SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
1




      ชื่อ   ……………………………………………………………………………………   นามสกุล ………………………………………………………………………………………………..
                         ชั้น ม. ………………………………………………. เลขที่ ………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                     เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
2


                                                        บทที่ 1
                                            เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้


                                      วิชาทฤษฎีความรู้ คืออะไร ?

                                                    วิชาทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK)
                                           เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่าง ๆ        (Knowledge
                                           Issues) องค์ความรู้ (Body of Knowledge) และทฤษฎีความรู้
                                           (Theory of knowledge) ของสาระการเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด
                                           (Interdisciplinary) ในเชิงบูรณ าการ ในเชิงปฏิบัติ ครูและผู้เรียนจะต้อง
                                           ร่วมกันกาหนดเนื้อหา โดยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่นการระดมสมอง
                                           การใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นร้อนของสังคม เหตุการณ์ปัจจุบัน
สภาพปัจจุบันและปัญหาที่ผู้เรียนหรือสังคมกาลังเผชิญหรือหัวข้อที่ผู้เรียน สนใจ เป็นต้น จากนั้นครูและผู้เรียนรวบรวมรายชื่อ
หัวข้อเรื่อง (Topic) อย่างเป็นระบบ โดยจัดเป็นเอกสารลักษณะรูปเล่ม (Directory)

                                                          เรียนวิชาทฤษฎีความรู้ เพื่ออะไร ?

การจัดการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้          (Theory of Knowledge : TOK )
          มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐาน
และการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย
แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถ
เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการ
รับความรู้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense
Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้าง
ความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)

    วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้                                                 วิธสร้างความรู้จากการใช้ภ าษา
                                                                                             ี
         (Sense Perception)                                                                       (Language)

                                                      วิธีการรับความรู้
                                                   (Ways of Knowing )

    วิธสร้างความรู้จากการให้เหตุผล
       ี                                                                                 วิธการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็น
                                                                                            ี
             (Reason)                                                                         อารมณ์ (Emotion)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                  เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
3


       1. การรับความรู้ด้วยความรู้สึก(Sense Perception)

          การรับรู้ความรู้ด้วยความรู้สึกจากการสัมผัสรับรู้   (Sense Perception)
          หมายถึงปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจากสิ่งกระตุ้นต่างๆ รอบๆตัวเรา
ความรู้สึกภายนอกที่เกิดจากการสัมผัส ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เช่น ได้ยิน
ชิมรสชาติ การสัมผัส ได้กลิ่นและมองเห็น และเกิดความรู้สึกจากภายใน ได้แก่ หิว
เจ็บปวด และสิ่งเร้าต่างๆ ปัจจุบันการเรียนการสอนเกี่ยวกับการรับรู้โดยใช้ความรู้สึก
จากการสัมผัสรับรู้ ( Sense perception )
                                                  เป็นการเรียนเกี่ยวกับกระบวนการรับรู้      โดยพูดถึงอวัยวะที่ทาหน้าที่รับรู้
                                     ความรู้สึกถูกกระตุ้นด้วยข้อมูลที่เป็นความรู้สึก สมองจะแปลข้อมูลที่เป็นความรู้สึกเป็นการ
                                     สัมผัสรู้ที่เป็นความรู้สึก (Sensation) ได้แก่ เสียง รสชาติ อุณหภูมิ ความกดอากาศ
                                     กลิ่น และ การมองเห็น ดังนั้น การได้กลิ่นอาหาร เราสามารถรับรู้ได้ว่าเป็น ขนม
                                     ประเภทใด สิ่งที่เห็นมีรูปลักษณ์ เราก็รับรู้ได้ว่าเป็น “นก ผีเสื้อ คน ฯลฯ ” สัมผัสรู้ว่า
                                     เป็นของเหลวร้อน เราสามารถรับรู้ได้ว่าเป็นน้าร้อน เป็นต้น
     กิจกรรม : การรับความรู้ด้วยความรู้สึก(Sense Perception)
           1.1 จากบทเพลงที่กาหนดให้ ต่อไปนี้
                                        เพลง เล่าสู่กันฟัง
           ฉันยังจาเสมอที่เธอเคยบอกกับฉัน คิดแล้วยังตื้นตันเกินอธิบาย
นึกถึงคาๆนั้นทุกวันที่ห่างกันไป                  เหมือนมันเป็นโยงใยที่ส่งถึงกัน
ไม่ว่าเราจะโชคดี หรือบางทีที่ร้องไห้             ต่างคนสนใจจะฟัง
           เพราะว่าในชีวิตเรื่องจริงมันต่างจากฝัน ฝันไม่เคยมีวันที่เจ็บช้าใจ
มีผู้คนอยู่รอบกาย เหมือนไม่มีไม่เห็นใคร          แต่ใจๆฉันยังมีเธอ
           คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน วันที่เสียน้าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยังมีฉันอยู่ทั้งคน
*** ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว ยังนอนดึกอยู่ใช่ไหม เธอผอมไปหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง
           คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน วันที่เสียน้าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยังมีฉันอยู่ทั้งคน
(เพราะ) ฝนที่ตก (อยู่ ) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว เธอลาบากอะไรไหม เธอสู้ไหวหรือเปล่า
อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง (เพราะ)ฝนที่ตก (อยู่ ) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว เธอลาบากอ ะไรไหม
เธอสู้ไหวหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง เธอยังขาดอะไรไหม เธอสู้ไหวหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง เธอยังมีฉันอยู่ทั้งคน
คาถาม ?
 1. หลังจากที่นักเรียนได้ฟังหรืออ่านเพลงเล่าสู่กันฟัง นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร ?
 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                  เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
4




2. สิ่งที่ผู้แต่งเพลงนี้ต้องการสื่อความหรือสื่อสาร ถึงผู้ฟัง/ผู้อ่านคืออะไร ?
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

        1.2 จากภาพที่กาหนดให้
                                                         จงตอบคาถามต่อไปนี้
                                                     1.จงระบุและบรรยายสิ่งที่ท่านเห็นในภาพ
                                                     ………………………………………………………………………………………………………
                                                     ………………………………………………………………………………………………………
                                                     ………………………………………………………………………………………………………
                                                     ………………………………………………………………………………………………………
                                                     ………………………………………………………………………………………………………
                                                     ………………………………………………………………………………………………………

2. จงบอกความรู้สึกของท่านจากการที่ได้เห็นสิ่งต่างๆที่ปรากฏอยู่ ในภาพ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  2. การรับรู้ความรู้ทางภาษา(Language)

       เป็นการรับรู้ความรู้จากการสื่อสารด้วยภาษา ได้โดยสัญญลักษณ์ต่างๆ (Symbols)
สัญญาณ (Signs) ภาษากาย (Body language) ภาษาพูด (Language) ซึ่งภาษา
ประเภทต่าง ๆ สามารถเป็นเครื่องมือที่นาไปสู่ความคิดและภาษาสามารถสะท้อนเรื่องราวของตนเองได้
กิจกรรม : การรับรู้ความรู้ทางภาษา(Language)
            2.1 จากภาพ สัญญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ        อธิบายความหมายของ
สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ

                         ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                         ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                         ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                          เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
5


                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                        ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

            2.2 จากภาพ ภาษากาย ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ     อธิบายความหมายของ
สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ


                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                          ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                      เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
6



  3. การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์(Emotion)
          การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์ (Emotion) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางอารมณ์
(Emotional intelligence) เป็นการเรียนรู้โดยการค้นคว้าหาความรู้ทั้งจากที่เป็นอารมณ์ของตนเอง
(Intrapersonal intelligence) และทั้งที่เป็นอารมณ์ของผู้อื่น (Interpersonal intelligence)
การรับรู้ด้วยอารมณ์ (emotion) จะต้องเชื่อมโยงกับการรับรู้ทางความรู้สึกจากการสัมผัสรับรู้
(Sense Perception) การรับรู้ความรู้ทางภาษา (Language) และการรับรู้ความรู้โดยให้เหตุผล
(reason) ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสมองและการเรียนรู้
  กิจกรรม : การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์(Emotion)

            จากภาพที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ                  อธิบายความหมายของ
สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ


                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
                            ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                         เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
7



  4. การรับรู้ทางความรู้โดยเหตุผล(Reason)

        เป็นการรับรู้ความรู้โดยเหตุผล (reason) เป็นการใช้ข้อมูลรายละเอียด
(information) ในลักษณะโน้มน้าว (induce) สืบสาวเหตุผล (deduce)
สรุปความ (infer) ลงความเห็นเป็นหลักการ (generalize) ระบุลักษณะเฉพาะ
(Specify) ยืนยันลักษณะความเหมือน (recognize similarities ) และจากนั้นเป็นการตัดสิน (judge) และโต้แย้ง
สนับสนุนและคัดค้านอย่างเต็มที่เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นจริง สิ่งดี สิ่งที่ถูกต้องและสิ่งที่สวยงาม
การใช้เหตุผลกับการอ้างเหตุผล
          การใช้เหตุผล(Reasoning) กับการอ้างเหตุผล(Argument) เป็นกระบวนการของการคิดที่ต่อเนื่องกันโดยการให้
เหตุผลเป็นการคิดเพื่อพยายามอธิบายเหตุการณ์บางอย่างโดยข้อมูลประกอบ ส่วนการอ้างเหตุผลนั้นเป็นการนาเอาข้อมูลอื่นๆ
มาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันและพิสูจน์ความเป็นจริงให้น่าเชื่อถือมากขึ้น
การอ้างเหตุผลที่ดี
         การอ้างเหตุผลที่ดี(Good argument) จะช่วยความคิดของเราที่นาเสนอนั้นได้รับการยอมรับได้ง่ายขึ้น การอ้าง
เหตุผลที่ดีนั้นจาเป็นต้องหาหลักฐานที่ดีและเหมาะสมมาสนับสนุนความคิดโดยหลักฐานที่ดีนั้นจะต้องมีความสัมพันธ์กับข้อสรุป
         การอ้างเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive argument) เป็นการอ้างเหตุผลจากข้ออ้างที่เป็นความจริงอย่างแน่นอน
ตายตัวที่เรียกว่าความจริงทั่วไป มาสนับสนุนหรือยืนยันความเป็นจริงของข้อสรุปที่มีลักษณะเป็นความจริงเฉพาะ
         การอ้างเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive argument) เป็นการอ้างเหตุผลที่ข้ออ้างได้หลักฐานมาจากข้อเท็จจริง
(Fact) ที่ถือว่าเป็นความจริงเฉพาะที่ได้มาจากความจริงบางส่วน แล้วนาไปสนับสนุนข้อสรุปส่วนที่เป็นความจริงทั่วไป
(Truth)ที่ถือว่าเป็นความจริงของสิ่งทั้งหมด แต่ข้อสรุปส่วนมากจะเป็นข้อสรุปที่มีน้าหนักเกินข้ออ้างอยู่มาก

  กิจกรรม : การรับรู้ทางความรู้โดยเหตุผล(Reason)

            จา กสถานการณ์ที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ                                                         อธิบายความหมายของ
สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ

 สถานการณ์ที่ 1                                      ถ้านักเรียนเป็นก้องจะเชื่อในสิ่งที่โจบอกหรือไม่ เพราะเหตุใด ?
 โจ : ส้มตาร้านปากซอยอร่อยจริงๆ                      ………………………………………………………………………………………………………….....
 ก้อง : นายรู้ได้อย่างไร                             ..........................................................................................................................…
                                                     ……………………………………………………………………………………………………………..
 โจ : ก็ฉันเคยไปกินมาหลายครั้งแล้วนี่
                                                     …………………………………………………
                                                     ……………………………………………………………………………………………………………
 สถานการณ์ที่ 2                                      จากสถานการณ์นี้ นักเรียนจะยืนยันได้ว่าอย่างไร ?
                                                     …………………………………………………
 ถ้าอ้างว่า : คนทุกคนต้องตาย                         ………………………………………………………………………………………………………….....
 ข้อเท็จจริง : นายแดงเป็นคน                          ..........................................................................................................................…


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                                         เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
8

                                           เราจะเรียนวิชาทฤษฎีความรู้ อย่างไร ?
หน้าที่และความรับผิดชอบของ ักเรียน
                                น
           ผู้เรียนจะต้องรับผิดชอบตนเอง ในเรื่องต่อไปนี้
1. เข้าชั้นเรียนสาระ TOK กับครูผู้สอน
2. เลือกประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหาสาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม
3. ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน
4. พบครูที่ปรึกษา
5. วางแผนการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และจัดทา แผนการเขียนงาน TOK ของตนเอง หรือที่เรียกว่า แผนการบริหาร
จัดการตนเอง
6. ส่งแผนการปฏิบัติกิจกรรมของตนเอง ให้แก่ แก่ครูผู้สอนและครูที่ปรึกษา
7. ศึกษา ค้นคว้า เขียนงานตามเวลาที่กา หนดตามแผนในกรณีที่ มีปัญหาผู้เรียนจะต้องพบครูที่ปรึกษาและครูผู้สอน
ตามกาหนดเวลาของผู้เรียน
8. เรียบเรียงความคิดเป็นเอกสารรายงานผลการค้นคว้าความยาว 1,200 – 1,600 คา ส่งครูผู้สอนโดยผ่านความเห็นชอบ
ของครูที่ปรึกษา

                             เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู้
                                          เป็นอย่างไร ?

                                 ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge )
                         จาแนกการประเมินออกเป็น 2 ส่วน คือ
                                 ตอนที่ 1 การประเมินผลงานการเขียนรายงานการค้นคว้า
                                 ตอนที่ 2 การสอบปากเปล่า (Oral) เกี่ยวกับผลงานเขียน
       การประเมินผลงานข้อเขียนภาพรวม ใช้เกณฑ์ 4 C ได้แก่ Content Creativity Critical Thinking และ
Clarity ซึ่งมีความหมายโดยสังเขป ดังนี้
       Content : Think: Knowledge Issue เนื้อหา คิด เกี่ยวกับประเด็นความรู้
       Creativity : Think: Personal Thought ความคิดสร้างสรรค์ คิด ความคิดส่วนตัว
       Critical Thinking : Think: Arguments การคิดวิเคราะห์ คิด การโต้แย้งคัดค้านและสนับสนุน
       Clarity : Think: Well Structure Essay ความชัดเจน คิด การเรียบเรียงถูกต้อง
       และในการประเมินเนื้อหาที่เป็นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็น 2 แบบ คือ
                 ตอนที่ 1 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน
                 ตอนที่ 2 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า ( Oral )



กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                         เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
9


         ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay) การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant)
ของผลงานกับหัวข้อ /ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ (Depth of understanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้
อย่างกว้างขวาง (Broadth of understanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และวิธีรับรู้
ก. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้ วข้อ/ปัญหา (Understanding knowledge issues)
                                     /หั
 ระดับสัมฤทธิ์                                               ตัวชี้วัด
      0        ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
   1–2         ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็นปัญหาน้อยเพียงแต่กล่าวถึง
               สาขาวิชาเท่านั้น
   3–4         ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับประเด็นปัญหา มีการเชื่อมโยง
               อย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู้
   5–6         ผลงานส่วนใหญ่พูดถึงประเด็นปัญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหลายประการ
               มีการเชื่อมโยงอย่างจริงจังระหว่างสาขาวิชาต่าง ๆ กับวิธีการรับรู้
   7 -8        ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่างสาขาวิชาและ
               วิธีการรับรู้อย่างแท้จริง ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้เป็นอย่างดี
   9 -10       ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่างสาขาวิชาและ
               วิธีการรับรู้ได้อย่างสละสลวย ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้ง
ข. ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective)
 ระดับสัมฤทธิ์                                                  ตัวชี้วัด
      0        ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
   1-2         ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู้ มีความคิดเห็น ส่วนตัวจากัดมาก
               ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ไม่มีตัวอย่างที่เหมาะสม
   3–4         ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเล็กน้อย มีความคิดเห็นส่วนตัวบ้าง มีการพูดถึงความคิดเห็น
               ต่างๆ แต่ไม่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม มีตัวอย่างที่เหมาะสมอยู่บ้างเป็นบางครั้ง
   5-6         ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระบ้าง ผู้เรียนเรียบเรียงผลงานในลักษณะแสดงความคิดเห็นของ
               ตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็นความรู้ มีการแสดงความตระหนักผ่านการแสดงความคิดเห็น
               ต่าง ๆ มีความพยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่าง ๆ คัดเลือกตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม
               แม้ว่าจะมาจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลายน้อย
   7 -8        ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเพียงพอ ผู้เรียนเรียบเรียงผลงานที่แสดงให้เห็นการคิดอย่างถี่
               ถ้วน มีความคิดเห็นที่เป็นของตนเอง มีความตระหนักรู้ในฐานะผู้รู้ มีการยอมรับความคิดเห็นต่าง ๆ
               สะท้อนความพยายามที่จะค้นคว้าความรู้ มีตัวอย่างที่เป็นจริงและหลากหลาย
   9 -10       ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ การค้นคว้าอย่างมี
               วิจารณญาณ มีความตระหนักในประเด็นความรู้ มีความตระหนักในตนเอง มีการพิจารณาความ
               คิดเห็นต่าง ๆ อย่างจริงจัง ตัวอย่างที่เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริงจัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                             เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
10


ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู(Quality of analysis of knowledge issues)
                                     ้
 ระดับสัมฤทธิ์                                                ตัวชี้วัด
      0        ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
   1–2         ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความพยายามทีจะแสดงเหตุผลเกี่ยวกับ
                                                                                         ่
               ประเด็นสาคัญ มีหลักฐานเพียงเล็กน้อยที่ยืนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้
   3–4         มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู้ แต่บรรยายอย่างกว้างๆ สะท้อนความพยายามที่จะแสดงเหตุผล
               ในประเด็นสาคัญ มีข้อโต้แย้งที่เกี่ยวข้อง ไม่แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน
   5–6         มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ ประเด็นส่วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อโต้แย้ง มีความต่อเนื่อง
   7 -8        มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้ง มีรายละเอียดของความรู้อย่างสอดคล้องและประเด็น หรือ
               เกือบจะทั้งหมด มีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง
   9 -10       มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมาก มีรายละเอียดของความรู้ ประเด็นทั้งหมดทุกประเด็นมี
               การให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับในต่าง ๆ ทุกประเด็น ได้มี
               การค้นคว้าให้เหตุผลทุกประเด็น
ง. การเรียบเรียงความคิด ( Organization of ideas )
  ระดับสัมฤทธิ์                                                     ตัวชี้วัด
       0         ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
      1-2        การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเป็นไปตามรูปแบบใดบ้าง น้อยมาก เข้าใจความตั้งใจของผู้เขียนได้
                 ยากมาก ข้อมูลนี้เป็นข้อเท็จจริง มีข้อผิดพลาดที่ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้า ไม่อ้างอิงแหล่งค้นคว้า
     3-4         การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างน้อย บางครั้งเข้าใจความตั้งใจ
                 ของผู้เขียนได้ยากมาก มีความพยายามที่จะอธิบายความหมายของข้อความต่างๆ แต่อธิบายได้ไม่
                 ชัดเจน ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงไม่น่าเชื่อถือ(มีข้อผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น การอ้างอิงแหล่งข้อมูล
                 ไม่น่าเชื่อถือ) มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็น การสืบค้นและการอ้างอิงไม่สมบูรณ์
     5-6         การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาอยู่ในระดับเป็นที่น่าพอใจ การยึดรูปแบบโครงสร้าง
                 มีการอธิบายประเด็นปัญหาอย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน สนับสนุนส่วนใหญ่มีความคิด
                 ถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิงความคิดที่สามารถสืบทราบแหล่งทีมา แม้บางครั้งจะ
                                                                                                ่
                 ขาดความชัดเจนบ้าง การใช้คาอยู่ในจานวนที่กาหนดในการเรียบเรียง
     7-8         การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาตามรูปแบบโครงสร้างได้ดี มีการอธิบายประเด็นปัญหา
                 สาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิบายขยายความประเด็นต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการ
                 ยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และอ้างอิง ซึ่งการอ้างอิงส่วนใหญ่
                 สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้ มีการใช้คา การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด
     9-10        การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างดีมาก มีการอธิบายประเด็น
                 ความรู้ ปัญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิบายประกอบอย่างละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในการ
                 ยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง บอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้
                 การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                 เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
11


       ตอนที่ 2 การประเมินงานนาสนอ (Oral)
                               เ
ก. ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues)

 ระดับสัมฤทธิ์                                                ตัวชี้วัด
      0            ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
     1-2           การนาเสนอพูดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า
    3-4            การนาเสนอพูดถึงความรู้บางประการที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า
      5            อย่างชัดเจนและกระจ่าง
ข. การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้
                                         (Treatment of Knowledge issues)

 ระดับสัมฤทธิ์                                                ตัวชี้วัด
      0            ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
     1-2           การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้บางส่วน
    3-4            การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้พอสมควร
      5            การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้เป็นอย่างดี
ค. ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’s perspective)
 ระดับสัมฤทธิ์                                              ตัวชี้วัด
      0         ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1
     1-2        การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นที่เป็นของตนอยู่ในขีดจากัด ไม่ให้
                ความสาคัญกับหัวข้อเรื่อง
    3-4         การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนบางประการ มีข้อมูลข้อคิดเห็น
                สนับสนุนให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องพอสมควร
      5         การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนอย่างเด่นชัด มีข้อมูลข้อคิดเห็นที่
                เป็นความคิดของตนเอง ให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องอย่างสมบูรณ์


                            ถ้าพร้อมแล้ว !
                 เรามาสนุกกับการเรียนวิชา ทฤษฏีความรู้
                            กันเลยดีกว่า !




กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                               เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
12



                                                    บทที่ 2
                                       มาสนุกกับวิชาทฤษฎีความรู้กันดีกว่า!


                                              หลังจากที่ได้ทาความรู้จักกับวิชาทฤษฏีความรู้กันมาแล้ว
                                             เรามาเริ่มต้นกับการเรียนรู้ ชาวิทยาศาสตร์ นดีกว่า !
                                                                       ในวิ           กั


                                            วิชาทฤษฏีความรู้กับวิทยาศาสตร์
         องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Body of scientific knowledge)
เป็นองค์ความรู้ที่มีนิยามและข้อจากัดเฉพาะ อยู่ในตัวเองดังเช่น ข้อเท็จจริง(Fact)
และความคิดรวบยอด(Concept) ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ยังไม่ซับซ้อนได้มาจากการ
สังเกตและพิสูจน์ยืนยันว่าถูกต้องจริงแล้วในขณะหนึ่ง ก็ยังอาจเปลี่ยนแปลงได้หรือ
อาจไม่เป็นความจริงอีกต่อไปในระยะเวลาต่อมาถ้าหากมีผลการสังเกตที่ถูกต้องกว่ามาหักล้างได้
                                               ที่มาขององค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ในอดีตส่วนใหญ่ จะมีที่มาและได้จาก
                                     ความสามารถในการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวมนุษย์
                                     ความอยากรู้อยากเห็น ความฉลาด ความคิดและสติปัญญาของมนุษย์ จะทาให้เกิดข้อ
                                     สงสัย หรือครุ่นคิดที่จะตอบคาถามที่เกิดขึ้นในใจเมื่อมีปรากฏการณ์ธรรมชาติใดเกิดขึ้น
                                     ตั้งแต่คาถามที่ตอบได้ง่ายที่สุดคือ มีอะไรเกิดขึ้น? เกิดขึ้นเมื่อใด? เกิดขึ้นที่ไหน?
จนถึงคาถามที่จะตอบได้ยากที่สุด คือ ปรากฏการณ์นั้น ทาไมจึงเกิดขึ้น และเกิดขึ้นได้อย่างไร? จากการสังเกต การคิด และ
การไตร่ตรองหาคาอธิบายอย่างเป็นเหตุเป็นผลและใช้วิธีการอย่างเป็นระบบทาให้ได้ตัวความรู้ หรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
มากขึ้น ๆ ดังนี้ (สุวัฒก์ นิยมค้า , 2531)

  ปรากฏการณ์ธรรมชาติ                      วิธีการทางวิทยาศาสตร์              องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
 (Natural phenomenon)                      (Scientific method)                 (Body of scientific
 ppppphenomenon)                                                                 knowledges)
        อะไร                       ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์                      ข้อเท็จจริง
        ที่ไหน                                (วิจัย)                       แนวคิดหรือความคิดรวบยอด
        เมื่อใด                                                                      หลักการ
        ทาไม                                                                       ทฤษฎี และกฎ
       อย่างไร
                              แผนภาพแสดงแบบจาลองที่มาขององค์ค ้ทางวิทยาศาสตร์
                                                            วามรู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                 เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
13


         วิธีการใช้ทักษะต่างๆอย่างเป็นลาดับขั้นและเป็นระบบในการศึกษานี้ก็คือวิธีการทางวิทยาศาสตร์              (Scientific
method) หรือที่เรียกว่า วิธีการแห่งปัญญา(Method of intelligence)ซึ่งจาเป็นต้องใช้ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ทักษะต่าง ๆ
                                                ในกรณีที่เป็นการศึกษาเรื่องที่ซับซ้อน มีตัวแปร มากขึ้นก็จะเป็น     การวิจัย
                                      (Research) นั่นเอง และที่เป็นความฉลาดพิเศษยิ่งของมนุษย์ ก็คือ สามารถจะ
                                      บันทึกหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้นั้นไปยังคนรุ่นต่อ ๆ ไป หรือข้ามรุ่นกันได้ มีผลทา
                                      ให้ได้ องค์ความรู้ รวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ต่อยอดจากคนรุ่นก่อน ๆ ดังที่
                                      ได้ตกทอดเป็นมรดกทรัพย์สินทางปัญญาของมนุษยชาติ สะสม เพิ่มพูนมากขึ้น ๆ และ
                                      ต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้
สาหรับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ้น ท่าน ศาสตราจารย์ ดร. สาโรช บัวศรี อดีตราชบัณฑิตและนักการศึกษาสาคัญคนหนึ่ง
                              นั
ของชาติ ได้เคยสรุปไว้เป็นขั้นตอนการปฏิบัติตามลาดับ 5 ขั้น ดังนี้ (สาโรช บัวศรี, 2513 หน้า 33-34)
                                  ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหา (Location of problem)
                                  ขั้นที่ 2 การตั้งสมมุติฐาน (Setting up of hypothesis)
                                  ขั้นที่ 3 การทดลองและเก็บข้อมูล (Experimenting and gathering of data)
                                  ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data)
                                  ขั้นที่ 5 การสรุปผล (Conclusion)
         จะเห็นได้ว่าในขั้นตอนทั้งหมดของการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ล้วนต้องอาศัย ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ การสังเกต การวัด การจัดกระทากับข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล ฯลฯ ด้วยทั้งสิ้น

          องค์ความรู้ ที่เป็น ข้อเท็จริง (Fact) ทฤษฎี (Theory) ที่เคยเชื่อว่าถูกต้องที่สุดในยุคหนึ่งก็ยังอาจพบความ
จริงในตอนหลังได้ว่าไม่จริงไม่ถูกต้องก็ได้ ถ้ามีข้อมูลหรือเหตุผลที่สนับสนุน ดีกว่า ซึ่งอาจมาจากการใช้เครื่องมือที่สามารถ
เก็บรายละเอียด แม่นยามาช่วยในการสังเกต แปลความ                     หมายข้อมูลได้มากขึ้นกว่าในยุคที่ผ่านมาแล้ว ตัวอย่างเช่น
จานวนดวงจันทร์ที่เป็นบริวารของดาวเสาร์ ทฤษฎีอะตอม ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค เป็นต้น การสอนให้ผู้เรียน
ตระหนักว่า สิ่งที่เราไม่เห็น ไม่ได้ยิน หรือเรายังไม่พบ มิได้หมายความว่า สิ่งนั้นไม่น่ ๆ (ตัวอย่างเช่น ในห้องที่เรา
                                                                                          มีแ
นั่งอยู่ขณะนี้ ถ้าจะกล่าวสรุปว่าไม่มีเสียงเพลง เสียงโฆษณาหรือไม่มีละครก็อาจเป็นการด่วนสรุปเกินไป เพราะถ้าหาก เรามี
เครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์ เราอาจได้ยินเสียง หรือเห็นภาพ ก็ย่อมเป็นไปได้ ) และใน ขณะเดียวกันก็ต้องไม่เชื่ อง่าย ด่วน
สรุป เชื่อแบบงมงาย เชื่อโชคลาง (Superstition) หรือเชื่ออะไรแบบไร้เหตุผล ก็จะ ช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ เจริญ
งอกงาม ในด้าน จิตพิสัย(Affective domain)ไปด้วย ซึ่งถือป็นองค์ ประกอบของ การรู้วิทยาศาสตร์ (Scientific
literacy) ที่คนในยุค สังคมแห่งความรู้ นี้ จาเป็นจะต้องมีทุกคนนั่นเอง



กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                  เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
14




                                                                             หลังจากที่เข้าใจความสัมพันธ์ของชาทฤษฏีความรู้กับ
                                                                                                           วิ
                                                                                 วิทยาศาสตร์แล้ว เรามาเลือกประเด็นความรู้
                                                                                            ในการศึกษากันดีกว่า !



                                  ประเด็นความรู้ /หัวข้อ/ปัญหาของสาระ TOK สาหรับให้ผู้เรียนเลือก
         1. อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากการสะสมข้อเท็จจริงเช่นเดียวกับศาสตร์สาขาอื่นๆ
            (กล่าวถึงสาระการเรียนรู้อื่นๆ อย่างน้อย 3 สาระ)
         2. อภิปรายแนวคิด “การปฎิบัติตามหลักการและความเชื่อทางพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับ
            หลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์   ”
         3. อธิบายความหมายและบทบาทของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อมยกตัวอย่างประกอบ
                                                                     พร้
         4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สนใจ
            พร้อมอธิบายที่มาของความรู้และรายละเอียดของความรู้นั้นๆ


                                         ใบลงทะเบียนประเด็นความรู้ สาระ TOK




                                                ทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge : TOK )

     ชื่อ ................................................................................................ ชั้น ..................................................... เลขที่ …………………………..
     ชื่อประเด็นความรู้สาหรับการค้นคว้า
     .........................................................................................................................................................................................................................
     .........................................................................................................................................................................................................................
     ชื่อครูผู้สอน ; ...........................................................................................................................................................................................
     ชื่อครูที่ปรึกษา ........................................................................................................................................................................................
     ชื่อนักเรียน ................................................................................................................................................................................................

     ลงชื่อ .......................................................................... นักเรียน ลงชื่อ ……………………………………………………… ครูที่ปรึกษา
           (...............................................................................)         (..............................................................................)
                                                                                                     .


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                                                                                                                  เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
15


                                     แผนการทางานของผู้เรียน ( 1 ภาคเรียน )

วัน/เดือน/ปี    กิจกรรม                                              วัน เวลา          การปฏิบัติ     ลายเซ็นต์
                                                                     นัดหมาย       ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ ครูที่ปรึกษา
                                                         พฤษภาคม
สัปดาห์ที่ 1    -   ศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผล TOK
สัปดาห์ที่ 2    -   เลือกหัวข้อเรื่องและลงทะเบียน
สัปดาห์ที่ 3    -   ศึกษาหัวข้อเรื่อง
สัปดาห์ที่ 4    -   พบครูที่ปรึกษาเพื่อหารือเกี่ยวกับการค้นคว้า
                                                          มิถุนายน
สัปดาห์ที่ 5    -   พบครูบรรณารักษ์ขอคาแนะนาเกี่ยวกับการค้นคว้า
สัปดาห์ที่ 6    -   พบครูผู้สอนเสนอโครงร่าง
สัปดาห์ที่ 7    -   พบครูที่ปรึกษาเสนอโครงร่าง
สัปดาห์ที่ 8    -   ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งค้นคว้า
                                                          กรกฎาคม
สัปดาห์ที่ 9    -   พบครูที่ปรึกษารายงานความก้าวหน้า
สัปดาห์ที่ 10   -   ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
สัปดาห์ที่ 11   -   จัดทารายการเอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรม
สัปดาห์ที่ 12   -   พบครูที่ปรึกษาเพื่อรายงานความก้าวหน้า
                                                           สิงหาคม
สัปดาห์ที่ 13   -   ลงมือเขียนรายงานการค้นคว้า
สัปดาห์ที่ 14   -   เขียนรายงานการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
สัปดาห์ที่ 15   -   ส่งผลงานการค้นคว้า (ฉบับร่าง) ต่อครูผู้สอน
สัปดาห์ที่ 16   -   ส่งผลงานการค้นคว้าครูที่ปรึกษา
                                                          กันยายน
สัปดาห์ที่ 17   -   ปรับแก้ไขผลงาน
สัปดาห์ที่ 18   -   จัดทาฉบับจริง
สัปดาห์ที่ 19   -   ส่งผลงานฉบับจริงและนัดสอบปากเปล่า ( Oral )
สัปดาห์ที่ 20   -   สอบปากเปล่า




  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                            เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
16


                                                  มาวางแผนการศึกษาค้นคว้ากันดีกว่า!


                          ประเด็นความรู้ สาระ TOK ที่เลือก คือ ………………………………………………………………..
                            ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
         อย่าลืมว่า ! นักเรียนควร แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐาน และการหาคา ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้
 (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด
 สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of
 Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการ
 ใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion)



   กาหนดประเด็นและหัวข้อที่สนใจในการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………....                        กาหนดวิธีการที่นักเรียนใช้ใน ารศึกษาค้นคว้า
                                                                                             ก
………………………………………………………………………………………………………                      ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………....                   ……………………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………………………                      ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………....                   ……………………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………………………                      ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………....                   ……………………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………………………                      ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………....                   ……………………………………………………………………………………………………....

                     กาหนดแหล่งข้อมูลที่นักเรียนใช้ในารศึกษาค้นคว้า
                                                    ก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………....………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                              เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
17



                                           บันทึกการศึกษาค้นคว้าและการสืบค้นข้อมูล

                         ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
                         ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… อย่าลืมอ้างอิงที่มาด้วยนะจ๊ะ
                                                                                        !
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา                    เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์

Contenu connexe

Tendances

สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
chugafull
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
krupornpana55
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
tassanee chaicharoen
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 

Tendances (12)

Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 

En vedette

คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
Kobwit Piriyawat
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
Varunee Chanthamontree
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
Siriphan Kristiansen
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
Jiraporn Chaimongkol
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
Jiraporn
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
Bunnaruenee
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
Kruanchalee
 

En vedette (20)

คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมโครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 

Similaire à เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์

ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
saengpet
 
Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52
dararat jim
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
sivapong klongpanich
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
 
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกตโรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
chomphutana
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
Surapong Jakang
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
aorchalisa
 
วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
weerabong
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
Aobinta In
 

Similaire à เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์ (20)

ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
 
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนวตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
ตัวอย่างแผนการสอนวิชาแนะแนว
 
A
AA
A
 
Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52Dhamma.kancana.52
Dhamma.kancana.52
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บันทึกส่ง
บันทึกส่งบันทึกส่ง
บันทึกส่ง
 
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกตโรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
โรงเรียนวัดห้วยหม้าย 604ฝึกทักษะการตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาจากการสังเกต
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
Padcha
PadchaPadcha
Padcha
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
ทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรีทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรี
 
วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
 
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะโครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
โครงงานเพื่อการศึกษาเรื่อง...โยคะ
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 

Plus de Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
Kobwit Piriyawat
 

Plus de Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 

เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์

  • 1. 1 ชื่อ …………………………………………………………………………………… นามสกุล ……………………………………………………………………………………………….. ชั้น ม. ………………………………………………. เลขที่ ……………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 2. 2 บทที่ 1 เราจะเรียนอะไร ในวิชาทฤษฎีความรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ คืออะไร ? วิชาทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่าง ๆ (Knowledge Issues) องค์ความรู้ (Body of Knowledge) และทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge) ของสาระการเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด (Interdisciplinary) ในเชิงบูรณ าการ ในเชิงปฏิบัติ ครูและผู้เรียนจะต้อง ร่วมกันกาหนดเนื้อหา โดยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่นการระดมสมอง การใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับประเด็นร้อนของสังคม เหตุการณ์ปัจจุบัน สภาพปัจจุบันและปัญหาที่ผู้เรียนหรือสังคมกาลังเผชิญหรือหัวข้อที่ผู้เรียน สนใจ เป็นต้น จากนั้นครูและผู้เรียนรวบรวมรายชื่อ หัวข้อเรื่อง (Topic) อย่างเป็นระบบ โดยจัดเป็นเอกสารลักษณะรูปเล่ม (Directory) เรียนวิชาทฤษฎีความรู้ เพื่ออะไร ? การจัดการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK ) มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐาน และการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถ เชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการ รับความรู้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้าง ความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion) วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ วิธสร้างความรู้จากการใช้ภ าษา ี (Sense Perception) (Language) วิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) วิธสร้างความรู้จากการให้เหตุผล ี วิธการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็น ี (Reason) อารมณ์ (Emotion) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 3. 3 1. การรับความรู้ด้วยความรู้สึก(Sense Perception) การรับรู้ความรู้ด้วยความรู้สึกจากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) หมายถึงปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ที่เกิดขึ้นจากสิ่งกระตุ้นต่างๆ รอบๆตัวเรา ความรู้สึกภายนอกที่เกิดจากการสัมผัส ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เช่น ได้ยิน ชิมรสชาติ การสัมผัส ได้กลิ่นและมองเห็น และเกิดความรู้สึกจากภายใน ได้แก่ หิว เจ็บปวด และสิ่งเร้าต่างๆ ปัจจุบันการเรียนการสอนเกี่ยวกับการรับรู้โดยใช้ความรู้สึก จากการสัมผัสรับรู้ ( Sense perception ) เป็นการเรียนเกี่ยวกับกระบวนการรับรู้ โดยพูดถึงอวัยวะที่ทาหน้าที่รับรู้ ความรู้สึกถูกกระตุ้นด้วยข้อมูลที่เป็นความรู้สึก สมองจะแปลข้อมูลที่เป็นความรู้สึกเป็นการ สัมผัสรู้ที่เป็นความรู้สึก (Sensation) ได้แก่ เสียง รสชาติ อุณหภูมิ ความกดอากาศ กลิ่น และ การมองเห็น ดังนั้น การได้กลิ่นอาหาร เราสามารถรับรู้ได้ว่าเป็น ขนม ประเภทใด สิ่งที่เห็นมีรูปลักษณ์ เราก็รับรู้ได้ว่าเป็น “นก ผีเสื้อ คน ฯลฯ ” สัมผัสรู้ว่า เป็นของเหลวร้อน เราสามารถรับรู้ได้ว่าเป็นน้าร้อน เป็นต้น กิจกรรม : การรับความรู้ด้วยความรู้สึก(Sense Perception) 1.1 จากบทเพลงที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ เพลง เล่าสู่กันฟัง ฉันยังจาเสมอที่เธอเคยบอกกับฉัน คิดแล้วยังตื้นตันเกินอธิบาย นึกถึงคาๆนั้นทุกวันที่ห่างกันไป เหมือนมันเป็นโยงใยที่ส่งถึงกัน ไม่ว่าเราจะโชคดี หรือบางทีที่ร้องไห้ ต่างคนสนใจจะฟัง เพราะว่าในชีวิตเรื่องจริงมันต่างจากฝัน ฝันไม่เคยมีวันที่เจ็บช้าใจ มีผู้คนอยู่รอบกาย เหมือนไม่มีไม่เห็นใคร แต่ใจๆฉันยังมีเธอ คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน วันที่เสียน้าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยังมีฉันอยู่ทั้งคน *** ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว ยังนอนดึกอยู่ใช่ไหม เธอผอมไปหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน วันที่เสียน้าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยังมีฉันอยู่ทั้งคน (เพราะ) ฝนที่ตก (อยู่ ) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว เธอลาบากอะไรไหม เธอสู้ไหวหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง (เพราะ)ฝนที่ตก (อยู่ ) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยินทุกเรื่องราว เธอลาบากอ ะไรไหม เธอสู้ไหวหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง เธอยังขาดอะไรไหม เธอสู้ไหวหรือเปล่า อย่าลืมเล่าสู่กันฟัง เธอยังมีฉันอยู่ทั้งคน คาถาม ? 1. หลังจากที่นักเรียนได้ฟังหรืออ่านเพลงเล่าสู่กันฟัง นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร ? ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 4. 4 2. สิ่งที่ผู้แต่งเพลงนี้ต้องการสื่อความหรือสื่อสาร ถึงผู้ฟัง/ผู้อ่านคืออะไร ? ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 จากภาพที่กาหนดให้ จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1.จงระบุและบรรยายสิ่งที่ท่านเห็นในภาพ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกความรู้สึกของท่านจากการที่ได้เห็นสิ่งต่างๆที่ปรากฏอยู่ ในภาพ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การรับรู้ความรู้ทางภาษา(Language) เป็นการรับรู้ความรู้จากการสื่อสารด้วยภาษา ได้โดยสัญญลักษณ์ต่างๆ (Symbols) สัญญาณ (Signs) ภาษากาย (Body language) ภาษาพูด (Language) ซึ่งภาษา ประเภทต่าง ๆ สามารถเป็นเครื่องมือที่นาไปสู่ความคิดและภาษาสามารถสะท้อนเรื่องราวของตนเองได้ กิจกรรม : การรับรู้ความรู้ทางภาษา(Language) 2.1 จากภาพ สัญญลักษณ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ อธิบายความหมายของ สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 5. 5 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 จากภาพ ภาษากาย ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ อธิบายความหมายของ สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 6. 6 3. การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์(Emotion) การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์ (Emotion) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional intelligence) เป็นการเรียนรู้โดยการค้นคว้าหาความรู้ทั้งจากที่เป็นอารมณ์ของตนเอง (Intrapersonal intelligence) และทั้งที่เป็นอารมณ์ของผู้อื่น (Interpersonal intelligence) การรับรู้ด้วยอารมณ์ (emotion) จะต้องเชื่อมโยงกับการรับรู้ทางความรู้สึกจากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) การรับรู้ความรู้ทางภาษา (Language) และการรับรู้ความรู้โดยให้เหตุผล (reason) ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสมองและการเรียนรู้ กิจกรรม : การรับรู้ความรู้ด้วยอารมณ์(Emotion) จากภาพที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ อธิบายความหมายของ สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 7. 7 4. การรับรู้ทางความรู้โดยเหตุผล(Reason) เป็นการรับรู้ความรู้โดยเหตุผล (reason) เป็นการใช้ข้อมูลรายละเอียด (information) ในลักษณะโน้มน้าว (induce) สืบสาวเหตุผล (deduce) สรุปความ (infer) ลงความเห็นเป็นหลักการ (generalize) ระบุลักษณะเฉพาะ (Specify) ยืนยันลักษณะความเหมือน (recognize similarities ) และจากนั้นเป็นการตัดสิน (judge) และโต้แย้ง สนับสนุนและคัดค้านอย่างเต็มที่เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นจริง สิ่งดี สิ่งที่ถูกต้องและสิ่งที่สวยงาม การใช้เหตุผลกับการอ้างเหตุผล การใช้เหตุผล(Reasoning) กับการอ้างเหตุผล(Argument) เป็นกระบวนการของการคิดที่ต่อเนื่องกันโดยการให้ เหตุผลเป็นการคิดเพื่อพยายามอธิบายเหตุการณ์บางอย่างโดยข้อมูลประกอบ ส่วนการอ้างเหตุผลนั้นเป็นการนาเอาข้อมูลอื่นๆ มาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันและพิสูจน์ความเป็นจริงให้น่าเชื่อถือมากขึ้น การอ้างเหตุผลที่ดี การอ้างเหตุผลที่ดี(Good argument) จะช่วยความคิดของเราที่นาเสนอนั้นได้รับการยอมรับได้ง่ายขึ้น การอ้าง เหตุผลที่ดีนั้นจาเป็นต้องหาหลักฐานที่ดีและเหมาะสมมาสนับสนุนความคิดโดยหลักฐานที่ดีนั้นจะต้องมีความสัมพันธ์กับข้อสรุป การอ้างเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive argument) เป็นการอ้างเหตุผลจากข้ออ้างที่เป็นความจริงอย่างแน่นอน ตายตัวที่เรียกว่าความจริงทั่วไป มาสนับสนุนหรือยืนยันความเป็นจริงของข้อสรุปที่มีลักษณะเป็นความจริงเฉพาะ การอ้างเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive argument) เป็นการอ้างเหตุผลที่ข้ออ้างได้หลักฐานมาจากข้อเท็จจริง (Fact) ที่ถือว่าเป็นความจริงเฉพาะที่ได้มาจากความจริงบางส่วน แล้วนาไปสนับสนุนข้อสรุปส่วนที่เป็นความจริงทั่วไป (Truth)ที่ถือว่าเป็นความจริงของสิ่งทั้งหมด แต่ข้อสรุปส่วนมากจะเป็นข้อสรุปที่มีน้าหนักเกินข้ออ้างอยู่มาก กิจกรรม : การรับรู้ทางความรู้โดยเหตุผล(Reason) จา กสถานการณ์ที่ กาหนดให้ต่อไปนี้ จงบอกความเข้าใจของตนเอง และ อธิบายความหมายของ สิ่งที่นักเรียนเห็นและเข้าใจ สถานการณ์ที่ 1 ถ้านักเรียนเป็นก้องจะเชื่อในสิ่งที่โจบอกหรือไม่ เพราะเหตุใด ? โจ : ส้มตาร้านปากซอยอร่อยจริงๆ …………………………………………………………………………………………………………..... ก้อง : นายรู้ได้อย่างไร ..........................................................................................................................… …………………………………………………………………………………………………………….. โจ : ก็ฉันเคยไปกินมาหลายครั้งแล้วนี่ ………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… สถานการณ์ที่ 2 จากสถานการณ์นี้ นักเรียนจะยืนยันได้ว่าอย่างไร ? ………………………………………………… ถ้าอ้างว่า : คนทุกคนต้องตาย …………………………………………………………………………………………………………..... ข้อเท็จจริง : นายแดงเป็นคน ..........................................................................................................................… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 8. 8 เราจะเรียนวิชาทฤษฎีความรู้ อย่างไร ? หน้าที่และความรับผิดชอบของ ักเรียน น ผู้เรียนจะต้องรับผิดชอบตนเอง ในเรื่องต่อไปนี้ 1. เข้าชั้นเรียนสาระ TOK กับครูผู้สอน 2. เลือกประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหาสาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม 3. ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน 4. พบครูที่ปรึกษา 5. วางแผนการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และจัดทา แผนการเขียนงาน TOK ของตนเอง หรือที่เรียกว่า แผนการบริหาร จัดการตนเอง 6. ส่งแผนการปฏิบัติกิจกรรมของตนเอง ให้แก่ แก่ครูผู้สอนและครูที่ปรึกษา 7. ศึกษา ค้นคว้า เขียนงานตามเวลาที่กา หนดตามแผนในกรณีที่ มีปัญหาผู้เรียนจะต้องพบครูที่ปรึกษาและครูผู้สอน ตามกาหนดเวลาของผู้เรียน 8. เรียบเรียงความคิดเป็นเอกสารรายงานผลการค้นคว้าความยาว 1,200 – 1,600 คา ส่งครูผู้สอนโดยผ่านความเห็นชอบ ของครูที่ปรึกษา เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู้ เป็นอย่างไร ? ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge ) จาแนกการประเมินออกเป็น 2 ส่วน คือ ตอนที่ 1 การประเมินผลงานการเขียนรายงานการค้นคว้า ตอนที่ 2 การสอบปากเปล่า (Oral) เกี่ยวกับผลงานเขียน การประเมินผลงานข้อเขียนภาพรวม ใช้เกณฑ์ 4 C ได้แก่ Content Creativity Critical Thinking และ Clarity ซึ่งมีความหมายโดยสังเขป ดังนี้ Content : Think: Knowledge Issue เนื้อหา คิด เกี่ยวกับประเด็นความรู้ Creativity : Think: Personal Thought ความคิดสร้างสรรค์ คิด ความคิดส่วนตัว Critical Thinking : Think: Arguments การคิดวิเคราะห์ คิด การโต้แย้งคัดค้านและสนับสนุน Clarity : Think: Well Structure Essay ความชัดเจน คิด การเรียบเรียงถูกต้อง และในการประเมินเนื้อหาที่เป็นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็น 2 แบบ คือ ตอนที่ 1 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน ตอนที่ 2 เกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า ( Oral ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 9. 9 ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay) การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant) ของผลงานกับหัวข้อ /ปัญหาความเข้าใจลึกซึ้งในหัวข้อ (Depth of understanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู้ อย่างกว้างขวาง (Broadth of understanding) แสดงความตระหนักรู้วิธีการเชื่อมโยงประเด็นความรู้กับสาขาความรู้และวิธีรับรู้ ก. ความเข้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู้ วข้อ/ปัญหา (Understanding knowledge issues) /หั ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1–2 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็นปัญหาน้อยเพียงแต่กล่าวถึง สาขาวิชาเท่านั้น 3–4 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับประเด็นปัญหา มีการเชื่อมโยง อย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู้ 5–6 ผลงานส่วนใหญ่พูดถึงประเด็นปัญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นปัญหาหลายประการ มีการเชื่อมโยงอย่างจริงจังระหว่างสาขาวิชาต่าง ๆ กับวิธีการรับรู้ 7 -8 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่างสาขาวิชาและ วิธีการรับรู้อย่างแท้จริง ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้เป็นอย่างดี 9 -10 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู้ ได้อย่างลึกซึ้ง มีการเชื่อมโยงและมีการเปรียบเทียบระหว่างสาขาวิชาและ วิธีการรับรู้ได้อย่างสละสลวย ผลงานสะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้ง ข. ความคิดเห็นของผู้เรียน (Knower Perspective) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1-2 ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู้ มีความคิดเห็น ส่วนตัวจากัดมาก ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ไม่มีตัวอย่างที่เหมาะสม 3–4 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเล็กน้อย มีความคิดเห็นส่วนตัวบ้าง มีการพูดถึงความคิดเห็น ต่างๆ แต่ไม่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม มีตัวอย่างที่เหมาะสมอยู่บ้างเป็นบางครั้ง 5-6 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระบ้าง ผู้เรียนเรียบเรียงผลงานในลักษณะแสดงความคิดเห็นของ ตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็นความรู้ มีการแสดงความตระหนักผ่านการแสดงความคิดเห็น ต่าง ๆ มีความพยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่าง ๆ คัดเลือกตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม แม้ว่าจะมาจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลายน้อย 7 -8 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็นอิสระเพียงพอ ผู้เรียนเรียบเรียงผลงานที่แสดงให้เห็นการคิดอย่างถี่ ถ้วน มีความคิดเห็นที่เป็นของตนเอง มีความตระหนักรู้ในฐานะผู้รู้ มีการยอมรับความคิดเห็นต่าง ๆ สะท้อนความพยายามที่จะค้นคว้าความรู้ มีตัวอย่างที่เป็นจริงและหลากหลาย 9 -10 ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ การค้นคว้าอย่างมี วิจารณญาณ มีความตระหนักในประเด็นความรู้ มีความตระหนักในตนเอง มีการพิจารณาความ คิดเห็นต่าง ๆ อย่างจริงจัง ตัวอย่างที่เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริงจัง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 10. 10 ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู(Quality of analysis of knowledge issues) ้ ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1–2 ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความพยายามทีจะแสดงเหตุผลเกี่ยวกับ ่ ประเด็นสาคัญ มีหลักฐานเพียงเล็กน้อยที่ยืนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้ 3–4 มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู้ แต่บรรยายอย่างกว้างๆ สะท้อนความพยายามที่จะแสดงเหตุผล ในประเด็นสาคัญ มีข้อโต้แย้งที่เกี่ยวข้อง ไม่แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน 5–6 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้ ประเด็นส่วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อโต้แย้ง มีความต่อเนื่อง 7 -8 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้ง มีรายละเอียดของความรู้อย่างสอดคล้องและประเด็น หรือ เกือบจะทั้งหมด มีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง 9 -10 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู้อย่างลึกซึ้งมาก มีรายละเอียดของความรู้ ประเด็นทั้งหมดทุกประเด็นมี การให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับในต่าง ๆ ทุกประเด็น ได้มี การค้นคว้าให้เหตุผลทุกประเด็น ง. การเรียบเรียงความคิด ( Organization of ideas ) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1-2 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเป็นไปตามรูปแบบใดบ้าง น้อยมาก เข้าใจความตั้งใจของผู้เขียนได้ ยากมาก ข้อมูลนี้เป็นข้อเท็จจริง มีข้อผิดพลาดที่ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้า ไม่อ้างอิงแหล่งค้นคว้า 3-4 การเขียนเรียบเรียงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างน้อย บางครั้งเข้าใจความตั้งใจ ของผู้เขียนได้ยากมาก มีความพยายามที่จะอธิบายความหมายของข้อความต่างๆ แต่อธิบายได้ไม่ ชัดเจน ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงไม่น่าเชื่อถือ(มีข้อผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น การอ้างอิงแหล่งข้อมูล ไม่น่าเชื่อถือ) มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็น การสืบค้นและการอ้างอิงไม่สมบูรณ์ 5-6 การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาอยู่ในระดับเป็นที่น่าพอใจ การยึดรูปแบบโครงสร้าง มีการอธิบายประเด็นปัญหาอย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยัน สนับสนุนส่วนใหญ่มีความคิด ถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิงความคิดที่สามารถสืบทราบแหล่งทีมา แม้บางครั้งจะ ่ ขาดความชัดเจนบ้าง การใช้คาอยู่ในจานวนที่กาหนดในการเรียบเรียง 7-8 การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาตามรูปแบบโครงสร้างได้ดี มีการอธิบายประเด็นปัญหา สาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิบายขยายความประเด็นต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการ ยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และอ้างอิง ซึ่งการอ้างอิงส่วนใหญ่ สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้ มีการใช้คา การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด 9-10 การเขียนเรียบเรียงผลงาน การลาดับเนื้อหาเป็นไปตามรูปแบบโครงสร้างดีมาก มีการอธิบายประเด็น ความรู้ ปัญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิบายประกอบอย่างละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในการ ยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง บอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถสืบทราบแหล่งที่มาได้ การใช้คาในการเรียบเรียงอยู่ในจานวนที่กาหนด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 11. 11 ตอนที่ 2 การประเมินงานนาสนอ (Oral) เ ก. ลักษณะของประเด็นความรู้(Identification of Knowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1-2 การนาเสนอพูดถึงความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า 3-4 การนาเสนอพูดถึงความรู้บางประการที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ค้นคว้า 5 อย่างชัดเจนและกระจ่าง ข. การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นความรู้ (Treatment of Knowledge issues) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1-2 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้บางส่วน 3-4 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้พอสมควร 5 การนาเสนอแสดงให้เห็นความเข้าใจในประเด็นความรู้เป็นอย่างดี ค. ความคิดเห็นของผู้เขียน (Answer’s perspective) ระดับสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด 0 ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ระดับ 1 1-2 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นที่เป็นของตนอยู่ในขีดจากัด ไม่ให้ ความสาคัญกับหัวข้อเรื่อง 3-4 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนบางประการ มีข้อมูลข้อคิดเห็น สนับสนุนให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องพอสมควร 5 การนาเสนอมีการให้ข้อโต้แย้งและตัวอย่างที่แสดงความคิดเห็นของตนอย่างเด่นชัด มีข้อมูลข้อคิดเห็นที่ เป็นความคิดของตนเอง ให้ความสาคัญกับหัวข้อเรื่องอย่างสมบูรณ์ ถ้าพร้อมแล้ว ! เรามาสนุกกับการเรียนวิชา ทฤษฏีความรู้ กันเลยดีกว่า ! กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 12. 