SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
ภารกิจ ข้อ ภารกิจ ข้อ ภารกิจ ข้อ ภารกิจ ข้อ
1 2 3 4
สาระสาคัญเกี่ยวกับเทคโนโลยี
ความหมายของเทคโนโลยี
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการเทคโนโลยีในยุคต่างๆ
ความหมายของเทคโนโลยี
การนาแนวคิด หลักการ เทคนิคหรือวิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผล
ทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงาน
นั้นให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เป็นกระทรวงที่ทาหน้าที่ดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารของประเทศไทย
เทคโนโลยีที่มีประสิทธิ์ภาพนั้น เอื้ออานวยด้านต่างๆ ดังนี้
ประสิทธิภาพ( )
ช่วยให้งานถูกต้อง รวดเร็ว ได้ผลผลิตมากขึ้นในทรัพยากรที่จำากัด
ประสิทธิผล ( )
ช่วยให้งานที่ทำานั้น บรรลุเป้ าหมายอย่างมีคุณภาพ
ประหยัด ( )
ช่วยให้ประหยัดเวลา ทรัพยากร และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ปลอดภัย( )
ช่วยให้เกิดความปลอดภัยมากขึ้นในการทำางาน
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา ( )
กระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคล
กรรมวิธีแนวคิด เครื่องมือ และองค์กร
เพื่อนาไปใช้เกี่ยวกับวิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ใช้ ประเมินผล
และจัดการแก้ปัญหาต่างๆ
พัฒนาการของเทคโนโลยีทางการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
“โซฟิสต์”( ) ซึ่งแปลว่า “ผู้รู้” หรือ
“ผู้ทรงภูมิปัญญา” เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก
สอนหนังสือแก่ชนรุ่นเยาว์ ได้รับขนานนามว่า
เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส (
ค.ศ. 1592 – 1670) เป็นผู้ที่พยายาม
ใช้วัตถุ สิ่งของช่วยในการสอนอย่างจริงจังจน
ได้รับเกียรติว่าเป็นบิดาแห่งโสตทัศนศึกษา
ท่านมีแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ โดยได้ย้า
ความสาคัญของสิ่งของ ของจริง ในการสอน
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ธอร์นไดค์ นักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกัน
ที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการศึกษา
ประกอบหลักการทางจิตวิทยา เขาได้ออกแบบสื่อ
การสอน เพื่อให้ตอบสนองเรื่องความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอนแบบ
โปรแกรม จึงได้ชื่อว่า เป็นคนแรกที่ริเริ่มเทคโนโลยี
การศึกษาแนวใหม่
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
บี เอฟ สกินเนอร์ เป็นผู้ที่มีชื่อเสียง ในการ
สอนแบบโปรแกรม และเป็นผู้ที่คิดเครื่องช่วย
สอน ได้เป็นผลสาเร็จเป็นคนแรก แนวคิดทาง
เทคโนโลยีการศึกษาปัจจุบัน ได้รากฐานมาจาก
แนวความคิดของสกินเนอร์เป็นส่วนมาก
ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ทฤษฎี /
การปฏิบัติ
การ
ออกแบบ
การพัฒนา
การใช้การจัดการ
การ
ประเมินผล
การออกแบบ
คือ กระบวนการในการกาหนดสภาพของการเรียนรู้
1.1 การออกแบบระบบการสอน (Instructional systems design)
มี 5 ขั้นตอนดังนี้
1) การวิเคราะห์ (analysis)
2) การออกแบบ (design)
3) การพัฒนา (development)
4) การนาไปใช้ (implementation)
5) การประเมิน (evaluation)
การออกแบบ
1.2 ออกแบบสาร (message design) คือ การวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเน้นทฤษฎี
การเรียนที่ประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานของความสนใจ การรับรู้ ความจา การออกแบบ
สารมีจุดประสงค์เพื่อการสื่อความหมายกับผู้เรียน
1.3 กลยุทธ์การสอน (instructional strategies) เน้นที่การเลือก ลาดับเหตุการณ์
และกิจกรรมในบทเรียน ในทางปฏิบัติกลยุทธ์การสอนมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์
การเรียน ผลของปฏิสัมพันธ์นี้สามารถอธิบายได้โดยโมเดลการสอน
1.4 ลักษณะผู้เรียน (learner characteristics)คือ ลักษณะและประสบการณ์เดิม
ของผู้เรียนที่จะมีผลต่อกระบวนการเรียนการสอน การเลือก และการใช้ยุทธศาสตร์
การสอน
การพัฒนา(Development)
คือ กระบวนการเปลี่ยนการออกแบบ
2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ (print technologies) เป็นการผลิต หรือส่งสาร สื่อด้าน
วัสดุ
2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์ (audiovisual technologies) เป็นวิธีการในการ
จัดหา หรือส่งถ่ายสาร โดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์ หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
นาเสนอสารต่างๆ ด้วยเสียง และภาพ
การพัฒนา(Development)
2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer – based technologies)
เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสารโดยการใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ เพื่อรับ
และส่งข้อมูลแบบดิจิตอล
2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies) เป็นวิธีการในการจัดหา
หรือส่งถ่ายข้อมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์
การใช้ (Utilization)
คือ ใช้กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน
3.1 การใช้สื่อ (Media Utilization) เป็นระบบของการใช้สื่อ แหล่งทรัพยากร
เพื่อ การเรียน โดยใช้กระบวนการตามที่ผ่านการออกแบบการสอน
3.2 การแพร่กระจายนวัตกรรม (Diffusion of innovation) เป็นกระบวนการสื่อ
ความหมาย รวมถึงการวางยุทธศาสตร์ หรือจุดประสงค์ให้เกิดการยอมรับ
นวัตกรรม
การใช้ (Utilization)
3.3 วิธีการนาไปใช้ และการจัดการ (Implementation and Institutionalization)
เป็นการใช้สื่อการสอนหรือยุทธศาสตร์ในสถานการณ์จริงอย่างต่อเนื่องและใช้
นวัตกรรมการศึกษาเป็นประจาในองค์การ
