประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน โดยใช้เครื่องมือ ประเมินที่หลากหลาย ซึ่งได้แก่ ครูผู้สอนประเมินผู้เรียนใช้แบบประเมิน Rubric ผู้เรียนประเมินตนเอง ใช้มาตรวัดประมาณค่า (Rating scale) และเพื่อนประเมินผู้เรียนใช้แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ดังแผนภาพต่อไปนี้ หมายเหตุ ในกรณีที่เพื่อนประเมินผู้เรียนให้ครูผู้สอนทำการสุ่มนักเรียน 1 ต่อ 1 โดยไม่ให้นักเรียนทำการ ประเมินซึ่งกันและกัน 6.2 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ 1) การวิเคราะห์ข้อมูลในเครื่องมือแต่ละฉบับในแต่ละสมรรถนะ มีขั้นตอนการ วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละฉบับดังนี้ คือ นำผลการประเมินในแต่ละข้อรายการของพฤติกรรมบ่งชี้ของ แต่ละสมรรถนะมารวมกัน แล้วแปลงเป็นคะแนนร้อยละ เพื่อเตรียมที่จะนำไปประมวลผลร่วมกับ เครื่องมือฉบับอื่นๆ ต่อไป โดยมีสูตรในการคำนวณ ดังต่อไปนี้ คะแนนรวมร้อยละ = ตัวอย่างที่ 1 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร เลขที่ ชื่อ-สกุล ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 4 คะแนน รวม คะแนน ร้อยละ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ 1 2 3 4 1 2 1 2 1 1 ด.ช. เอ 2 2 1 3 2 2 2 3 2 19 70.37 2 ด.ญ. บี 1 1 2 2 1 1 2 2 1 13 48.0 คะแนนรวมที่ได้ คะแนนเต็ม X 100 à¾×è͹»ÃÐàÁÔ¹ (Checklist) »ÃÐàÁÔ¹µ¹àͧ (Rating scale) ¼ÙŒàÃÕ¹ ¤ÃÙ»ÃÐàÁÔ¹ (Rubric)
  • 19. 12 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 9 ข้อรายการ โดยใน แต่ละข้อรายการพฤติกรรมบ่งชี้มีคะแนนเต็ม 3 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 9 x 3 = 27 คะแนน ดังนั้น ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 19 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (19/27) x 100 = 70.37 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 13 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (13/27) x 100 = 48.00 ตัวอย่างที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (แบบประเมินพฤติกรรม) สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการพฤติกรรม คะแนน รวม คะแนน ร้อยละ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 ด.ช. เอ 1 2 2 2 2 2 2 1 14 88.0 2 ด.ญ. บี 1 1 1 2 2 2 2 1 12 75.0 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 8 ข้อรายการ โดยใน แต่ละข้อรายการพฤติกรรมบ่งชี้มีคะแนนเต็ม 2 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 8 x 2 = 16 คะแนน ดังนั้น ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 14 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (14/16) x 100 = 88.0 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 12 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (12/16) x 100 = 75.0 ตัวอย่างที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเอง (แบบประเมินทัศนคติ) สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ คะแนน รวม คะแนน ร้อยละ 1 2 3 4 5 6 1 ด.ช. เอ 2 3 4 5 2 1 17 57.0 2 ด.ญ. บี 4 4 3 4 5 2 22 73.0 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 6 ข้อรายการ โดยใน แต่ละข้อรายการมีคะแนนเต็ม 5 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 6 x 5 = 30 คะแนน ดังนั้น ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 17 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (17/30) x 100 = 57.0 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 22 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (22/30) x 100 = 73.0 ตัวอย่างที่ 4 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับเพื่อนประเมินผู้เรียน สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการพฤติกรรม คะแนน รวม คะแนน ร้อยละ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 1 ด.ช. เอ 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 11 69.0 2 ด.ญ. บี 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 88.0
  • 20. 13 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลรวมของผลคูณของน้ำหนักองค์ประกอบกับคะแนนร้อยละของแต่ละแหล่งข้อมูล 4 (2 x คะแนนครูประเมิน) + (1 x คะแนนประเมินตนเอง) + (1 x คะแนนเพื่อนประเมิน) 4 ตัวอย่างการคำนวณ ในแบบประเมินฉบับนี้มีข้อรายการทั้งหมด 16 ข้อรายการ โดยใน แต่ละข้อรายการมีคะแนนเต็ม 1 คะแนน จึงมีคะแนนเต็มเท่ากับ 16 x 1 = 16 คะแนน ดังนั้น ด.ช. เอ ได้คะแนนรวมเท่ากับ 11 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (11/16) x 100 = 69.0 ด.ญ. บี ได้คะแนนรวมเท่ากับ 14 คะแนน จึงมีคะแนนร้อยละ (14/16) x 100 = 88.0 หมายเหตุ ในส่วนของแบบประเมินสมรรถนะสำหรับผู้เรียนประเมินตนเองที่ประกอบไปด้วยผลการ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินพฤติกรรม และประเมินทัศนคติ ให้นำคะแนนรวมร้อยละทั้ง 2 ส่วน มาคำนวณหาค่าเฉลี่ย เพื่อสรุปเป็นคะแนนร้อยละของแบบประเมินสำหรับผู้เรียน ประเมินตนเอง และนำไปประมวลผลในระดับสมรรถนะต่อไป 2) การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละสมรรถนะ มีขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละสมรรถนะ ดังนี้ คือ นำคะแนนรวมร้อยละจากแหล่งการประเมินต่างๆ ซึ่งได้แก่ ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียน ประเมินตนเอง และเพื่อนประเมินผู้เรียน มาคูณกับค่าน้ำหนักความสำคัญของข้อมูลจากส่วนต่างๆ แล้วนำค่าที่ได้ไปคำนวณหาค่าเฉลี่ย แล้วนำคะแนนเฉลี่ยที่คำนวณได้ไปเทียบกับเกณฑ์ โดยมีสัดส่วน หรือน้ำหนักความสำคัญของข้อมูลจากส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ ครูประเมิน : ผู้เรียนประเมินตนเอง : เพื่อนประเมินผู้เรียน เท่ากับ 2 : 1 : 1 โดยมีสูตรในการคำนวณดังต่อไปนี้ คะแนนรายสมรรถนะ = หรือ คะแนนรายสมรรถนะ = ตัวอย่าง สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร เลขที่ ชื่อ-สกุล ครูประเมิน ประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ความหมาย 1 ด.ช. เอ 70.37 72.50 69.0 70.56 พอใช้ 2 ด.ญ. บี 48.0 74.00 88.0 64.50 พอใช้ ตัวอย่างการคำนวณ ในกรณี ด.ช. เอ มีผลการประเมินในสมรรถนะที่ 1 ความสามารถใน การสื่อสาร จาก 3 แหล่ง ดังนี้ 1) ครูประเมิน เท่ากับ 70.37 2) ผู้เรียนประเมินตนเอง (ประเมินพฤติกรรม + ประเมินทัศนคติ) เท่ากับ (88.0 + 57.0)/2 =72.50 3) เพื่อประเมินผู้เรียน เท่ากับ 69.0 ดังนั้น ด.ช. เอ มีคะแนนรายสมรรถนะ เท่ากับ (2 x 70.37) + (1 x 72.50) + (1 x 69.0) = 70.56 4
  • 21. 14 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 7. เกณฑ์การตัดสินและการแปลผล เกณฑ์การตัดสินในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครั้งนี้ ผู้พัฒนากำหนดขึ้นบนฐานคิดของแนวคิดทฤษฏีการ กำหนดจุดตัด (Cut-off Scores) ของนักวิชาการหลายท่าน ได้แก่ แนวคิดของอีเบล (Ebel, 1972) แองกอฟฟ์ (Angoff, 1971) แกลส(Glass, 1978) สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2522) และสงบ ลักษณะ (2523) เพื่อให้เกิดความเป็นปรนัยและคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด โดยอาศัยความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ประกอบด้วยศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักวิชาการ พิจารณาจากคะแนนเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนกรายข้อและรายสมรรถนะ โดยเกณฑ์ในการตัดสินจำแนก ออกเป็น 2 ระดับ คือ 7.1 เกณฑ์การตัดสินรายสมรรถนะ เกณฑ์การตัดสินรายสมรรถนะและการแปลความหมายในแต่ละสมรรถนะได้แบ่ง ระดับคุณภาพออกเป็น 3 ระดับ คือ ปรับปรุง พอใช้ และดี โดยในแต่ละระดับคุณภาพมีเกณฑ์ในการ ตัดสินดังต่อไปนี้ ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ดี มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 75 ขึ้นไป พอใช้ มีคะแนนระหว่างร้อยละ 40-74 ปรับปรุง มีคะแนนต่ำกว่าร้อยละ 40 7.2 เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะในภาพรวม เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินในภาพรวมของสมรรถนะ พิจารณาจากระดับ คุณภาพของแต่ละสมรรถนะทั้ง 5 สมรรถนะ แล้วนำมาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินสมรรถนะในภาพรวม ได้แบ่งระดับคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ปรับปรุง พอใช้ ดี และดีเยี่ยม โดยในแต่ละระดับคุณภาพ มีเกณฑ์ในการตัดสินดังต่อไปนี้ ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ดีเยี่ยม มีผลการประเมินในระดับ ดี ครบทั้ง 5 สมรรถนะ ดี มีผลการประเมินในระดับ ดี 4 สมรรถนะ พอใช้ มีผลการประเมินในระดับ ดี 3 สมรรถนะ ปรับปรุง มีผลการประเมินในระดับ ดี น้อยกว่า 3 สมรรถนะ หมายเหตุ เพื่อความสะดวกในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของครูผู้สอน สพฐ. ได้จัดทำ โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของโปรแกรม Microsoft excel โดย Download ได้ทางเวป์ไซด์ของ สทศ. http://bet.obec.go.th
  • 23. 16 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551 ประกอบด้วย สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร สมรรถนะที่2ความสามารถในการคิด สมรรถนะที่3ความสามารถในการแก้ปัญหา สมรรถนะที่4ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต สมรรถนะที่5ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
  • 24. 17 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียน คำชี้แจงแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับครูผู้สอนประเมินผู้เรียนแบ่งออกเป็น2ส่วนคือ ส่วนที่1เกณฑ์คุณภาพในการประเมินสมรรถนะผู้เรียน(Rubric)ใช้สำหรับประเมินสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่วนที่2แบบบันทึกผลการประเมินสมรรถนะผู้เรียนสำหรับครู การบันทึกข้อมูล ให้ครูผู้สอนทำการประเมินสมรรถนะผู้เรียนแต่ละคนโดยพิจารณาจากเกณฑ์คุณภาพ(Rubric)ในแต่ละตัวชี้วัดและสมรรถนะ ต่อไปนี้แล้วทำการบันทึกผลการประเมินลงในแบบบันทึกผลการประเมินที่แนบมาพร้อมกันนี้โดยมีรายละเอียดในการบันทึก ดังนี้ ถ้า ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับดีเยี่ยม ให้กรอกหมายเลข3ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับดี ให้กรอกหมายเลข2ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับพอใช้ ให้กรอกหมายเลข1ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม ผู้เรียนมีคุณภาพในระดับปรับปรุง ให้กรอกหมายเลข0ในช่องพฤติกรรมแต่ละพฤติกรรม ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล เลขที่ ชื่อ-สกุล ตัวชี้วัดที่1 ตัวชี้วัดที่2 ตัวชี้วัดที่3 ตัวชี้วัดที่4 หมายเหตุ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ 1 2 3 4 1 2 1 2 1 1 ด.ช.เอ 3 2 3 3 2 2 3 3 3 2 ด.ช.บี 1 1 1 0 1 2 2 1 1 3 ด.ญ.ซี 3 3 3 3 2 2 3 3 3
  • 25. 18 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส่วนที่1 เกณฑ์คุณภาพในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(Rubric) สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร ตัวชี้วัดที่1ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจความคิดความรู้สึกและทัศนะของตนเองด้วยการพูดและการเขียน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 1. พูดถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่าน ฟังหรือดูด้วยภาษาของ ตนเองได้ พูดถ่ายทอดความรู้ความ เข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู ด้วยภาษาของตนเองได้อย่าง คล่องแคล่วชัดเจน พูดถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ จากสารที่อ่านฟังหรือดู ด้วยภาษาของตนเองได้อย่าง ชัดเจนแต่ขาดความคล่องแคล่ว พูดถ่ายทอดความรู้ความ เข้าใจจากสารที่อ่านฟัง หรือดูด้วยภาษาของตนเองได้ บ้าง ไม่สามารถพูดถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจจากสาร ที่อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา ของตนเองได้ 2. พูดถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ ตนเองจากสารที่อ่านฟัง หรือดูด้วยภาษาของ ตนเองได้ พูดถ่ายทอดความคิดความรู้สึก และทัศนะจากสารที่อ่านฟัง หรือดูตามที่กำหนดได้อย่าง สมเหตุสมผลคล่องแคล่วชัดเจน ด้วยภาษาของตนเองได้ พูดถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะจากสารที่ อ่านฟังหรือดูตามที่กำหนด ได้อย่างมีเหตุผลด้วยภาษา ของตนเองได้ พูดถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะจากสารที่ อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา ของตนเองได้บ้างและมี เหตุผลไม่เพียงพอ พูดถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะจากสารที่อ่าน ฟังหรือดูตามแบบ 3. เขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่าน ฟังหรือดูด้วยภาษาของ ตนเองได้ เขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู ด้วยภาษาของตนเอง ได้ใจความครอบคลุมครบถ้วน และถูกต้องตามหลักการใช้ ภาษา เขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู ด้วยภาษาของตนเอง ได้ใจความสำคัญเป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และมี ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา วรรคตอนและการเขียนคำ ไม่เกิน2แห่ง เขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่านฟังดู ด้วยภาษาของตนเองได้ ใจความสำคัญเป็นบางส่วน และมีข้อบกพร่องในการใช้ ภาษาวรรคตอนและการ เขียนคำตั้งแต่3แห่งแต่ไม่ เกิน5แห่ง เขียนถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจจากสารที่อ่าน ฟังหรือดูตามแบบ
  • 26. 19 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร(ต่อ) ตัวชี้วัดที่1ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจความคิดความรู้สึกและทัศนะของตนเองด้วยการพูดและการเขียน(ต่อ) พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 4. เขียนถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ ตนเองจากสารที่อ่านฟัง หรือดูด้วยภาษาของ ตนเองได้ เขียนถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะของตนเอง จากสารที่อ่านฟังหรือดู ด้วยภาษาของตนเอง ได้ใจความครอบคลุมครบถ้วน และถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา เขียนถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะของตนเองจาก สารที่อ่านฟังหรือดูด้วยภาษา ของตนเองได้ใจความสำคัญ เป็นส่วนใหญ่แต่ไม่ครบถ้วน สมบูรณ์และมีข้อบกพร่อง ในการใช้ภาษาวรรคตอนและ การเขียนคำไม่เกิน2แห่ง เขียนถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะของตนเอง จากสารที่อ่านฟังหรือดู ด้วยภาษาของตนเองได้ใจความ สำคัญเป็นบางส่วนและมีข้อ บกพร่องในการใช้ภาษา วรรคตอนและการเขียนคำ ตั้งแต่3แห่งแต่ไม่เกิน5แห่ง เขียนถ่ายทอดความคิดความ รู้สึกและทัศนะของตนเองจาก สารที่อ่านฟังหรือดูตามแบบ ตัวชี้วัดที่2พูดเจรจาต่อรอง พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 1.พูดเจรจาโน้มน้าวได้ อย่างเหมาะสมตาม สถานการณ์เพื่อประโยชน์ ต่อตนเองและสังคม พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ได้สำเร็จทุกสถานการณ์ พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่ เป็นประโยชน์ต่อตนเองและ สังคมได้สำเร็จบาง สถานการณ์ พูดเจรจาโน้มน้าวทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่ เป็นประโยชน์ต่อตนเองได้ สำเร็จ พูดเจรจาโน้มน้าวให้ผู้อื่น คล้อยตามไม่สำเร็จ 2.พูดเจรจาต่อรองได้ อย่างเหมาะสม ตามสถานการณ์เพื่อประโยชน์ ต่อตนเองและสังคม พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ได้สำเร็จทุกสถานการณ์ พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ได้สำเร็จบางสถานการณ์ พูดเจรจาต่อรองทำให้ผู้อื่น คล้อยตามในวัตถุประสงค์ที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองได้สำเร็จ พูดเจรจาต่อรองให้ผู้อื่น คล้อยตามไม่สำเร็จ
  • 27. 20 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สมรรถนะที่1ความสามารถในการสื่อสาร(ต่อ) ตัวชี้วัดที่3เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 1.รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสมด้วย ตนเองทุกครั้ง รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสมด้วย ตนเองเป็นบางครั้ง รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็น ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ ตามที่ผู้อื่นชี้แนะ รับข้อมูลข่าวสารทุกประเภท โดยไม่จำแนกแยกแยะ 2.ตัดสินใจเลือกรับหรือ ไม่รับข้อมูลข่าวสารได้ อย่างมีเหตุผล ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา ตนเองและส่วนรวมอย่างมี เหตุผลประกอบในทุกๆครั้ง ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา ตนเองและส่วนรวมอย่างมี เหตุผลประกอบเป็นบางครั้ง ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึง ประโยชน์ที่มีต่อการพัฒนา ตนเองหรือส่วนรวมโดยมี เหตุผลประกอบบางครั้ง ตัดสินใจเลือกรับหรือไม่รับ ข้อมูลข่าวสารตามความ ต้องการของตนเองโดยไม่ ไตร่ตรอง ตัวชี้วัดที่4เลือกใช้วิธีการสื่อสาร พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 1.เลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึง ถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสังคม เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่ เหมาะสมและคุ้มค่ากับ ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นต่อ ตนเองและสังคมทุครั้ง เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่ เหมาะสมและคุ้มค่ากับ ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นต่อ ตนเองและสังคมเป็นบางครั้ง เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่ เหมาะสมกับลักษณะข้อมูล ข่าวสารโดยคำนึงถึงผลที่จะ เกิดขึ้นต่อตนเองหรือสังคม เลือกใช้วิธีการสื่อสารกับ ลักษณะข้อมูลข่าวสารโดย ไม่คำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น ต่อตนเองและสังคม
  • 28. 21 คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สมรรถนะที่2ความสามารถในการคิด ตัวชี้วัดที่1คิดพื้นฐาน(การคิดวิเคราะห์) พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) ดี(2) พอใช้/ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ(1) ปรับปรุง(0) 1.จำแนกจัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ และเปรียบเทียบข้อมูล ในบริบทของการดำเนินชีวิต ประจำวัน มีพฤติกรรมบ่งชี้ดังนี้ 1. จำแนกข้อมูลได้ 2. จัดหมวดหมู่ข้อมูลได้ 3. จัดลำดับความสำคัญของ ข้อมูลได้ 4. เปรียบเทียบข้อมูลได้ ในบริบทของการดำเนินชีวิต ประจำวันได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความเป็นจริง มีพฤติกรรมบ่งชี้3พฤติกรรม ในบริบทของการดำเนินชีวิต ประจำวันได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความเป็นจริง มีพฤติกรรมบ่งชี้2พฤติกรรม ในบริบทของการดำเนินชีวิต ประจำวันได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความเป็นจริง มีพฤติกรรมบ่งชี้พฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่งหรือไม่ ปรากฏพฤติกรรมใดเลย 2.หาความสัมพันธ์ของ ส่วนประกอบต่างๆของ ข้อมูลที่พบเห็นในบริบท ของการดำเนินชีวิต ประจำวัน ระบุความสัมพันธ์ของส่วน ประกอบต่างๆของข้อมูล และสามารถเชื่อมโยงกับ เหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิต ประจำวันได้ถูกต้องครบถ้วน ระบุความสัมพันธ์ของส่วน ประกอบต่างๆของข้อมูล และสามารถเชื่อมโยงกับ เหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิต ประจำวันได้ถูกต้อง ระบุความสัมพันธ์ของส่วน ประกอบต่างๆของข้อมูลได้ ถูกต้องแต่ไม่สามารถเชื่อม โยงกับเหตุการณ์ที่พบเห็นใน ชีวิตประจำวันได้ ไม่สามารถระบุความสัมพันธ์ ของส่วนประกอบต่างๆของ ข้อมูลและไม่สามารถเชื่อม โยงกับเหตุการณ์ที่พบเห็นใน ชีวิตประจำวันได้