12 บทที่ 2 มาสนุกกับวิชาทฤษฎีความรู้กันดีกว่า! หลังจากที่ได้ทาความรู้จักกับวิชาทฤษฏีความรู้กันมาแล้ว เรามาเริ่มต้นกับการเรียนรู้ ชาวิทยาศาสตร์ นดีกว่า ! ในวิ กั วิชาทฤษฏีความรู้กับวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Body of scientific knowledge) เป็นองค์ความรู้ที่มีนิยามและข้อจากัดเฉพาะ อยู่ในตัวเองดังเช่น ข้อเท็จจริง(Fact) และความคิดรวบยอด(Concept) ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ยังไม่ซับซ้อนได้มาจากการ สังเกตและพิสูจน์ยืนยันว่าถูกต้องจริงแล้วในขณะหนึ่ง ก็ยังอาจเปลี่ยนแปลงได้หรือ อาจไม่เป็นความจริงอีกต่อไปในระยะเวลาต่อมาถ้าหากมีผลการสังเกตที่ถูกต้องกว่ามาหักล้างได้ ที่มาขององค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ในอดีตส่วนใหญ่ จะมีที่มาและได้จาก ความสามารถในการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวมนุษย์ ความอยากรู้อยากเห็น ความฉลาด ความคิดและสติปัญญาของมนุษย์ จะทาให้เกิดข้อ สงสัย หรือครุ่นคิดที่จะตอบคาถามที่เกิดขึ้นในใจเมื่อมีปรากฏการณ์ธรรมชาติใดเกิดขึ้น ตั้งแต่คาถามที่ตอบได้ง่ายที่สุดคือ มีอะไรเกิดขึ้น? เกิดขึ้นเมื่อใด? เกิดขึ้นที่ไหน? จนถึงคาถามที่จะตอบได้ยากที่สุด คือ ปรากฏการณ์นั้น ทาไมจึงเกิดขึ้น และเกิดขึ้นได้อย่างไร? จากการสังเกต การคิด และ การไตร่ตรองหาคาอธิบายอย่างเป็นเหตุเป็นผลและใช้วิธีการอย่างเป็นระบบทาให้ได้ตัวความรู้ หรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มากขึ้น ๆ ดังนี้ (สุวัฒก์ นิยมค้า , 2531) ปรากฏการณ์ธรรมชาติ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Natural phenomenon) (Scientific method) (Body of scientific ppppphenomenon) knowledges) อะไร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ข้อเท็จจริง ที่ไหน (วิจัย) แนวคิดหรือความคิดรวบยอด เมื่อใด หลักการ ทาไม ทฤษฎี และกฎ อย่างไร แผนภาพแสดงแบบจาลองที่มาขององค์ค ้ทางวิทยาศาสตร์ วามรู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 13. 13 วิธีการใช้ทักษะต่างๆอย่างเป็นลาดับขั้นและเป็นระบบในการศึกษานี้ก็คือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) หรือที่เรียกว่า วิธีการแห่งปัญญา(Method of intelligence)ซึ่งจาเป็นต้องใช้ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ทักษะต่าง ๆ ในกรณีที่เป็นการศึกษาเรื่องที่ซับซ้อน มีตัวแปร มากขึ้นก็จะเป็น การวิจัย (Research) นั่นเอง และที่เป็นความฉลาดพิเศษยิ่งของมนุษย์ ก็คือ สามารถจะ บันทึกหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้นั้นไปยังคนรุ่นต่อ ๆ ไป หรือข้ามรุ่นกันได้ มีผลทา ให้ได้ องค์ความรู้ รวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ต่อยอดจากคนรุ่นก่อน ๆ ดังที่ ได้ตกทอดเป็นมรดกทรัพย์สินทางปัญญาของมนุษยชาติ สะสม เพิ่มพูนมากขึ้น ๆ และ ต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ สาหรับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ้น ท่าน ศาสตราจารย์ ดร. สาโรช บัวศรี อดีตราชบัณฑิตและนักการศึกษาสาคัญคนหนึ่ง นั ของชาติ ได้เคยสรุปไว้เป็นขั้นตอนการปฏิบัติตามลาดับ 5 ขั้น ดังนี้ (สาโรช บัวศรี, 2513 หน้า 33-34) ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหา (Location of problem) ขั้นที่ 2 การตั้งสมมุติฐาน (Setting up of hypothesis) ขั้นที่ 3 การทดลองและเก็บข้อมูล (Experimenting and gathering of data) ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) ขั้นที่ 5 การสรุปผล (Conclusion) จะเห็นได้ว่าในขั้นตอนทั้งหมดของการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ล้วนต้องอาศัย ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ การสังเกต การวัด การจัดกระทากับข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล ฯลฯ ด้วยทั้งสิ้น องค์ความรู้ ที่เป็น ข้อเท็จริง (Fact) ทฤษฎี (Theory) ที่เคยเชื่อว่าถูกต้องที่สุดในยุคหนึ่งก็ยังอาจพบความ จริงในตอนหลังได้ว่าไม่จริงไม่ถูกต้องก็ได้ ถ้ามีข้อมูลหรือเหตุผลที่สนับสนุน ดีกว่า ซึ่งอาจมาจากการใช้เครื่องมือที่สามารถ เก็บรายละเอียด แม่นยามาช่วยในการสังเกต แปลความ หมายข้อมูลได้มากขึ้นกว่าในยุคที่ผ่านมาแล้ว ตัวอย่างเช่น จานวนดวงจันทร์ที่เป็นบริวารของดาวเสาร์ ทฤษฎีอะตอม ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค เป็นต้น การสอนให้ผู้เรียน ตระหนักว่า สิ่งที่เราไม่เห็น ไม่ได้ยิน หรือเรายังไม่พบ มิได้หมายความว่า สิ่งนั้นไม่น่ ๆ (ตัวอย่างเช่น ในห้องที่เรา มีแ นั่งอยู่ขณะนี้ ถ้าจะกล่าวสรุปว่าไม่มีเสียงเพลง เสียงโฆษณาหรือไม่มีละครก็อาจเป็นการด่วนสรุปเกินไป เพราะถ้าหาก เรามี เครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์ เราอาจได้ยินเสียง หรือเห็นภาพ ก็ย่อมเป็นไปได้ ) และใน ขณะเดียวกันก็ต้องไม่เชื่ อง่าย ด่วน สรุป เชื่อแบบงมงาย เชื่อโชคลาง (Superstition) หรือเชื่ออะไรแบบไร้เหตุผล ก็จะ ช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ เจริญ งอกงาม ในด้าน จิตพิสัย(Affective domain)ไปด้วย ซึ่งถือป็นองค์ ประกอบของ การรู้วิทยาศาสตร์ (Scientific literacy) ที่คนในยุค สังคมแห่งความรู้ นี้ จาเป็นจะต้องมีทุกคนนั่นเอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 14. 14 หลังจากที่เข้าใจความสัมพันธ์ของชาทฤษฏีความรู้กับ วิ วิทยาศาสตร์แล้ว เรามาเลือกประเด็นความรู้ ในการศึกษากันดีกว่า ! ประเด็นความรู้ /หัวข้อ/ปัญหาของสาระ TOK สาหรับให้ผู้เรียนเลือก 1. อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากการสะสมข้อเท็จจริงเช่นเดียวกับศาสตร์สาขาอื่นๆ (กล่าวถึงสาระการเรียนรู้อื่นๆ อย่างน้อย 3 สาระ) 2. อภิปรายแนวคิด “การปฎิบัติตามหลักการและความเชื่อทางพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับ หลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ” 3. อธิบายความหมายและบทบาทของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อมยกตัวอย่างประกอบ พร้ 4. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้มาอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่สนใจ พร้อมอธิบายที่มาของความรู้และรายละเอียดของความรู้นั้นๆ ใบลงทะเบียนประเด็นความรู้ สาระ TOK ทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge : TOK ) ชื่อ ................................................................................................ ชั้น ..................................................... เลขที่ ………………………….. ชื่อประเด็นความรู้สาหรับการค้นคว้า ......................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน ; ........................................................................................................................................................................................... ชื่อครูที่ปรึกษา ........................................................................................................................................................................................ ชื่อนักเรียน ................................................................................................................................................................................................ ลงชื่อ .......................................................................... นักเรียน ลงชื่อ ……………………………………………………… ครูที่ปรึกษา (...............................................................................) (..............................................................................) . กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 15. 15 แผนการทางานของผู้เรียน ( 1 ภาคเรียน ) วัน/เดือน/ปี กิจกรรม วัน เวลา การปฏิบัติ ลายเซ็นต์ นัดหมาย ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ ครูที่ปรึกษา พฤษภาคม สัปดาห์ที่ 1 - ศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผล TOK สัปดาห์ที่ 2 - เลือกหัวข้อเรื่องและลงทะเบียน สัปดาห์ที่ 3 - ศึกษาหัวข้อเรื่อง สัปดาห์ที่ 4 - พบครูที่ปรึกษาเพื่อหารือเกี่ยวกับการค้นคว้า มิถุนายน สัปดาห์ที่ 5 - พบครูบรรณารักษ์ขอคาแนะนาเกี่ยวกับการค้นคว้า สัปดาห์ที่ 6 - พบครูผู้สอนเสนอโครงร่าง สัปดาห์ที่ 7 - พบครูที่ปรึกษาเสนอโครงร่าง สัปดาห์ที่ 8 - ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งค้นคว้า กรกฎาคม สัปดาห์ที่ 9 - พบครูที่ปรึกษารายงานความก้าวหน้า สัปดาห์ที่ 10 - ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม สัปดาห์ที่ 11 - จัดทารายการเอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรม สัปดาห์ที่ 12 - พบครูที่ปรึกษาเพื่อรายงานความก้าวหน้า สิงหาคม สัปดาห์ที่ 13 - ลงมือเขียนรายงานการค้นคว้า สัปดาห์ที่ 14 - เขียนรายงานการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม สัปดาห์ที่ 15 - ส่งผลงานการค้นคว้า (ฉบับร่าง) ต่อครูผู้สอน สัปดาห์ที่ 16 - ส่งผลงานการค้นคว้าครูที่ปรึกษา กันยายน สัปดาห์ที่ 17 - ปรับแก้ไขผลงาน สัปดาห์ที่ 18 - จัดทาฉบับจริง สัปดาห์ที่ 19 - ส่งผลงานฉบับจริงและนัดสอบปากเปล่า ( Oral ) สัปดาห์ที่ 20 - สอบปากเปล่า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 16. 16 มาวางแผนการศึกษาค้นคว้ากันดีกว่า! ประเด็นความรู้ สาระ TOK ที่เลือก คือ ……………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. อย่าลืมว่า ! นักเรียนควร แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ตั้งสมมติฐาน และการหาคา ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนรู้ (Knowing) สามารถตั้งคาถามให้คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู้จักหาทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่อมโยงความรู้เปรียบเทียบวิธีการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วิธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense Perception) สร้างความรู้จากการ ใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู้จากสิ่งที่เป็นอารมณ์ (Emotion) กาหนดประเด็นและหัวข้อที่สนใจในการศึกษาค้นคว้า ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….... กาหนดวิธีการที่นักเรียนใช้ใน ารศึกษาค้นคว้า ก ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………….... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….... …………………………………………………………………………………………………….... กาหนดแหล่งข้อมูลที่นักเรียนใช้ในารศึกษาค้นคว้า ก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………....……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  • 17. 17 บันทึกการศึกษาค้นคว้าและการสืบค้นข้อมูล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… อย่าลืมอ้างอิงที่มาด้วยนะจ๊ะ ! ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา เรียบเรียงโดย ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์