3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ (policies and regulation)
เป็นกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคมที่ส่งผลต่อการแพร่กระจาย และการใช้
เทคโนโลยีการศึกษา
การจัดการ (Management)
ควบคุมกระบวนการทางเทคโนโลยีการศึกษา ตลอดจนการวางแผน จัดการ
การประสานงาน และให้คาแนะนา
4.1 การจัดการโครงการ (Project Management)
เป็นการวางแผน กากับ ควบคุม การออกแบบ และพัฒนาโครงการ
4.2 การจัดการแหล่งทรัพยากร (Resource Management)
เป็นการวางแผน กากับ ควบคุมแหล่งทรัพยากร ที่ช่วยระบบและการบริการ
การจัดการ (Management)
4.3 การจัดการระบบส่งถ่าย (Delivery System Management)
เป็นการวางแผน กากับ ควบคุมวิธีการซึ่งแพร่กระจายสื่อการสอนในองค์การ รวมถึง
สื่อ และวิธีการใช้ที่จะนาเสนอสารไปยังผู้เรียน
4.4 การจัดการสารสนเทศ (Information Management)
เป็นการวางแผน กากับ ควบคุม การเก็บ การส่งถ่าย หรือกระบวนการของข้อมูลสาร
เพื่อสนับสนุนแหล่งทรัพยากรการเรียน
การประเมิน (Evaluation)
คือ การหาข้อมูลเพื่อกาหนดความเหมาะสมของการเรียนการสอน
5.1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
เป็นการทาให้ปัญหาสิ้นสุด โดยการใช้ข้อมูลต่างๆ และวิธีการที่จะช่วยตัดสินใจ
5.2 เกณฑ์การประเมิน(Criterion – Reference Management)
เทคนิคการใช้เกณฑ์เพื่อการประเมินการสอน หรือประเมินโครงการเทคโนโลยี
และสื่อสารการศึกษา
การประเมิน (Evaluation)
5.3 การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation)
มีการใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมจากการประเมินความก้าวหน้าเพื่อเป็นฐานในการ
พัฒนาต่อไป
5.4 การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation)
มีการใช้ข้อมูลอย่างเหมาะสมที่จะตัดสินใจกับการดาเนินงานโปรแกรม หรือ
โครงการต่อไป
1. เป็นกระบวนการที่ต้องใช้ทฤษฎีและปฏิบัติมาประยุกต์ใช้อย่างมีระบบ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางานและศักยภาพของมนุษย์ ให้สูงขึ้น
2. มีทรัพยากรในการปฏิบัติการเหมือนกันคือ มีบุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค
วิธีการ ความรู้ และสิ่งอานวยความสะดวก
1.แตกต่างกันที่จุดประสงค์ของการใช้เทคโนโลยีการศึกษานามาใช้ใน การศึกษา
ส่วนเทคโนโลยีการสอนนามาใช้แก้ปัญหาในการเรียน การสอน
2. เทคโนโลยีการศึกษา เป็นระบบใหญ่ที่นามาใช้ในการบริหาร การ จัดการ และ
การเรียนการสอนส่วนเทคโนโลยีการสอนมุ่งเฉพาะ การสอนเท่านั้น และเป็นเพียง
ส่วนประกอบย่อยของ
เทคโนโลยีการศึกษา
3. เทคโนโลยีการศึกษา เป็นบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของ ผู้บริหาร
และผู้สนับสนุน แต่ เทคโนโลยีการสอนเป็นบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของ
ผู้สอนใน การบริหารจัดการ เรื่อง การสอนเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
อาจจะนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้รายวิชานั้นมี
ความน่าสนใจมากขึ้น เช่น นาโปรแกรม PowerPoint มาใช้ประกอบในการ
นาเสนอ การใช้โปรแกรม GSP ช่วยในการวาดรูปทรงเรขาคณิต การเผยแพร่
ผลงานผ่านทางเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อให้มีสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ฯลฯ
นายชินวัตร ชาวันดี รหัสนักศึกษา 553050067-9
นายธีรศักดิ์ นันทสาร รหัสนักศึกษา 553050291-4
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Contenu connexe

Tendances

งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาjeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 

Tendances (18)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 

En vedette

ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์monnareerat
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ping1393
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 

En vedette (8)

ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
All of The Education Theory
All of The  Education Theory All of The  Education Theory
All of The Education Theory
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ดไดค์
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Similaire à Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา

เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaBunsasi
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...Naruepon Seenoilkhaw
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษาPalmchuta
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 

Similaire à Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
Part1 math sec.2
Part1 math sec.2Part1 math sec.2
Part1 math sec.2
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
3.2.6 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศา...
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการศึกษา
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
701w2
701w2701w2
701w2
 

Plus de Teerasak Nantasan

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนTeerasak Nantasan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศTeerasak Nantasan
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Teerasak Nantasan
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 

Plus de Teerasak Nantasan (7)

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 

Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา